fbpx
วิกิพีเดีย

การเจาะน้ำคร่ำ

การเจาะน้ำคร่ำ (อังกฤษ: amniocentesis) เป็นการตรวจทางการแพทย์อย่างหนึ่งใช้สำหรับการตรวจวินิจฉัยก่อนการคลอดสำหรับความผิดปกติของโครโมโซม การติดเชื้อในทารก และความผิดปกติอื่นๆ ทำโดยเจาะดูดเอาน้ำคร่ำปริมาณน้อยจากถุงน้ำคร่ำที่อยู่รอบๆ ทารกในครรภ์ ในน้ำคร่ำนี้จะมีเนื้อเยื่อของทารกอยู่ สามารถสกัดเซลล์ออกมาตรวจ DNA หาความผิดปกติทางพันธุกรรมได้

การเจาะน้ำคร่ำ
(Amniocentesis)
หัตถการและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ICD-9-CM75.1
MeSHD000649

ไม่มีข้อบ่งชี้ของการเจาะน้ำคร่ำเพื่อการตรวจวินิจฉัยยืนยันความเป็นบุตร[ต้องการอ้างอิง]

ความเสี่ยงและข้อเสีย

การเจาะน้ำคร่ำจะทำในช่วงอายุครรภ์ 15-20 สัปดาห์ หากทำเร็วกว่านี้จะมีความเสี่ยงที่การเจาะจะทำอันตรายต่อแขนขาของทารก ส่วนใหญ่นิยมทำที่อายุครรภ์ 18 สัปดาห์

งานวิจัยปีค.ศ. 1970 ประเมินความเสี่ยงของการแท้งที่เกิดจากการเจาะน้ำคร่ำไว้ที่ประมาณ 1 ใน 200 (0.5%)

นอกจากนี้ยังมีความเสี่ยงของการเกิดภาวะน้ำคร่ำหลุดอุดหลอดเลือดอีกด้วย

การรั่วของน้ำคร่ำ

พบมีการสูญเสียน้ำคร่ำชั่วคราวในหญิงตั้งครรภ์ที่รับการเจาะน้ำคร่ำมากกว่าในกลุ่มที่ไม่ได้เจาะ แม้อาจไม่ทำให้เกิดผลการตั้งครรภ์ที่ผิดปกติมากนักก็ตาม การสูญเสียน้ำคร่ำนี้เกือบทั้งหมดเป็นการสูญเสียน้ำคร่ำเพียงเล็กน้อยและมักหยุดได้เองภายใน 1 สัปดาห์ พร้อมกันกับการมีปริมาณน้ำคร่ำเพิ่มขึ้นกลับมาเท่าปกติ การหยุดรั่วนั้นเชื่อว่าไม่ได้เป็นผลโดยตรงจากการซ่อมแซมเยื่อบุที่ถูกเจาะ แต่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของชั้น decidua และชั้นกล้ามเนื้อมดลูกที่ป้องกันไม่ให้มีการรั่วมากขึ้น

อันตรายโดยตรงต่อทารก

โอกาสที่จะเกิดอันตรายโดยตรงต่อทารกจากเข็มเจาะนั้นมีน้อยมากหากใช้การเจาะน้ำคร่ำพร้อมอัลตราซาวนด์ การทดลองแบบสุ่มชิ้นหนึ่งทำกับหญิงตั้งครรภ์ 2239 คนที่ใช้การเจาะน้ำคร่ำพร้อมอัลตราซาวนด์ไม่พบว่ามีอันตรายโดยตรงต่อทารก

อ้างอิง

  1. . Harvard Medical School. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2008-05-16. สืบค้นเมื่อ 2008-07-15.
  2. Sundberg K, Bang J, Smidt-Jensen S; และคณะ (1997). "Randomised study of risk of fetal loss related to early amniocentesis versus chorionic villus sampling". Lancet. 350 (9079): 697–703. doi:10.1016/S0140-6736(97)02449-5. PMID 9291904. Unknown parameter |month= ignored (help); Explicit use of et al. in: |author= (help)CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  3. Amniocentesis Risk Overrated?
  4. Dodgson J, Martin J, Boswell J, Goodall HB, Smith R (1987). "Probable amniotic fluid embolism precipitated by amniocentesis and treated by exchange transfusion". Br Med J (Clin Res Ed). 294 (6583): 1322–3. PMC 1246486. PMID 3109636. Unknown parameter |month= ignored (help)CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  5. Tabor, A, Philip, J, Madsen, M, et al. Randomised controlled trial of genetic amniocentesis in 4606 low-risk women. Lancet 1986; 1:1287.
  6. Simpson, JL, Socol, ML, Aladjem, S, Elias, S. Normal fetal growth despite persistent amniotic fluid leakage after genetic amniocentesis. Prenat Diagn 1981; 1:277.
  7. Crane, JP, Rohland, BM. Clinical significance of persistent amniotic fluid leakage after genetic amniocentesis. Prenat Diagn 1986; 6:25.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Amniodex is an interactive decision support intervention designed for women faced with the decision of whether to undergo amniocentesis.

การเจาะน, ำคร, งกฤษ, amniocentesis, เป, นการตรวจทางการแพทย, อย, างหน, งใช, สำหร, บการตรวจว, จฉ, ยก, อนการคลอดสำหร, บความผ, ดปกต, ของโครโมโซม, การต, ดเช, อในทารก, และความผ, ดปกต, นๆ, ทำโดยเจาะด, ดเอาน, ำคร, ำปร, มาณน, อยจากถ, งน, ำคร, ำท, อย, รอบๆ, ทารกในครรภ, . karecaanakhra xngkvs amniocentesis epnkartrwcthangkaraephthyxyanghnungichsahrbkartrwcwinicchykxnkarkhlxdsahrbkhwamphidpktikhxngokhromosm kartidechuxinthark aelakhwamphidpktixun 1 thaodyecaadudexanakhraprimannxycakthungnakhrathixyurxb tharkinkhrrph innakhranicamienuxeyuxkhxngtharkxyu samarthskdesllxxkmatrwc DNA hakhwamphidpktithangphnthukrrmidkarecaanakhra Amniocentesis htthkaraelakartrwcthanghxngptibtikarICD 9 CM75 1MeSHD000649immikhxbngchikhxngkarecaanakhraephuxkartrwcwinicchyyunynkhwamepnbutr txngkarxangxing enuxha 1 khwamesiyngaelakhxesiy 1 1 karrwkhxngnakhra 1 2 xntrayodytrngtxthark 2 xangxing 3 aehlngkhxmulxunkhwamesiyngaelakhxesiy aekikhkarecaanakhracathainchwngxayukhrrph 15 20 spdah hakthaerwkwanicamikhwamesiyngthikarecaacathaxntraytxaekhnkhakhxngthark swnihyniymthathixayukhrrph 18 spdah 2 nganwicypikh s 1970 praeminkhwamesiyngkhxngkaraethngthiekidcakkarecaanakhraiwthipraman 1 in 200 0 5 3 nxkcakniyngmikhwamesiyngkhxngkarekidphawanakhrahludxudhlxdeluxdxikdwy 4 karrwkhxngnakhra aekikh phbmikarsuyesiynakhrachwkhrawinhyingtngkhrrphthirbkarecaanakhramakkwainklumthiimidecaa aemxacimthaihekidphlkartngkhrrphthiphidpktimaknkktam 5 karsuyesiynakhraniekuxbthnghmdepnkarsuyesiynakhraephiyngelknxyaelamkhyudidexngphayin 1 spdah phrxmknkbkarmiprimannakhraephimkhunklbmaethapkti 6 7 karhyudrwnnechuxwaimidepnphlodytrngcakkarsxmaesmeyuxbuthithukecaa aetekidcakkarepliynaeplngkhxngchn decidua aelachnklamenuxmdlukthipxngknimihmikarrwmakkhun xntrayodytrngtxthark aekikh oxkasthicaekidxntrayodytrngtxtharkcakekhmecaannminxymakhakichkarecaanakhraphrxmxltrasawnd karthdlxngaebbsumchinhnungthakbhyingtngkhrrph 2239 khnthiichkarecaanakhraphrxmxltrasawndimphbwamixntrayodytrngtxtharkxangxing aekikh Diagnostic Tests Amniocentesis Harvard Medical School khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2008 05 16 subkhnemux 2008 07 15 Sundberg K Bang J Smidt Jensen S aelakhna 1997 Randomised study of risk of fetal loss related to early amniocentesis versus chorionic villus sampling Lancet 350 9079 697 703 doi 10 1016 S0140 6736 97 02449 5 PMID 9291904 Unknown parameter month ignored help Explicit use of et al in author help CS1 maint multiple names authors list link Amniocentesis Risk Overrated Dodgson J Martin J Boswell J Goodall HB Smith R 1987 Probable amniotic fluid embolism precipitated by amniocentesis and treated by exchange transfusion Br Med J Clin Res Ed 294 6583 1322 3 PMC 1246486 PMID 3109636 Unknown parameter month ignored help CS1 maint multiple names authors list link Tabor A Philip J Madsen M et al Randomised controlled trial of genetic amniocentesis in 4606 low risk women Lancet 1986 1 1287 Simpson JL Socol ML Aladjem S Elias S Normal fetal growth despite persistent amniotic fluid leakage after genetic amniocentesis Prenat Diagn 1981 1 277 Crane JP Rohland BM Clinical significance of persistent amniotic fluid leakage after genetic amniocentesis Prenat Diagn 1986 6 25 aehlngkhxmulxun aekikhAmniodex is an interactive decision support intervention designed for women faced with the decision of whether to undergo amniocentesis bthkhwamekiywkbaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy aephthysastr ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karecaanakhra amp oldid 9562795, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม