fbpx
วิกิพีเดีย

การสังหารหมู่ที่ปีเตอร์ลู

การสังหารหมู่ที่ปีเตอร์ลู คือเหตุการณ์การสังหารหมู่ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาของความตึงเครียดทางการเมืองครั้งยิ่งใหญ่ คือในช่วงสิ้นสุดสงครามนโปเลียน ในปี1815 นั้นเป็นช่วงที่การเกษตรตกต่ำและเศรษฐกิจยังทรุดตัว ส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ทหารที่ไปออกรบในสงครามนโปเลียนเดินทางกลับมาก็ได้เข้ามาแย่งงานของกรรมกรทำ ทำให้เกิดการว่างงาน ประชาชนต้องใช้ชีวิตอยู่อย่างอดอยาก และในขณะนั้นรัฐบาลอังกฤษที่นำโดย Lord Liverpool ได้ออกกฎหมาย Corn Laws เป็นกฎหมายเพื่อตั้งกำแพงภาษี ไม่ให้นำเข้าข้าวจากต่างประเทศมาขายภายในประเทศ คือประชาชนจะต้องซื้อข้าวที่ปลูกภายในประเทศเท่านั้น โดยมีขุนนางเป็นเจ้าของซึ่งข้าวที่ปลูกขายภายในประเทศก็ยังมีราคาที่สูงมากอยู่ดีแม้ว่าจะไม่เท่าข้าวจากต่างประเทศที่รวมราคาภาษีแล้ว จากภาษี Corn Laws นั้นทำให้ประชาชนคนยากคนจนเดือดร้อน และรวมกลุ่มกันขอให้รัฐบาลทำการปฏิรูปการ ปกครอง

ประเทศอังกฤษภายหลังสิ้นสุดสงครามนโปเลียน

ถึงแม้ว่าประเทศอังกฤษจะไม่ต้องตกเป็นสมรภูมิแล้วก็ตาม แต่อังกฤษต้องได้รับความบอบช้ำมากเพราะว่าต้องคร่ำเคร่งกับสงครามเป็นเวลายาวนานหลายปี โดยเฉพาะเศรษฐกิจของอังกฤษได้รับความกระทบกระเทือนมาก ปรากฏว่าอังกฤษมีหนี้สินอยู่ถึง 4,000 ล้านดอลล่าร์ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้อังกฤษมีเศรษฐกิจตกต่ำ แต่ก็ยังมีสาเหตุอื่นๆอีกในระหว่างสงคราม ซึ่งได้แก่ 1.รัฐบาลอังกฤษซื้อยุทธปัจจัยจากโรงงานอุตสาหกรรมอังกฤษเป็นจำนวน 56 ล้านปอนด์ต่อปี พอสิ้นสงครามรัฐบาลก็หยุดซื้อทันที ซึ่งทำให้พัสดุสงครามตามโรงงานต่างๆเหลือเป็นจำนวนมากและขายไม่ออก เจ้าของโรงงานอุตสาหกรรมก็ขาดทุนจึงต้องปิดโรงงานทำให้เกิดปัญหาการว่างงานขึ้น 2.การปฏิวัติอุตสาหกรรมของอังกฤษกำลังเจริญก้าวหน้า อังกฤษผลิตสินค้าสำเร็จรูปจำนวนมากเพื่อส่งไปขายยังต่างประเทศต่างๆในยุโรป เมื่อสิ้นสงครามนโปเลียน ประเทศเจ้าจำนำต่างๆ ต่างก็ตั้งโรงงานอุตสาหกรรมของตนขึ้น และเลิกซื้อสิ้นค้าของอังกฤษเช่นเคย ทำให้สินค้าของอังกฤษขายไม่คล่องดังแต่ก่อน เจ้าของโรงงานจำเป็นต้องลดราคาลงและบางแห่งต้องปิดโรงงานอุตสาหกรรมทำให้เกิดปัญหากรรมกรว่างงาน 3.เมื่อสิ้นสงครามนโปเลียนแล้ว รัฐบาลอังกฤษก็ปลดทหารออกประจำการถึงแสนคน ทหารดังกล่าวก็ไม่มีงานทำ ปัญหากรรมกรว่างงานก็ได้ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ราคาพวกวัตถุดิบต่างๆของอังกฤษก็ต่ำลง เช่น เหล็ก ซึ่งเคยขายได้ราคาตันละ 20 ปอนด์ก็ลดลงเหลือราคาตันละ 8 ปอนด์ ผู้ที่รับเคราะห์ก็คือกรรมกรที่ไร้งานและที่มีงาน ฝ่ายรัฐบาลก็ไม่สามารถที่จะเข้าควบคุมโรงงานอุตสาหกรรมได้ทันที เพราะว่ารัฐบาลก็ยังมีงานอื่นที่จะต้องทำอีกมากมาย ในเมื่อสงครามนโปเลียนเพิ่งจะสิ้นสุดลงใหม่ๆ การที่รัฐบาลไม่สามารถเข้าควบคุมโรงงานของเอกชนได้ทันที ก็ทำให้เจ้าของโรงงานเอกชนออกกฎต่างๆได้ตามใจชอบ เป็นต้นว่า กำหนดให้กรรมกรทำงานเป็นเวลาวันละหลายๆชั่วโมง และยังให้ค่าแรงต่ำ เพราะเจ้าของโรงงานรู้ดีว่ากรรมกรต้องทำงานตามเงื่อนไขที่ตนเองกำหนดไว้เพราะว่ากลัวว่าจะถูกไล่ออกและกลายเป็นกรรมกรว่างงาน แต่ว่าสาเหตุข้องหนึ่งที่ทำให้เจ้าของโรงงานไม่สามารถจะเพิ่มค่าแรงของกรรกรได้ คือว่าจะทำสินค้ามีราคาแพงขึ้นและจำยิ่งทำให้ขายยากกว่าเดิม ด้วยเหตุนี้เองกรรมกรในประเทศอังกฤษในสมัยนั้นจึงมีสภาพความเป็นอยู่ที่ตกต่ำและมีความลำบากมาก

สังคมนิยมแบบยูโทเปียในอังกฤษ

ในขณะนั้นการปฏิวัติของอังกฤษกำลังแผ่ขยายไปในภาคกลาง ภาคเหนือ และทางภาคใต้ของสกอตแลนด์ แต่ก็ยังมีคนที่เห็นใจพวกกรรมกร เช่น โรเบิร์ต โอเวน(Robert Owen. ค.ศ. 1771-1858) นักสังคมนิยมแบบยูโทเปีย (Utopian Socialist) เขาเคยเป็นกรรมกรมาก่อน แต่ต่อมาก็ได้ตั้งตัวได้และได้เป็นเจ้าของโรงงานทอผ้าที่เมือง New Lanark ในสกอตแลนด์ โอเวนมีความเชื่อว่า ถ้าหากว่าพวกกรรมกรมีความเป็นอยู่ดีขึ้น ก็คงจะตั้งใจทำงานและคงจะสามารถผลิตสินค้าให้มีปริมาณเพิ่มขึ้น โอเวนได้เสนอลดเวลาทำงานของกรรมกรให้น้อยลง เพื่อเปิดโอกาสให้พวกกรรมกรได้มีเวลาพักผ่อนมากขึ้น นอกจากนี้เขายังจัดตั้งโรงเรียนขึ้นสำหรับพวกบุตรหลานของพวกกรรมกรโดยเฉพาะ เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กเหล่านี้ได้เรียนหนังสือและมีสุขภาพดี แทนที่จะได้เข้าไปทำงานตั้งแต่อายุน้อยๆ และยังเปิดโอกาสให้พวกกรรมกรได้เล่นกีฬาและจัดงาน ให้มีการเล่นกีฬาอยู่เสมอ สิ่งเหล่านี้ทำให้พวกกรรมกรชอบโอเวนมาก เพราะเขาได้ทำให้กรรมกรมีความเป็นอยู่ดีกว่ากรรมกรในแห่งอื่นๆ การที่โอเวนเอาใจใส่บำรุงฐานะของกรรมกรเป็นคนแรก เขาจึงได้ยกย่องว่าเป็นผู้ให้กำเนิดลัทธิสังคมนิยม (Socialist) ขึ้นในประเทศอังกฤษ ถึงแม้ว่าจะมีการแก้ไขทางเศรษฐกิจโดยรัฐบาลและจะมีเจ้าของโรงงานที่มีน้ำใจกว้างขวางอย่าง โรเบิร์ต โอเวนก็ตาม แต่ว่าเจ้าของโรงงานที่มีความคิดเช่นเดียวกับโอเวนนั้นมีจำนวนน้อย ส่วนมากมักจะเป็นห่วงเรื่องการเงินหรือโรงงานมากกว่าสวัสดิภาพของพวกคนงาน เพราะฉะนั้นพวกกรรมกรส่วนมากซึ่งได้รับความเดือดร้อนก็มักจะไปชุมนุมกันเพื่อระบายความทุกข์ยากของตัวเอง ราษฎรได้เริ่มการเคลื่อนไหวเรียกร้องให้รัฐบาลให้เอาใจใส่ในฐานะของตนมากขึ้น จนได้เกิดการปะทะกันรุนแรงขึ้นระหว่างราษฎรกับรัฐบาลอังกฤษ เหตุการณ์ได้เกิดขึ้นเมื่อ วันที่16 สิงหาคม 1819 ได้มีการชุมนุมของกลุ่มพวกราษฎรและกรรมกรประมาณ 80,000 คน ในเมืองแมนเชสเตอร์ซึ่งเป็นศูนย์กลางของการทอผ้าในขณะนั้น ได้ไปชุมนุมกันที่จัตุรัส St. Peter’s Square เพื่อฟังคำอภิปรายเกี่ยวกับการปรับปรุงรัฐสภา ประเทศอังกฤษ ปรากฏว่าในการชุมนุมได้มีผู้แถลงการณ์ปรักปรำรัฐบาล ทำให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลรักษาการณ์อยู่บริเวณการชุมนุมเข้าไปจับกุมผู้แถลงการปรำปรำนั้น ส่งผลให้ประชาชนบาดเจ็บและล้มตายจำนวนมาก มีคนตาย11คน บาดเจ็บกว่า 400คน เป็นผู้หญิง 113คน ซึ่งรัฐบาลก็รู้สึกพอใจที่เห็นว่าเจ้าหน้าที่ทำหน้าที่ได้เป็นอย่างดีโดยไม่มีความรู้สึกที่จะออกมารับผิดชอบใดๆต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนั้น จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนี้ทำให้ประชาชนชาวอังกฤษประณามการกระทำดังกล่าวของรัฐบาลและเห็นใจชาวอังกฤษที่ได้รับความเสียหายจากการกระทำของรัฐบาลครั้งนี้ และด้วยเหตุนี้เองประชาชนชาวอังกฤษจึงร่วมกันรุมประณามการกระทำของรัฐบาลโดยเรียกเหตุการณ์ครั้งนี้ว่า Peterloo Massacre ซึ่งเป็นชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อล้อเลียนชัยชนะของรัฐบาลที่ วอเตอร์ลู เหตุการณ์ Peterloo Massacre เป็นเหตุการณ์ความรุนแรงครั้งแรกในหลายๆครั้งที่ประชาชนออกมากดดันให้รัฐบาลอังกฤษปฏิรูปการปกครอง ซึ่งภายหลังจากเหตุการณ์นี้ รัฐบาลอังกฤษก็ได้ออกกฎหมายขึ้นมา ที่เรียกว่ากันว่า “Six Acts” ขึ้นในปลายปี ค.ศ. 1819 กฎหมายนี้ใช้เพื่อควบคุมการมาชุมนุมกันและเพิ่มโทษผู้ที่เป็นตัวการสำคัญที่ก่อให้เกิดความวุ่นวายขึ้นซึ่งข้อกำหนดและปฏิบัติของกฎหมาย Six Acts นั้นก็1. ห้ามการชุมนุมขนาดใหญ่ 2. เพิ่มค่าปรับสำหรับข้อหาก่อความวุ่นวาย 3. เพิ่มภาษีหนังสือพิมพ์ 4..ห้ามทำการฝึกอาวุธ 5.เพิ่มภาษีสนามบิน 6.อนุญาตให้เจ้าหน้าที่ทำการตรวจค้นบ้านเรือนของประชาชนในบางมณฑลได้

ซึ่งราษฏรก็พากันประณามพระราชบัญญัติ 6 ฉบับนี้ โดยให้ชื่อว่า “Liberticide Acts” ซึ่งเป็นกฎหมายที่บั่นทอนเสรีภาพของประชาชน และภายหลักจากที่รัฐบาลอังกฤษออกกฎหมายนี้ได้สองเดือนก็ได้มีการวางแผนลอบสังหารคณะรัฐมนตรีทั้งชุด เหตุการณ์นี้เรียกว่า “Cato Street Conspiracy ” นับเป็นโชคดีของชาวอังกฤษที่รัฐบาลพรรคทอรี (Conservative) ซึ่งบริหารราชการสืบต่อมานี้ประกอบด้วยรัฐมนตรีหลายคนซึ่งมีจิตใจเอนเอียงไปในทางเสรีนิยม มีความมุ่งหมายที่จะแก้ไขฐานะความเป็นอยู่ของราษฎรให้ดีขึ้น ในระหว่างปี ค.ศ. 1823-1830 ปรากฏว่ารัฐมนตรีที่มีชื่อเสียงเช่น จอร์จ แคนนิ่ง (สมัย ค.ศ. 1822-1827) เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศได้ขึ้นบริหารราชการ นอกจากนี้ จอร์จ แคนนิ่ง ยังได้เพื่อนร่วมคณะที่มีจิตใจกว้างขวางในทางการเมือง เช่น โรเบิร์ต พีล (Robert Peel. ค.ศ. 1788-1850) ซึ่งต่อไปจะเป็นนายารัฐมนตรีในช่วงปี ค.ศ. 1834-1835 พีลได้ขึ้นดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้แก้ไขปรับปรุงกฎหมายอาญาให้รุนแรงน้อยกว่าแต่ก่อน

คำกล่าวถึงเหตุการณ์ Peterloo Massacre ของ Mark Thomas, comedian

“The word "democracy" has been tarnished by the politicians who benefit from its Parliamentary form. But do not forget that people fought and died for democracy, for the right of universal suffrage. The Peterloo Massacre was one such event but the calls for freedom, justice and democracy were meet with murder and suppression. The shameful object that seeks to serve as a commemorative plaque to this event hides the struggle of working people, it hides the urgency of their demands and the brutality of the state. To fail to refer to the massacre, to fail to refer to the deaths and instead skip over these events is an act of historical vandalism akin to Stalin airbrushing dissidents out of photographs." Mark Thomas, comedian

การส, งหารหม, เตอร, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, บทความน, หร, อส, . bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir bthkhwamnihruxswnnikhxngbthkhwamtxngkarprbrupaebb sungxachmaythung txngkarcdrupaebbkhxkhwam cdhna aebnghwkhx cdlingkphayin aela hruxkarcdraebiybxun khunsamarthchwyaekikhpyhaniidodykarkdthipum aekikh danbn caknnprbprunghruxcdrupaebbxun inbthkhwamihehmaasmkarsngharhmuthipietxrlu khuxehtukarnkarsngharhmuthiekidkhuninchwngewlakhxngkhwamtungekhriydthangkaremuxngkhrngyingihy khuxinchwngsinsudsngkhramnopeliyn inpi1815 nnepnchwngthikarekstrtktaaelaesrsthkicyngthrudtw sngphlkrathbtxchiwitkhwamepnxyukhxngprachachn thharthiipxxkrbinsngkhramnopeliynedinthangklbmakidekhamaaeyngngankhxngkrrmkrtha thaihekidkarwangngan prachachntxngichchiwitxyuxyangxdxyak aelainkhnannrthbalxngkvsthinaody Lord Liverpool idxxkkdhmay Corn Laws epnkdhmayephuxtngkaaephngphasi imihnaekhakhawcaktangpraethsmakhayphayinpraeths khuxprachachncatxngsuxkhawthiplukphayinpraethsethann odymikhunnangepnecakhxngsungkhawthiplukkhayphayinpraethskyngmirakhathisungmakxyudiaemwacaimethakhawcaktangpraethsthirwmrakhaphasiaelw cakphasi Corn Laws nnthaihprachachnkhnyakkhncneduxdrxn aelarwmklumknkhxihrthbalthakarptirupkar pkkhrxngpraethsxngkvsphayhlngsinsudsngkhramnopeliyn aekikhthungaemwapraethsxngkvscaimtxngtkepnsmrphumiaelwktam aetxngkvstxngidrbkhwambxbchamakephraawatxngkhraekhrngkbsngkhramepnewlayawnanhlaypi odyechphaaesrsthkickhxngxngkvsidrbkhwamkrathbkraethuxnmak praktwaxngkvsmihnisinxyuthung 4 000 landxllar epnpccyhnungthithaihxngkvsmiesrsthkictkta aetkyngmisaehtuxunxikinrahwangsngkhram sungidaek 1 rthbalxngkvssuxyuththpccycakorngnganxutsahkrrmxngkvsepncanwn 56 lanpxndtxpi phxsinsngkhramrthbalkhyudsuxthnthi sungthaihphsdusngkhramtamorngngantangehluxepncanwnmakaelakhayimxxk ecakhxngorngnganxutsahkrrmkkhadthuncungtxngpidorngnganthaihekidpyhakarwangngankhun 2 karptiwtixutsahkrrmkhxngxngkvskalngecriykawhna xngkvsphlitsinkhasaercrupcanwnmakephuxsngipkhayyngtangpraethstanginyuorp emuxsinsngkhramnopeliyn praethsecacanatang tangktngorngnganxutsahkrrmkhxngtnkhun aelaeliksuxsinkhakhxngxngkvsechnekhy thaihsinkhakhxngxngkvskhayimkhlxngdngaetkxn ecakhxngorngngancaepntxngldrakhalngaelabangaehngtxngpidorngnganxutsahkrrmthaihekidpyhakrrmkrwangngan 3 emuxsinsngkhramnopeliynaelw rthbalxngkvskpldthharxxkpracakarthungaesnkhn thhardngklawkimmingantha pyhakrrmkrwangngankidthwikhwamrunaerngmakyingkhun nxkcaknirakhaphwkwtthudibtangkhxngxngkvsktalng echn ehlk sungekhykhayidrakhatnla 20 pxndkldlngehluxrakhatnla 8 pxnd phuthirbekhraahkkhuxkrrmkrthiirnganaelathimingan fayrthbalkimsamarththicaekhakhwbkhumorngnganxutsahkrrmidthnthi ephraawarthbalkyngminganxunthicatxngthaxikmakmay inemuxsngkhramnopeliynephingcasinsudlngihm karthirthbalimsamarthekhakhwbkhumorngngankhxngexkchnidthnthi kthaihecakhxngorngnganexkchnxxkkdtangidtamicchxb epntnwa kahndihkrrmkrthanganepnewlawnlahlaychwomng aelayngihkhaaerngta ephraaecakhxngorngnganrudiwakrrmkrtxngthangantamenguxnikhthitnexngkahndiwephraawaklwwacathukilxxkaelaklayepnkrrmkrwangngan aetwasaehtukhxnghnungthithaihecakhxngorngnganimsamarthcaephimkhaaerngkhxngkrrkrid khuxwacathasinkhamirakhaaephngkhunaelacayingthaihkhayyakkwaedim dwyehtuniexngkrrmkrinpraethsxngkvsinsmynncungmisphaphkhwamepnxyuthitktaaelamikhwamlabakmak sngkhmniymaebbyuothepiyinxngkvs aekikh inkhnannkarptiwtikhxngxngkvskalngaephkhyayipinphakhklang phakhehnux aelathangphakhitkhxngskxtaelnd aetkyngmikhnthiehnicphwkkrrmkr echn orebirt oxewn Robert Owen kh s 1771 1858 nksngkhmniymaebbyuothepiy Utopian Socialist ekhaekhyepnkrrmkrmakxn aettxmakidtngtwidaelaidepnecakhxngorngnganthxphathiemuxng New Lanark inskxtaelnd oxewnmikhwamechuxwa thahakwaphwkkrrmkrmikhwamepnxyudikhun kkhngcatngicthanganaelakhngcasamarthphlitsinkhaihmiprimanephimkhun oxewnidesnxldewlathangankhxngkrrmkrihnxylng ephuxepidoxkasihphwkkrrmkridmiewlaphkphxnmakkhun nxkcakniekhayngcdtngorngeriynkhunsahrbphwkbutrhlankhxngphwkkrrmkrodyechphaa ephuxepidoxkasihedkehlaniideriynhnngsuxaelamisukhphaphdi aethnthicaidekhaipthangantngaetxayunxy aelayngepidoxkasihphwkkrrmkridelnkilaaelacdngan ihmikarelnkilaxyuesmx singehlanithaihphwkkrrmkrchxboxewnmak ephraaekhaidthaihkrrmkrmikhwamepnxyudikwakrrmkrinaehngxun karthioxewnexaicisbarungthanakhxngkrrmkrepnkhnaerk ekhacungidykyxngwaepnphuihkaenidlththisngkhmniym Socialist khuninpraethsxngkvs thungaemwacamikaraekikhthangesrsthkicodyrthbalaelacamiecakhxngorngnganthiminaickwangkhwangxyang orebirt oxewnktam aetwaecakhxngorngnganthimikhwamkhidechnediywkboxewnnnmicanwnnxy swnmakmkcaepnhwngeruxngkarenginhruxorngnganmakkwaswsdiphaphkhxngphwkkhnngan ephraachannphwkkrrmkrswnmaksungidrbkhwameduxdrxnkmkcaipchumnumknephuxrabaykhwamthukkhyakkhxngtwexng rasdriderimkarekhluxnihweriykrxngihrthbalihexaicisinthanakhxngtnmakkhun cnidekidkarpathaknrunaerngkhunrahwangrasdrkbrthbalxngkvs ehtukarnidekidkhunemux wnthi16 singhakhm 1819 idmikarchumnumkhxngklumphwkrasdraelakrrmkrpraman 80 000 khn inemuxngaemnechsetxrsungepnsunyklangkhxngkarthxphainkhnann idipchumnumknthicturs St Peter s Square ephuxfngkhaxphiprayekiywkbkarprbprungrthspha praethsxngkvs praktwainkarchumnumidmiphuaethlngkarnprkprarthbal thaihecahnathithiduaelrksakarnxyubriewnkarchumnumekhaipcbkumphuaethlngkarpraprann sngphlihprachachnbadecbaelalmtaycanwnmak mikhntay11khn badecbkwa 400khn epnphuhying 113khn sungrthbalkrusukphxicthiehnwaecahnathithahnathiidepnxyangdiodyimmikhwamrusukthicaxxkmarbphidchxbidtxehtukarnthiekidkhunnn cakehtukarnthiekidkhunnithaihprachachnchawxngkvspranamkarkrathadngklawkhxngrthbalaelaehnicchawxngkvsthiidrbkhwamesiyhaycakkarkrathakhxngrthbalkhrngni aeladwyehtuniexngprachachnchawxngkvscungrwmknrumpranamkarkrathakhxngrthbalodyeriykehtukarnkhrngniwa Peterloo Massacre sungepnchuxthitngkhunephuxlxeliynchychnakhxngrthbalthi wxetxrlu ehtukarn Peterloo Massacre epnehtukarnkhwamrunaerngkhrngaerkinhlaykhrngthiprachachnxxkmakddnihrthbalxngkvsptirupkarpkkhrxng sungphayhlngcakehtukarnni rthbalxngkvskidxxkkdhmaykhunma thieriykwaknwa Six Acts khuninplaypi kh s 1819 kdhmayniichephuxkhwbkhumkarmachumnumknaelaephimothsphuthiepntwkarsakhythikxihekidkhwamwunwaykhunsungkhxkahndaelaptibtikhxngkdhmay Six Acts nnk1 hamkarchumnumkhnadihy 2 ephimkhaprbsahrbkhxhakxkhwamwunway 3 ephimphasihnngsuxphimph 4 hamthakarfukxawuth 5 ephimphasisnambin 6 xnuyatihecahnathithakartrwckhnbaneruxnkhxngprachachninbangmnthlidsungrastrkphaknpranamphrarachbyyti 6 chbbni odyihchuxwa Liberticide Acts sungepnkdhmaythibnthxnesriphaphkhxngprachachn aelaphayhlkcakthirthbalxngkvsxxkkdhmayniidsxngeduxnkidmikarwangaephnlxbsngharkhnarthmntrithngchud ehtukarnnieriykwa Cato Street Conspiracy nbepnochkhdikhxngchawxngkvsthirthbalphrrkhthxri Conservative sungbriharrachkarsubtxmaniprakxbdwyrthmntrihlaykhnsungmiciticexnexiyngipinthangesriniym mikhwammunghmaythicaaekikhthanakhwamepnxyukhxngrasdrihdikhun inrahwangpi kh s 1823 1830 praktwarthmntrithimichuxesiyngechn cxrc aekhnning smy kh s 1822 1827 epnrthmntriwakarkrathrwngtangpraethsidkhunbriharrachkar nxkcakni cxrc aekhnning yngidephuxnrwmkhnathimicitickwangkhwanginthangkaremuxng echn orebirt phil Robert Peel kh s 1788 1850 sungtxipcaepnnayarthmntriinchwngpi kh s 1834 1835 philidkhundarngtaaehnngrthmntriwakarkrathrwngmhadithy idaekikhprbprungkdhmayxayaihrunaerngnxykwaaetkxn khaklawthungehtukarn Peterloo Massacre khxng Mark Thomas comedian aekikh The word democracy has been tarnished by the politicians who benefit from its Parliamentary form But do not forget that people fought and died for democracy for the right of universal suffrage The Peterloo Massacre was one such event but the calls for freedom justice and democracy were meet with murder and suppression The shameful object that seeks to serve as a commemorative plaque to this event hides the struggle of working people it hides the urgency of their demands and the brutality of the state To fail to refer to the massacre to fail to refer to the deaths and instead skip over these events is an act of historical vandalism akin to Stalin airbrushing dissidents out of photographs Mark Thomas comedianekhathungcak https th wikipedia org w index php title karsngharhmuthipietxrlu amp oldid 8009488, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม