fbpx
วิกิพีเดีย

กล้องโทรทรรศน์อวกาศ

กล้องโทรทรรศน์อวกาศ คืออุปกรณ์สำหรับการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ที่อยู่ในอวกาศภายนอกในระดับวง โคจรของโลกเพื่อทำการสังเกตการณ์ดาวเคราะห์อันห่างไกล ดาราจักร และวัตถุท้องฟ้าต่าง ๆ ที่ช่วยให้มนุษย์ทำความเข้าใจกับจักรวาลได้ดีขึ้นการสังเกตการณ์ในระดับวงโคจรช่วยแก้ปัญหาทัศนวิสัยในการสังเกตการณ์บนโลกที่ มีอุปสรรคต่าง ๆ เช่น การแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าในชั้นบรรยากาศ เป็นต้น นอกจากนี้การถ่ายภาพวัตถุท้องฟ้ายังสามารถทำได้ที่ความยาวคลื่นต่าง ๆ กัน ซึ่งบางอย่างไม่สามารถทำได้บนผิวโลก

โครงการกล้องโทรทรรศน์อวกาศที่ สำคัญของนาซา คือโครงการหอดูดาวเอก (Great Observatories) ซึ่งประกอบด้วยกล้องโทรทรรศน์อวกาศ 4 ชุดได้แก่ กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล กล้องรังสีแกมมาคอมพ์ตัน กล้องรังสีเอกซ์จันทรา และกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ นอกจากนี้ยังมีกล้องโทรทรรศน์อวกาศอื่น ๆ อีกที่อยู่ในวงโคจรแล้ว และกำลังจะขึ้นสู่วงโคจรในอนาคต

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล

กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล คือ กล้องโทรทรรศน์ในวงโคจรของโลกที่กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีนำส่งขึ้นสู่วงโคจร เมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 1990 ตั้งชื่อตามนักดาราศาสตร์ชาวอเมริกันชื่อ เอ็ดวิน ฮับเบิล กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลไม่ได้เป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศตัวแรกของโลก แต่มันเป็นหนึ่งในเครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่สำคัญที่สุดในประวัติศาสตร์การ ศึกษาดาราศาสตร์ที่ทำให้นักดาราศาสตร์ค้นพบปรากฏการณ์สำคัญต่าง ๆ อย่างมากมาย กล้องโทรทรรศน์ฮับเบิลเกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างองค์การนาซาและองค์การ อวกาศยุโรป

การที่กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลลอยอยู่นอกชั้นบรรยากาศของโลกทำ ให้มันมีข้อได้เปรียบเหนือกว่ากล้องโทรทรรศน์ที่อยู่บนพื้นโลก นั่นคือภาพไม่ถูกรบกวนจากชั้นบรรยากาศ ไม่มีแสงพื้นหลังท้องฟ้า และสามารถสังเกตการณ์คลื่นอัลตราไวโอเลตได้โดยไม่ถูกรบกวนจากชั้นโอโซนบนโลก ตัวอย่างเช่น ภาพอวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิลที่ถ่ายจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล คือภาพถ่ายวัตถุในช่วงคลื่นที่ตามองเห็นที่อยู่ไกลที่สุดเท่าที่เคยมีมา

โครงการก่อสร้างกล้องโทรทรรศน์อวกาศเริ่มต้นมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1923 กล้องฮับเบิลได้รับอนุมัติทุนสร้างในช่วงปี ค.ศ. 1970 แต่เริ่มสร้างได้ในปี ค.ศ. 1983 การสร้างกล้องฮับเบิลเป็นไปอย่างล่าช้าเนื่องด้วยปัญหาด้านงบประมาณ ปัญหาด้านเทคนิค และจากอุบัติเหตุกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์ กล้องได้ขึ้นสู่อวกาศในปี ค.ศ. 1990 แต่หลังจากที่มีการส่งกล้องฮับเบิลขึ้นสู่อวกาศไม่นานก็พบว่ากระจกหลักมี ความคลาดทรงกลมอัน เกิดจากปัญหาการควบคุมคุณภาพในการผลิต ทำให้ภาพถ่ายที่ได้สูญเสียคุณภาพไปอย่างมาก ภายหลังจากการซ่อมแซมในปี ค.ศ. 1993 กล้องก็กลับมามีคุณภาพเหมือนดังที่ตั้งใจไว้ และกลายเป็นเครื่องมือในการวิจัยที่สำคัญและเป็นเสมือนฝ่ายประชาสัมพันธ์ ของวงการดาราศาสตร์

กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมพ์ตัน

กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมพ์ตัน หรือ กล้องรังสีแกมมาคอมพ์ตัน (Compton Gamma-ray Observatory) เป็นหอสังเกตการณ์ดวงที่สองของนาซาในโครงการหอดูดาวเอกที่ส่งขึ้นสู่อวกาศ หลังจากที่ส่งกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลขึ้นไปก่อนหน้านั้น กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมพ์ตันตั้งชื่อตาม ดร. อาร์เทอร์ ฮอลลี คอมพ์ตัน นักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลที่สร้างผลงานโดดเด่นด้านฟิสิกส์รังสี แกมมา กล้องคอมพ์ตันสร้างโดยสถาบัน TRW (ปัจจุบันคือสถาบันเทคโนโลยีอวกาศนอร์ทรอพ กรัมแมน) ในแคลิฟอร์เนีย ใช้เวลาสร้างทั้งสิ้น 14 ปี ขึ้นสู่อวกาศโดยกระสวยอวกาศแอตแลนติส เที่ยวบิน STS-37 เมื่อวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1991 และได้ทำงานจนกระทั่งปลดระวางในวันที่ 4 มิถุนายน ค.ศ. 2000 กล้องคอมพ์ตันโคจรอยู่ในวงโคจรต่ำของโลกที่ระดับความสูงประมาณ 450 กิโลเมตร เพื่อหลบหลีกผลกระทบจากแถบรังสีแวนอัลเลน นับเป็นเครื่องมือทางฟิสิกส์ดาราศาสตร์ที่มีน้ำหนักมากที่สุดเท่าที่เคยส่ง ขึ้นสู่อวกาศ ด้วยน้ำหนักถึง 17,000 กิโลกรัม

กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์

กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ (Spitzer Space Telescope) (ชื่อเดิม Space Infrared Telescope Facility หรือ SIRTF) เป็นกล้องสังเกตการณ์อวกาศอินฟราเรด เป็นกล้องอันดับที่สี่และอันดับสุดท้ายของโครงการหอดูดาวเอกขององค์การนาซา ตั้งชื่อตาม ดร. ไลแมน สปิตเซอร์ จูเนียร์ ซึ่งเป็นผู้เสนอให้ติดตั้งกล้องโทรทรรศน์ไว้ในอวกาศเป็นคนแรกตั้งแต่ช่วง กลางยุคคริสต์ทศวรรษ 1940 กล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 2003

กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา

กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา หรือ กล้องรังสีเอกซ์จันทรา (Chandra X-ray Observatory) เป็นดาวเทียมของนาซา ที่มี detector ที่สามารถตรวจจับรังสีเอกซ์ได้ จึงเป็นประโยชน์อย่างมากสำหรับการศึกษารังสี X-ray ในห้วงอวกาศ ถูกส่งขึ้นสู่อวกาศโดยยาน STS-93 เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม ค.ศ. 1999 และพร้อมปฏิบัติภารกิจในปี ค.ศ. 2014

อ้างอิง


  1. http://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewgroup/283

กล, องโทรทรรศน, อวกาศ, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, ออ, ปกรณ, สำหร. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir klxngothrthrrsnxwkas khuxxupkrnsahrbkarsngektkarnthangdarasastrthixyuinxwkasphaynxkinradbwng okhcrkhxngolkephuxthakarsngektkarndawekhraahxnhangikl darackr aelawtthuthxngfatang thichwyihmnusythakhwamekhaickbckrwaliddikhunkarsngektkarninradbwngokhcrchwyaekpyhathsnwisyinkarsngektkarnbnolkthi mixupsrrkhtang echn karaephrngsiaemehlkiffainchnbrryakas epntn nxkcaknikarthayphaphwtthuthxngfayngsamarththaidthikhwamyawkhluntang kn sungbangxyangimsamarththaidbnphiwolkokhrngkarklxngothrthrrsnxwkasthi sakhykhxngnasa khuxokhrngkarhxdudawexk Great Observatories sungprakxbdwyklxngothrthrrsnxwkas 4 chudidaek klxngothrthrrsnxwkashbebil klxngrngsiaekmmakhxmphtn klxngrngsiexkscnthra aelaklxngothrthrrsnxwkasspitesxr nxkcakniyngmiklxngothrthrrsnxwkasxun xikthixyuinwngokhcraelw aelakalngcakhunsuwngokhcrinxnakht enuxha 1 klxngothrthrrsnxwkashbebil 2 klxngothrthrrsnxwkaskhxmphtn 3 klxngothrthrrsnxwkasspitesxr 4 klxngothrthrrsnxwkascnthra 5 xangxingklxngothrthrrsnxwkashbebil aekikhklxngothrthrrsnxwkashbebil khux klxngothrthrrsninwngokhcrkhxngolkthikraswyxwkasdiskhfewxrinasngkhunsuwngokhcr emuxeduxnemsayn kh s 1990 tngchuxtamnkdarasastrchawxemriknchux exdwin hbebil klxngothrthrrsnxwkashbebilimidepnklxngothrthrrsnxwkastwaerkkhxngolk aetmnepnhnunginekhruxngmuxwithyasastrthisakhythisudinprawtisastrkar suksadarasastrthithaihnkdarasastrkhnphbpraktkarnsakhytang xyangmakmay klxngothrthrrsnhbebilekidkhuncakkhwamrwmmuxrahwangxngkhkarnasaaelaxngkhkar xwkasyuorp karthiklxngothrthrrsnxwkashbebillxyxyunxkchnbrryakaskhxngolktha ihmnmikhxidepriybehnuxkwaklxngothrthrrsnthixyubnphunolk nnkhuxphaphimthukrbkwncakchnbrryakas immiaesngphunhlngthxngfa aelasamarthsngektkarnkhlunxltraiwoxeltidodyimthukrbkwncakchnoxosnbnolk twxyangechn phaphxwkashwnglukmakkhxnghbebilthithaycakklxngothrthrrsnxwkashbebil khuxphaphthaywtthuinchwngkhlunthitamxngehnthixyuiklthisudethathiekhymima okhrngkarkxsrangklxngothrthrrsnxwkaserimtnmatngaetpi kh s 1923 klxnghbebilidrbxnumtithunsranginchwngpi kh s 1970 aeterimsrangidinpi kh s 1983 karsrangklxnghbebilepnipxyanglachaenuxngdwypyhadanngbpraman pyhadanethkhnikh aelacakxubtiehtukraswyxwkasaechlelnecxr klxngidkhunsuxwkasinpi kh s 1990 aethlngcakthimikarsngklxnghbebilkhunsuxwkasimnankphbwakrackhlkmi khwamkhladthrngklmxn ekidcakpyhakarkhwbkhumkhunphaphinkarphlit thaihphaphthaythiidsuyesiykhunphaphipxyangmak phayhlngcakkarsxmaesminpi kh s 1993 klxngkklbmamikhunphaphehmuxndngthitngiciw aelaklayepnekhruxngmuxinkarwicythisakhyaelaepnesmuxnfayprachasmphnth khxngwngkardarasastrklxngothrthrrsnxwkaskhxmphtn aekikhklxngothrthrrsnxwkaskhxmphtn hrux klxngrngsiaekmmakhxmphtn Compton Gamma ray Observatory epnhxsngektkarndwngthisxngkhxngnasainokhrngkarhxdudawexkthisngkhunsuxwkas hlngcakthisngklxngothrthrrsnxwkashbebilkhunipkxnhnann klxngothrthrrsnxwkaskhxmphtntngchuxtam dr xarethxr hxlli khxmphtn nkwithyasastrrangwloneblthisrangphlnganoddedndanfisiksrngsi aekmma klxngkhxmphtnsrangodysthabn TRW pccubnkhuxsthabnethkhonolyixwkasnxrthrxph krmaemn inaekhlifxreniy ichewlasrangthngsin 14 pi khunsuxwkasodykraswyxwkasaextaelntis ethiywbin STS 37 emuxwnthi 5 emsayn kh s 1991 aelaidthangancnkrathngpldrawanginwnthi 4 mithunayn kh s 2000 klxngkhxmphtnokhcrxyuinwngokhcrtakhxngolkthiradbkhwamsungpraman 450 kiolemtr ephuxhlbhlikphlkrathbcakaethbrngsiaewnxleln nbepnekhruxngmuxthangfisiksdarasastrthiminahnkmakthisudethathiekhysng khunsuxwkas dwynahnkthung 17 000 kiolkrmklxngothrthrrsnxwkasspitesxr aekikhklxngothrthrrsnxwkasspitesxr Spitzer Space Telescope chuxedim Space Infrared Telescope Facility hrux SIRTF epnklxngsngektkarnxwkasxinfraerd epnklxngxndbthisiaelaxndbsudthaykhxngokhrngkarhxdudawexkkhxngxngkhkarnasa tngchuxtam dr ilaemn spitesxr cueniyr sungepnphuesnxihtidtngklxngothrthrrsniwinxwkasepnkhnaerktngaetchwng klangyukhkhristthswrrs 1940 klxngothrthrrsnxwkasspitesxrkhunsuxwkasemuxwnthi 25 singhakhm kh s 2003klxngothrthrrsnxwkascnthra aekikhklxngothrthrrsnxwkascnthra hrux klxngrngsiexkscnthra Chandra X ray Observatory epndawethiymkhxngnasa thimi detector thisamarthtrwccbrngsiexksid cungepnpraoychnxyangmaksahrbkarsuksarngsi X ray inhwngxwkas thuksngkhunsuxwkasodyyan STS 93 emuxwnthi 23 krkdakhm kh s 1999 aelaphrxmptibtipharkicinpi kh s 2014xangxing aekikh 1 http www scimath org socialnetwork groups viewgroup 283ekhathungcak https th wikipedia org w index php title klxngothrthrrsnxwkas amp oldid 9344379, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม