fbpx
วิกิพีเดีย

การบังคับบุคคลให้สูญหาย

การบังคับบุคคลให้สูญหาย หรือภาษาปากเรียก การอุ้มหาย (อังกฤษ: forced disappearance หรือ enforced disappearance) เป็นคำในกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ หมายถึง กรณีที่บุคคลถูกเจ้าหน้าที่ของรัฐ องค์การการเมือง หรือผู้อื่นซึ่งได้รับอนุญาต การสนับสนุน หรือการรับรู้จากรัฐหรือองค์การการเมือง ลักพาตัวไป และรัฐ องค์การการเมือง หรือผู้อื่นดังกล่าว บอกปัดไม่รับรู้ชะตากรรมหรือถิ่นที่อยู่ของบุคคลที่หายตัวไป โดยจงใจจะให้บุคคลนั้นอยู่ภายนอกความคุ้มครองของกฎหมาย

ตามธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ (Rome Statute of the International Criminal Court) ซึ่งใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2002 เมื่อการบังคับบุคคลให้สูญหายนั้นกระทำเป็นส่วนหนึ่งของการโจมตีพลเรือนเป็นวงกว้างหรือเป็นระบบ ก็จะถือเป็นอาชญากรรมต่อมนุษยชาติและไม่อยู่ในอายุความ นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม ค.ศ. 2006 สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติยังได้ตกลงรับอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคนจากการถูกบังคับให้สูญหาย (International Convention for the Protection of All Persons from Enforced Disappearance)

โดยปรกติแล้วเป็นที่เข้าใจได้ว่า บุคคลที่ถูกบังคับให้สูญหายจะถูกฆ่าทิ้ง เพราะบ่อยครั้งที่ผู้เสียหายในกรณีเช่นนั้นถูกลักพา หน่วงเหนี่ยวไว้โดยมิชอบด้วยกฎหมาย ทรมานระหว่างการรีดเอาข้อมูล ฆ่าปิดปาก แล้วเอาศพไปซ่อน และการฆ่าดังกล่าวย่อมกระทำโดยซ่อนเร้น ส่วนศพก็มักถูกกำจัดเพื่อมิให้ถูกพบ พยานหลักฐานสำหรับพิสูจน์เกี่ยวกับความตายจึงมักได้มายากเย็น ผู้กระทำจึงสามารถบอกปัดได้ และผู้เสียหายจึงสาบสูญไปในที่สุด กรณีเช่นนี้ ภาษาปากเรียก การอุ้มฆ่า

รัฐบาลไทยได้สัญญาต่อคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติเมื่อ พ.ศ. 2555 ว่า จะออกกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองบุคคลจากการถูกบังคับให้สูญหาย แต่ยังไม่มีการออกกฎหมายดังกล่าวแต่อย่างใด

อ้างอิง

  1. เพลินตา ตันรังสรรค์ (2558). "หลักการและสาระสำคัญของร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการบังคับบุคคลให้สูญหาย พ.ศ. ..." (PDF). จุลนิติ (มีนาคม–มิถุนายน): 79–97. Check date values in: |year= (help)
  2. ปกป้อง ศรีสนิท (2562-09-12). "การบังคับบุคคลให้สูญหาย: มาตรฐานสากล vs มาตรฐานแบบไทย ๆ". 101. กรุงเทพฯ: ดิ วันโอวัน เปอร์เซนต์. สืบค้นเมื่อ 2563-06-10. Check date values in: |accessdate=, |date= (help)
  3. Jean-Marie Henckaerts; Louise Doswald-Beck; International Committee of the Red Cross (2005). Customary International Humanitarian Law: Rules. Cambridge University Press. p. 342. ISBN 978-0-521-80899-6.
  4. Phasuk, S. (2019). การไม่ปฏิบัติตามคำสัญญาของประเทศไทยที่จะยุติ ‘การสูญหายของบุคคล’. Retrieved from https://www.hrw.org/th/news/2018/08/29/321955

การบ, งค, บบ, คคลให, ญหาย, หร, อภาษาปากเร, ยก, การอ, มหาย, งกฤษ, forced, disappearance, หร, enforced, disappearance, เป, นคำในกฎหมายส, ทธ, มน, ษยชนระหว, างประเทศ, หมายถ, กรณ, คคลถ, กเจ, าหน, าท, ของร, องค, การการเม, อง, หร, อผ, นซ, งได, บอน, ญาต, การสน, บสน, ห. karbngkhbbukhkhlihsuyhay 1 2 hruxphasapakeriyk karxumhay xngkvs forced disappearance hrux enforced disappearance epnkhainkdhmaysiththimnusychnrahwangpraeths hmaythung krnithibukhkhlthukecahnathikhxngrth xngkhkarkaremuxng hruxphuxunsungidrbxnuyat karsnbsnun hruxkarrbrucakrthhruxxngkhkarkaremuxng lkphatwip aelarth xngkhkarkaremuxng hruxphuxundngklaw bxkpdimrbruchatakrrmhruxthinthixyukhxngbukhkhlthihaytwip odycngiccaihbukhkhlnnxyuphaynxkkhwamkhumkhrxngkhxngkdhmay 3 tamthrrmnuykrungormwadwysalxayarahwangpraeths Rome Statute of the International Criminal Court sungichbngkhbtngaetwnthi 1 krkdakhm kh s 2002 emuxkarbngkhbbukhkhlihsuyhaynnkrathaepnswnhnungkhxngkarocmtiphleruxnepnwngkwanghruxepnrabb kcathuxepnxachyakrrmtxmnusychatiaelaimxyuinxayukhwam nxkcakni emuxwnthi 20 thnwakhm kh s 2006 smchchaihyaehngshprachachatiyngidtklngrbxnusyyarahwangpraethswadwykarkhumkhrxngbukhkhlthukkhncakkarthukbngkhbihsuyhay International Convention for the Protection of All Persons from Enforced Disappearance odyprktiaelwepnthiekhaicidwa bukhkhlthithukbngkhbihsuyhaycathukkhathing ephraabxykhrngthiphuesiyhayinkrniechnnnthuklkpha hnwngehniywiwodymichxbdwykdhmay thrmanrahwangkarridexakhxmul khapidpak aelwexasphipsxn aelakarkhadngklawyxmkrathaodysxnern swnsphkmkthukkacdephuxmiihthukphb phyanhlkthansahrbphisucnekiywkbkhwamtaycungmkidmayakeyn phukrathacungsamarthbxkpdid aelaphuesiyhaycungsabsuyipinthisud krniechnni phasapakeriyk karxumkharthbalithyidsyyatxkhnamntrisiththimnusychnaehngshprachachatiemux ph s 2555 wa caxxkkdhmaythiekiywkhxngkbkarkhumkhrxngbukhkhlcakkarthukbngkhbihsuyhay aetyngimmikarxxkkdhmaydngklawaetxyangid 4 xangxing aekikh ephlinta tnrngsrrkh 2558 hlkkaraelasarasakhykhxngrangphrarachbyytipxngknaelaprabpramkarthrmanaelakarbngkhbbukhkhlihsuyhay ph s PDF culniti minakhm mithunayn 79 97 Check date values in year help pkpxng srisnith 2562 09 12 karbngkhbbukhkhlihsuyhay matrthansakl vs matrthanaebbithy 101 krungethph di wnoxwn epxresnt subkhnemux 2563 06 10 Check date values in accessdate date help Jean Marie Henckaerts Louise Doswald Beck International Committee of the Red Cross 2005 Customary International Humanitarian Law Rules Cambridge University Press p 342 ISBN 978 0 521 80899 6 Phasuk S 2019 karimptibtitamkhasyyakhxngpraethsithythicayuti karsuyhaykhxngbukhkhl Retrieved from https www hrw org th news 2018 08 29 321955 bthkhwamekiywkbkdhmayniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title karbngkhbbukhkhlihsuyhay amp oldid 8903478, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม