fbpx
วิกิพีเดีย

การปรับตัว (จิตวิทยา)

พฤติกรรมปรับตัว (อังกฤษ: Adaptive behavior) หรือ การปรับตัว เป็นพฤติกรรมประเภทหนึ่งที่ใช้เปลี่ยนพฤติกรรม หรือใช้ปรับพฤติกรรมให้เข้ากับสถานการณ์ บ่อยครั้งมักจะกำหนดว่า เป็นพฤติกรรมประเภทที่ช่วยให้บุคคลเปลี่ยนพฤติกรรมก่อกวนหรือที่ไม่สร้างสรรค์ให้ดีขึ้น พฤติกรรมเชิงลบอาจจะเป็นเรื่องทางสังคมหรืออาจจะเป็นเรื่องส่วนตัว ยกตัวอย่างเช่น การกระทำที่ทำซ้ำ ๆ ซาก ๆ อาจจะปรับให้ไปเป็นการประดิษฐ์หรือสร้างอะไรอย่างอื่น

โดยเปรียบเทียบกัน พฤติกรรมปรับตัวผิด (maladaptive behavior) เป็นพฤติกรรมอีกประเภทหนึ่งที่ใช้ในการลดความวิตกกังวลของตนเอง แต่เป็นพฤติกรรมที่ทำงานได้ไม่ดีและไม่ให้ผลดี ยกตัวอย่างเช่น การหลีกเลี่ยงสถานการณ์บางอย่างเพราะว่ามีความหวาดกลัวที่ไม่สมเหตุผล อาจจะช่วยลดความวิตกกังวลในส่วนเบื้องต้น แต่ว่าไม่ได้ให้ผลดีจริง ๆ ในการแก้ปัญหาในระยะยาว พฤติกรรมปรับตัวผิดมักใช้เป็นตัวชี้ความผิดปรกติทางพฤติกรรมหรือทางการทำงานของจิตใจ เพราะเป็นเรื่องที่ประเมินได้โดยปรวิสัย คือไม่ต้องอาศัยข้อมูลที่เป็นอัตวิสัย แต่ให้สังเกตด้วยว่า พฤติกรรมที่สมมติว่ามีศีลธรรมอาจจะพิจารณาได้ว่าเป็นการปรับตัวผิด เช่นความไม่เห็นด้วยหรือความต่อต้านความคิดทางสังคม (dissent) หรือว่า การเว้นจากการบำเรอตน (abstinence)

พฤติกรรมปรับตัวเป็นตัวสะท้อนถึงทักษะทางสังคมและทักษะการดำเนินชีวิตในชีวิตประจำวัน เราจะมีรูปแบบพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปตามพัฒนาการ ตามสถานการณ์ในชีวิตและสถานการณ์ในสังคม ตามค่านิยมในชีวิต และตามความคิดความต้องการของผู้อื่น การประเมินพฤติกรรมปรับตัว เป็นส่วนสำคัญในการประเมินสมรรถภาพของบุคคลในการดำเนินชีวิต จะเป็นการทำอาชีพก็ดี ปฏิสัมพันธ์ในสังคมก็ดี หรือว่าในเรื่องของการศึกษาก็ดี

ขอบเขตและนิยาม

พฤติกรรมปรับตัวรวมทั้งพฤติกรรมตามอายุที่จำเป็นเพื่อจะใช้ชีวิตโดยพึ่งตนเองได้ และดำเนินชีวิตให้ปลอดภัยและเหมาะสม ยกตัวอย่างเช่น การทำความสะอาดร่างกาย การแต่งตัว การระวังความปลอดภัย การจับต้องอาหารที่ถูกต้อง การทำอาชีพ การบริหารทรัพย์ การทำความสะอาด การคบเพื่อนใหม่ ๆ ทักษะทางสังคม และหน้าที่ความรับผิดชอบที่ควรจะมีตามอายุและตามกลุ่มสังคม

การกำหนด

การวัดพฤติกรรม

เพื่อที่จะกำหนดสมรรถภาพของพฤติกรรมปรับตัว ผู้ตรวจต้องตรวจดูทักษะการรับรู้ ทักษะสังคม และทักษะในการดำเนินชีวิต เพื่อที่จะวัดทักษะในการปรับตัว นักจิตวิทยาต้องต้องใช้มาตราวัดพฤติกรรมปรับตัวที่ได้ปรับมาตรฐานให้เข้ากับบุคคลทั้งที่ไม่มีและมีความพิการ สำหรับนักเรียน การวัดการปรับตัวทำได้โดยการสัมภาษณ์ผู้ปกครอง ครู หรือบุคคลอื่นที่คุ้นเคยกับกิจกรรมและชีวิตประจำวันของนักเรียน ซึ่งอาจจะพบว่านักเรียนมีจุดแข็งและจุดอ่อนในทักษะการรับรู้ ทักษะสังคม หรือ/และทักษะในการดำเนินชีวิต

มาตราพฤติกรรมเหล่านี้ช่วยวัดความเสียหายหรือความล่าช้าในการพัฒนาการของการดำเนินชีวิตประจำวัน ที่บ่อยครั้งอาจจะสัมพันธ์กับความพิการหรือความเจ็บป่วย การวัดพฤติกรรมปรับตัวนั้นเป็นการประเมินความประพฤติทั่วไป ไม่ใช่เป็นการประเมินการกระทำที่ทำได้ดีที่สุด การประเมินพฤติกรรมปรับตัวเป็นเรื่องที่จำเป็นในการวินิจฉัยความพิการทางสติปัญญา

พฤติกรรมปรับตัวสำหรับผู้มีความพิการ

ทฤษฎี

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. "พบคำศัพท์ Adaptive behavior ทั้งหมด 1 รายการ". สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 2015-04-07.
  2. Heward, William L. (2005-03-21). Exceptional Children: An Introduction to Special Education (8 ed.). Prentice Hall. ISBN 9780131191709.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Practopoiesis: a theory of adaptive behaviour.
  • Adaptive traverse


การปร, บต, ตว, ทยา, พฤต, กรรมปร, บต, งกฤษ, adaptive, behavior, หร, การปร, บต, เป, นพฤต, กรรมประเภทหน, งท, ใช, เปล, ยนพฤต, กรรม, หร, อใช, ปร, บพฤต, กรรมให, เข, าก, บสถานการณ, อยคร, งม, กจะกำหนดว, เป, นพฤต, กรรมประเภทท, วยให, คคลเปล, ยนพฤต, กรรมก, อกวนหร, อท, ไม. phvtikrrmprbtw xngkvs Adaptive behavior hrux karprbtw 1 epnphvtikrrmpraephthhnungthiichepliynphvtikrrm hruxichprbphvtikrrmihekhakbsthankarn bxykhrngmkcakahndwa epnphvtikrrmpraephththichwyihbukhkhlepliynphvtikrrmkxkwnhruxthiimsrangsrrkhihdikhun phvtikrrmechinglbxaccaepneruxngthangsngkhmhruxxaccaepneruxngswntw yktwxyangechn karkrathathithasa sak xaccaprbihipepnkarpradisthhruxsrangxairxyangxunodyepriybethiybkn phvtikrrmprbtwphid maladaptive behavior epnphvtikrrmxikpraephthhnungthiichinkarldkhwamwitkkngwlkhxngtnexng aetepnphvtikrrmthithanganidimdiaelaimihphldi yktwxyangechn karhlikeliyngsthankarnbangxyangephraawamikhwamhwadklwthiimsmehtuphl xaccachwyldkhwamwitkkngwlinswnebuxngtn aetwaimidihphldicring inkaraekpyhainrayayaw phvtikrrmprbtwphidmkichepntwchikhwamphidprktithangphvtikrrmhruxthangkarthangankhxngcitic ephraaepneruxngthipraeminidodyprwisy khuximtxngxasykhxmulthiepnxtwisy aetihsngektdwywa phvtikrrmthismmtiwamisilthrrmxaccaphicarnaidwaepnkarprbtwphid echnkhwamimehndwyhruxkhwamtxtankhwamkhidthangsngkhm dissent hruxwa karewncakkarbaerxtn abstinence phvtikrrmprbtwepntwsathxnthungthksathangsngkhmaelathksakardaeninchiwitinchiwitpracawn eracamirupaebbphvtikrrmthiepliyniptamphthnakar tamsthankarninchiwitaelasthankarninsngkhm tamkhaniyminchiwit aelatamkhwamkhidkhwamtxngkarkhxngphuxun karpraeminphvtikrrmprbtw epnswnsakhyinkarpraeminsmrrthphaphkhxngbukhkhlinkardaeninchiwit caepnkarthaxachiphkdi ptismphnthinsngkhmkdi hruxwaineruxngkhxngkarsuksakdi enuxha 1 khxbekhtaelaniyam 2 karkahnd 2 1 karwdphvtikrrm 3 phvtikrrmprbtwsahrbphumikhwamphikar 4 thvsdi 5 echingxrrthaelaxangxing 6 aehlngkhxmulxunkhxbekhtaelaniyam aekikhphvtikrrmprbtwrwmthngphvtikrrmtamxayuthicaepnephuxcaichchiwitodyphungtnexngid aeladaeninchiwitihplxdphyaelaehmaasm yktwxyangechn karthakhwamsaxadrangkay karaetngtw karrawngkhwamplxdphy karcbtxngxaharthithuktxng karthaxachiph karbriharthrphy karthakhwamsaxad karkhbephuxnihm thksathangsngkhm aelahnathikhwamrbphidchxbthikhwrcamitamxayuaelatamklumsngkhm 2 karkahnd aekikhkarwdphvtikrrm aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidephuxthicakahndsmrrthphaphkhxngphvtikrrmprbtw phutrwctxngtrwcduthksakarrbru thksasngkhm aelathksainkardaeninchiwit ephuxthicawdthksainkarprbtw nkcitwithyatxngtxngichmatrawdphvtikrrmprbtwthiidprbmatrthanihekhakbbukhkhlthngthiimmiaelamikhwamphikar sahrbnkeriyn karwdkarprbtwthaidodykarsmphasnphupkkhrxng khru hruxbukhkhlxunthikhunekhykbkickrrmaelachiwitpracawnkhxngnkeriyn sungxaccaphbwankeriynmicudaekhngaelacudxxninthksakarrbru thksasngkhm hrux aelathksainkardaeninchiwitmatraphvtikrrmehlanichwywdkhwamesiyhayhruxkhwamlachainkarphthnakarkhxngkardaeninchiwitpracawn thibxykhrngxaccasmphnthkbkhwamphikarhruxkhwamecbpwy karwdphvtikrrmprbtwnnepnkarpraeminkhwampraphvtithwip imichepnkarpraeminkarkrathathithaiddithisud karpraeminphvtikrrmprbtwepneruxngthicaepninkarwinicchykhwamphikarthangstipyyaphvtikrrmprbtwsahrbphumikhwamphikar aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidthvsdi aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidechingxrrthaelaxangxing aekikh phbkhasphth Adaptive behavior thnghmd 1 raykar sanknganphthnawithyasastraelaethkhonolyiaehngchati subkhnemux 2015 04 07 Heward William L 2005 03 21 Exceptional Children An Introduction to Special Education 8 ed Prentice Hall ISBN 9780131191709 aehlngkhxmulxun aekikhPractopoiesis a theory of adaptive behaviour Adaptive traverseekhathungcak https th wikipedia org w index php title karprbtw citwithya amp oldid 7415600, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม