fbpx
วิกิพีเดีย

การหลีกเลี่ยงการเสีย

ในการศึกษาเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์และทฤษฎีการตัดสินใจ (decision theory) การหลีกเลี่ยงการเสีย (อังกฤษ: loss aversion) หมายถึงความโน้มเอียงที่เราจะป้องกันความสูญเสีย มากกว่าที่เราจะพยายามให้ได้ผลกำไร งานวิจัยโดยมากแสดงว่า โดยทางความรู้สึกทางจิตใจแล้ว การสูญเสียมีอำนาจมากกว่าการได้ประมาณสองเท่า[ต้องการอ้างอิง] นักจิตวิทยาชาวอเมริกันแดเนียล คาฮ์นะมัน และอะมอส ทเวอร์สกี้ แสดงหลักฐานของการหลีกเลี่ยงการเสียเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1984

ความโน้มเอียงนี้จะนำไปสู่การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (risk aversion) (ซึ่งเป็นแนวคิดของสาขาเศรษฐศาสตร์และการเงิน) ในสถานการณ์ที่การได้การเสียมีโอกาสเท่า ๆ กัน เพราะเราชอบใจที่จะหลีกเลี่ยงการเสียมากกว่าที่จะได้

ความโน้มเอียงนี้อาจจะอธิบายปรากฏการณ์การตัดสินใจเพื่อผลที่จะได้ในอนาคตโดยคำนึงถึงต้นทุนที่จมไปแล้ว (sunk cost) ซึ่งเป็นการพิจารณาที่ไม่สมเหตุผลอีกด้วย (คือการพิจารณาที่สมเหตุผลจะคำนึงว่า เราต้องเสียเงินทุนเท่าไรในตอนนี้เพื่อจะได้ผลที่จะได้ในอนาคต โดยไม่คำนึงถึงการลงทุนที่ทำไปแล้วในอดีต)

ทฤษฎีนี้พยากรณ์ว่า คนที่เสียเงิน 100 บาทจะเสียใจมากกว่าคนที่ได้เงิน 100 บาทจะดีใจ ในการตลาด มีกลยุทธ์การขายของโดยให้ทดลองใช้เป็นช่วงเวลาจำกัด และโดยให้ส่วนลดที่ต้องส่งเอกสารให้กับบริษัท (rebate) เป็นกลอุบายที่อาศัยความโน้มเอียงของผู้บริโภคที่ให้ค่ากับผลิตภัณฑ์มากกว่าเมื่อได้ใช้ในชีวิตประจำวันแล้ว

ข้อมูลเพิ่มเติม: ปรากฏการณ์การวางกรอบ

ให้สังเกตว่า การซื้อที่มีการวางกรอบให้เป็นการเสียหรือการได้เป็นเรื่องสำคัญเกี่ยวกับความโน้มเอียงนี้ เช่นเราอยากจะได้ส่วนลด 100 บาทมากกว่า หรือว่าอยากจะหลีกเลี่ยงการเสียค่าธรรมเนียม 100 บาทมากกว่า ที่พบก็คือ แม้ว่าจะมีราคาเดียวกันเป็นผลที่สุด แต่การซื้อขายที่ปรากฏเป็นการได้หรือการเสีย จะมีผลอย่างสำคัญต่อพฤติกรรมของผู้บริโภค แต่เพราะว่า นักเศรษฐศาสตร์ทั่วไปพิจารณา endowment effect (ปรากฏการณ์ที่การประเมินมูลค่าของสิ่งของเพิ่มขึ้นเพราะความเป็นเจ้าของ) และปรากฏการณ์อื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการหลีกเลี่ยงการเสียว่า เป็นสิ่งที่ไม่สมเหตุผล ดังนั้น การหลีกเลี่ยงการเสียจึงเป็นปรากฏการณ์ที่สำคัญมากในสาขาการตลาดและจิตวิทยาการเงิน ในการตลาด มีหลักฐานแสดงในงานศึกษาปฏิกิริยาของผู้บริโภคต่อการเปลี่ยนแปลงเบี้ยประกันของประกันภัย คือพบว่า การเพิ่มเบี้ยประกันมีผลเป็นผู้บริโภคเปลี่ยนบริษัทมากกว่าการลดเบี้ยประกันถึงสองเท่า

การหลีกเลี่ยงการเสียและปรากฏการณ์ความเป็นเจ้าของ

ในปี ค.ศ. 1990 ดร. คาฮ์นะมันและคณะเป็นพวกแรกที่เสนอทฤษฎีการหลีกเลี่ยงการเสีย โดยเป็นคำอธิบายของ endowment effect (ปรากฏการณ์ความเป็นเจ้าของ) ที่เราตั้งมูลค่าให้กับสิ่งของที่เราเป็นเจ้าของ มากกว่าของเหมือนกันที่เราไม่ได้เป็นเจ้าของ ปรากฏการณ์การหลีกเลี่ยงการเสียและปรากฏการณ์ความเป็นเจ้าของ ทำให้ทฤษฎี Coase theorem ไม่เป็นจริง เพราะทฤษฎีพยากรณ์ว่า "การจัดสรรทรัพยากรจะเป็นอิสระจากการตั้งว่าใครเป็นเจ้าของ เมื่อการแลกเปลี่ยนที่ไม่มีค่าใช้จ่ายเป็นไปได้" (คือเมื่อของที่แลกมีมูลค่าเท่ากัน ควรจะแลกของได้อย่างอิสระโดยที่ความเป็นเจ้าของจะไม่มีผล)

 
แผนภูมิเส้นแสดงอุปสงค์และอุปทานทั่วไป

ในงานทดลองหลายงาน ผู้ทำงานวิจัยแสดงว่า การหลีกเลี่ยงการเสียสามารถใช้เป็นทฤษฎีอธิบายปรากฏการณ์ความเป็นเจ้าของได้ โดยเทียบกับคำอธิบายอื่น ๆ 5 อย่างที่ไม่สามารถ รวมทั้ง (1) ค่าใช้จ่ายในธุรกรรม (transaction costs) (2) ความเข้าใจผิด (3) พฤติกรรมต่อรองที่เป็นนิสัย (4) income effect (ความเปลี่ยนแปลงของการบริโภคที่เกิดเนื่องจากความเปลี่ยนแปลงของรายได้ที่แท้จริง), or (5) trophy effect (ปรากฏการณ์ที่เพิ่มมูลค่าให้กับสิ่งของที่เพิ่มสถานะทางสังคม) ในงานทดลองแต่ละงาน ผู้ร่วมการทดลองครึ่งหนึ่งจะได้รับสินค้าโดยสุ่ม แล้วถามถึงจำนวนเงินอย่างต่ำที่สุดที่จะขายสิ่งนั้น ส่วนผู้ร่วมการทดลองที่เหลือจะไม่ได้อะไร แล้วถามถึงจำนวนเงินอย่างสูงที่สุดที่จะซื้อสิ่งนั้น เนื่องจากว่า สินค้านี้มีราคาเสถียร และการประเมินมูลค่าสินค้าจะต่างไปจากราคานี้เพราะเหตุแห่งการชักตัวอย่างเท่านั้น ดังนั้น แผนภูมิเส้นแสดงอุปสงค์และอุปทานควรที่จะสะท้อนกันและกัน และควรที่จะเกิดการซื้อขายสินค้าจำนวนครึ่งหนึ่ง นอกจากนั้นแล้ว ผู้ทำงานวิจัยยังกำจัดคำอธิบายว่าผู้ร่วมการทดลองขาดประสบการณ์ค้าขาย โดยให้ทำการค้าขายช้ำ ๆ กัน ผลการทดลองพบว่า ผู้ขายตั้งราคาที่ต้องการขายสูงกว่าผู้ซื้อต้องการซื้อในระดับสูง ซึ่งผู้ทำงานวิจัยยกว่ามีผลมาจากการหลีกเลี่ยงการเสีย ไม่ใช่เป็นเพราะเหตุอื่น ๆ ที่ตรวจสอบ

ปรากฏการณ์หลีกเลี่ยงการเสียมีจริง ๆ หรือไม่

มีงานวิจัยต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 2008 ที่ตั้งความสงสัยว่า ปรากฏการณ์หลีกเลี่ยงการเสียมีจริง ๆ หรือไม่ ในงานหลายงานที่ตรวจสอบปรากฏการณ์การเสียในการตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน นักวิจัยไม่พบการหลีกเลี่ยงการเสีย

มีคำอธิบายหลายอย่างสำหรับงานที่กล่าวมานี้ รวมทั้ง

  1. ปรากฏการณ์หลีกเลี่ยงการเสียจะไม่มี ถ้าส่วนได้ส่วนเสียมีค่าน้อย
  2. ปรากฏการณ์หลีกเลี่ยงการเสียมีนัยทั่วไปในระดับที่น้อยกว่าที่คิดไว้
  3. การเสียอาจจะมีผลต่อความใส่ใจแต่ไม่มีผลต่อการชั่งผลที่จะได้ คือมีการพบว่า แม้ว่าจะไม่มีการหลีกเลี่ยงการเสีย แต่ว่าการเสียก็ยังสร้างความตื่นตัวอัตโนวัติ (ที่อยู่ใต้จิตสำนึกควบคุมไม่ได้) มากกว่าการได้

ปรากฏการณ์หลังสุดที่กล่าวมานี้บางครั้งรู้จักกันว่า Loss Attention (ความใส่ใจในการเสีย)

การหลีกเลี่ยงการเสีย (loss aversion) และปรากฏการณ์ความเป็นเจ้าของ (endowment effect) มักจะมีการสับสนกัน คือ ผลงานวิจัยในปี ค.ศ. 2006 อ้างว่า ปรากฏการณ์ความเป็นเจ้าของที่ได้อ้างสืบ ๆ กันมาว่ามีการหลีกเลี่ยงการเสียเป็นเหตุ สามารถอธิบายได้ง่ายกว่าว่ามีเหตุจากความเฉื่อยทางประชาน (cognitive inertia) ไม่ใช่จากความไม่สมมาตรระหว่างการได้การเสีย

การหลีกเลี่ยงการเสียในสัตว์

ในปี ค.ศ. 2005 มีการทดลองที่ทดสอบความสามารถของลิงโลกใหม่วงศ์ย่อย Cebinae (อังกฤษ: Capuchin monkey) ในการใช้ "เงิน" หลังจากได้รับการฝึกเป็นเวลาหลายเดือน ลิงเริ่มจะแสดงพฤติกรรมที่สะท้อนความเข้าใจแนวคิดในเรื่องสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน (คือเงิน) และลิงก็มีความโน้มเอียงที่จะหลีกเลี่ยงการเสียดังที่พบในมนุษย์พร้อมกับพวกนักลงทุน (ดูภาพยนตร์ภาษาอังกฤษของ BBC) แต่ว่า มีงานวิจัยในปี ค.ศ. 2008 ที่เสนอว่า ผลที่พบในปี ค.ศ. 2005 ไม่ได้เกิดจากการหลีกเลี่ยงการเสีย แต่เกิดจากความล่าช้าที่ไม่เท่ากัน ในการแสดงผลที่มีการเสียและผลที่มีการได้ให้ลิงดู เพราะว่า การเสียมีความล่าช้ามากกว่า ดังนั้น ผลที่พบอาจจะตีความได้ว่าเป็น "การหลีกเลี่ยงความล่าช้า" (คือลิงใจร้อน)

การหลีกเลี่ยงความเสียในการศึกษา

มีการทดลองใช้การหลีกเลี่ยงความเสียเพื่อปรับปรุงผลที่ได้ในระบบการศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีพื้นเพว่า ในการประเมินผลการศึกษาของ Programme for International Student Assessment (โปรแกรมการประเมินนักเรียนนานาชาติ) ในปี ค.ศ. 2009 สหรัฐอเมริกาจัดอันดับเป็นที่ 31 ในวิชาคณิตศาสตร์ และอันดับที่ 17 ในการอ่าน

ในงานวิจัยพิมพ์ในปี ค.ศ. 2012 นักวิจัยที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดมีสมมุติฐานว่า การวางกรอบการให้เงินโบนัสสำหรับครู (merit pay) ในรูปแบบการเสีย (แทนที่จะได้) จะมีประสิทธิผลที่ดีกว่า งานวิจัยนี้ทำในเมือง Chicago Heights ในโรงเรียน 9 แห่งที่อยู่ในเมือง รวมนักเรียนทั้งหมด 3,200 คน มีคุณครู 150 จาก 160 คนที่มีสิทธิ ได้เข้าร่วมในงานวิจัยนี้ และมีการจัดให้อยู่ในกลุ่มการทดลอง 4 กลุ่มและกลุ่มควบคุมอีก 1 กลุ่ม กลุ่มควบคุมได้รับเงินโบนัสตามที่ให้กันทั่ว ๆ ไปขึ้นอยู่กับคะแนนสอบปลายปีของนักเรียน ส่วนกลุ่มทดลองได้รับเงินโบนัสทั้งหมดที่ต้นปี ซึ่งอาจจะต้องจ่ายคืนโดยขึ้นอยู่กับคะแนนสอบของนักเรียนเช่นกัน เงินโบนัสมีค่าประมาณ 8% ของเงินปีเฉลี่ยของครูในเมืองนั้น ซึ่งมีค่าประมาณ $8,000

ดังนั้น คุณครูทั้งที่ "ได้" และ "เสีย" ล้วนแต่จะได้เงินโบนัสเท่ากันสำหรับคะแนนสอบนักเรียนที่เท่ากัน ความแตกต่างมีเพียงแต่เวลาที่ได้เงินโบนัสและการวางกรอบว่าเป็นการได้หรือการเสีย ในกลุ่มทดลอง นักวิจัยพบผลที่ดีกว่าเกิน 0.20 ของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และอาจสูงถึง 0.398 ของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ซึ่งนักวิจัยตีความว่า "นี่บอกเป็นนัยว่า มีความเป็นไปได้ในระดับสูงที่จะใช้ (ปรากฏการณ์)การหลีกเลี่ยงการเสีย ทั้งในการตั้งนโยบายสาธารณะและในการทำงานเพื่อผลกำไร"

แต่ว่าการจ่ายเงินโบนัสโดยใช้การหลีกเลี่ยงการเสีย โดยเฉพาะในการศึกษา ได้สร้างความตื่นอกตื่นใจทั้งในบล็อกและในสื่ออื่น ๆ โดยมีการกล่าวต่าง ๆ เช่นดังต่อไปนี้ว่า

  • "โปรแกรมการจ่ายเงินโบนัสให้คุณครูไม่ควรจะจัดให้มีการแข่งขันกันเองเพื่อที่จะให้ได้ผล" และวิจารณ์ว่า การให้เงินโบนัสโดยเป็นบุคคลและโดยเป็นกลุ่มจะไม่มีผลแตกต่างกันมาก (หนังสือพิมพ์วอชิงตันโพสต์)
  • งานวิจัยแสดงว่า "นักเรียนทำข้อสอบได้ดีขึ้นถึง 10% เทียบกับนักเรียนที่มีพื้นเพการศึกษาเดียวกันถ้าคุณครูได้รับเงินโบนัสต้นปีที่มีเงื่อนไข" และแสดงว่า นักเรียนไม่ได้อะไรถ้าคุณครูได้รับเงินโบนัสสิ้นปี (Science Daily)
  • "มีข้อจำกัดที่สำคัญในงานศึกษานี้ โดยเฉพาะในเรื่องขอบเขตและขนาดตัวอย่าง และการวัดผลทำกับการสอบที่มีส่วนได้ส่วนเสียน้อย ไม่ใช่การสอบระดับรัฐ (คือการสอบที่ตรวจสอบไม่ค่อยสำคัญ)" (Education weekly)
  • "การให้เงินโบนัสกับครูเองก็แย่อยู่แล้ว แต่ว่า กลยุทธ์ที่ใช้วิธีเอาเงินคืนยังน่าเกลียดยิ่งกว่านั้น"

นอกจากนั้นแล้ว ดร. คาฮ์นะมันกับเพื่อนร่วมงานยังได้แสดงขอบเขตจำกัดของการหลีกเลี่ยงการเสียไว้อีกด้วย โดยเพ่งเล็งความสนใจไปที่เจตนาของแต่ละคน แล้วแสดงว่าเจตนาอาจจะสนับสนุนหรือกีดกันการหลีกเลี่ยงการเสีย พวกเขากล่าวว่า "การเข้ารหัสว่าเป็นการได้หรือการเสียขึ้นอยู่กับเจตนาของบุคคล ไม่ใช่ขึ้นอยู่กับภาวะที่เป็นปรวิสัยในขณะที่ทำการตัดสินใจเพียงอย่างเดียว" แล้วให้ตัวอย่างหนึ่งที่บุคคลสองคนมีเจตนาต่างกันเมื่อทำการซื้อขาย คนแรกเป็นผู้บริโภคที่มีรองเท้าคู่หนึ่งซึ่งการสละรองเท้าจะเป็นการเสีย เพราะว่าเขามีเจตนาที่จะเก็บรองเท้า แต่อีกคนหนึ่งเป็นคนขายรองเท้าที่มีเจตนาต้องการขายรองเท้า และจะไม่มีการหลีกเลี่ยงการเสียถ้าต้องสละรองเท้าในการขาย

เชิงอรรถ

  1. บทความเดิม "the allocation of resources will be independent of the assignment of property rights when costless trades are possible":1326

อ้างอิง

  1. aversion แปลเป็นการหลีกเลี่ยงตามความหมาย "a tendency to avoid" Merriam-Webster Collegiate Dictionary, 11th Edition. Springfield, Massachusetts, USA: Merriam-Webster, Inc. 2003. a tendency to extinguish a behavior or to avoid a thing or situation and especially a usually pleasurable one because it is or has been associated with a noxious stimulus
  2. Kahneman, D. and Tversky, A. (1984). "Choices, Values, and Frames" (PDF). American Psychologist. 39 (4): 341–350. doi:10.1037/0003-066x.39.4.341.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  3. Dawes, J. (2004). "Price Changes and Defection Levels in a Subscription-type Market: Can an Estimation Model Really Predict Defection Levels?". Journal of Services Marketing. 18 (1): 35–44. doi:10.1108/08876040410520690.
  4. Kahneman, D.; Knetsch, J.; Thaler, R. (1990). "Experimental Test of the endowment effect and the Coase Theorem". Journal of Political Economy. 98 (6): 1325–1348. doi:10.1086/261737. JSTOR 2937761.
  5. Erev, I.; Ert, E.; Yechiam, E. (2008). "Loss aversion, diminishing sensitivity, and the effect of experience on repeated decisions". Journal of Behavioral Decision Making. 21 (5): 575–597. doi:10.1002/bdm.602.
  6. Ert, E.; Erev, I. (2008). "The rejection of attractive gambles, loss aversion, and the lemon avoidance heuristic". Journal of Economic Psychology. 29 (5): 715–723. doi:10.1016/j.joep.2007.06.003.
  7. Harinck, F.; Van Dijk, E.; Van Beest, I.; Mersmann, P. (2007). "When gains loom larger than losses: Reversed loss aversion for small amounts of money". Psychological Science. 18 (12): 1099–1105. doi:10.1111/j.1467-9280.2007.02031.x.
  8. Kermer, D. A.; Driver-Linn, E.; Wilson, T. D.; Gilbert, D. T. (2006). "Loss aversion is an affective forecasting error". Psychological Science. 17 (8): 649–653. doi:10.1111/j.1467-9280.2006.01760.x. PMID 16913944.
  9. Nicolau, J. L. (2012). "Battle Royal: Zero-price effect vs relative vs referent thinking". Marketing Letters. 23 (3): 661–669. doi:10.1007/s11002-012-9169-2.
  10. Yechiam & Telpaz, in press
  11. Hochman, G.; Yechiam, E. (2011). "Loss aversion in the eye and in the heart: The Autonomic Nervous System's responses to losses". Journal of Behavioral Decision Making. 24 (2): 140–156. doi:10.1002/bdm.692.
  12. Yechiam, E.; Hochman, G. (2013). "Losses as modulators of attention: Review and analysis of the unique effects of losses over gains". Psychological Bulletin. 139 (2): 497–518. doi:10.1037/a0029383.
  13. Gal, D. (2006). "A psychological law of inertia and the illusion of loss aversion". Judgment and Decision Making. 1 (1): 23–32.
  14. Dubner, Stephen J.; Levitt, Steven D. (2005-06-05). "Monkey Business". Freakonomics column. เดอะนิวยอร์กไทมส์. สืบค้นเมื่อ 2010-08-23.
  15. How You Really Make Decisions (Series 2013-2014 No.9) (MP4). Horizon (BBC TV series). สืบค้นเมื่อ 2015-03-06.[ลิงก์เสีย]
  16. Silberberg, A.; และคณะ (2008). "On loss aversion in capuchin monkeys". Journal of the Experimental Analysis of Behavior. 89 (2): 145–155. doi:10.1901/jeab.2008.89-145. Explicit use of et al. in: |last2= (help)
  17. "PISA 2009 Results: What Students Know and Can Do: Student Performance in Reading, Mathematics and Science (Volume I)". 2009.
  18. "PISA 2009 Results: What Students Know and Can Do: Student Performance in Reading, Mathematics and Science (Volume I) - © OECD 2011" (XLS). สืบค้นเมื่อ 2015-04-07.
  19. Fryer; และคณะ (2012). (PDF). Harvard University. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2012-09-15. สืบค้นเมื่อ 2015-04-22. this suggests that there may be significant potential for exploiting loss aversion in the pursuit of both optimal public policy and the pursuit of profits Explicit use of et al. in: |author= (help)
  20. "Does teacher merit pay work? A new study says yes". Washington Post. 2012-07-23.
  21. "Student Scores Improve If Teachers Given Incentives Upfront". Science Daily. 2012-08-08.
  22. Amber M. Winkler, Ph.D. (2012-08-02). "Enhancing the Efficacy of Teacher Incentives through Loss Aversion: A Field Experiment". Education weekly.
  23. ""If you only have a hammer, you tend to see every problem as a nail" — Economists Go After Schools Again".
  24. Novemsky, Nathan; Kahneman, Daniel (May 2005). (PDF). Journal of Marketing Research. XLII: 119–128. doi:10.1509/jmkr.42.2.119.62292. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2014-10-10. สืบค้นเมื่อ 2015-04-22.

แหล่งที่มา

  • Kahneman, D.; Knetsch, J.; Thaler, R. (1990). "Experimental Test of the endowment effect and the Coase Theorem". Journal of Political Economy. 98 (6): 1325–1348. doi:10.1086/261737. JSTOR 2937761.
  • Kahneman, D.; Tversky, A. (1979). "Prospect Theory: An Analysis of Decision under Risk". Econometrica. 47 (2): 263–291. JSTOR 1914185.
  • McGraw, A. P.; Larsen, J. T.; Kahneman, D.; Schkade, D. (2010). "Comparing gains and losses". Psychological Science. 21 (10): 1438–1445. doi:10.1177/0956797610381504.
  • Tversky, D.; Kahneman (1991). "Loss Aversion in Riskless Choice: A Reference Dependent Model". Quarterly Journal of Economics. 106 (4): 1039–1061. doi:10.2307/2937956.
  • Yechiam, E.; Telpaz, A. (2013). "Losses Induce Consistency in Risk Taking Even Without Loss Aversion". Journal of Behavioral Decision Making. 26 (1): 31–40. doi:10.1002/bdm.758.

การหล, กเล, ยงการเส, ในการศ, กษาเก, ยวก, บเศรษฐศาสตร, และทฤษฎ, การต, ดส, นใจ, decision, theory, งกฤษ, loss, aversion, หมายถ, งความโน, มเอ, ยงท, เราจะป, องก, นความส, ญเส, มากกว, าท, เราจะพยายามให, ได, ผลกำไร, งานว, ยโดยมากแสดงว, โดยทางความร, กทางจ, ตใจแล, การส,. inkarsuksaekiywkbesrsthsastraelathvsdikartdsinic decision theory karhlikeliyngkaresiy 1 xngkvs loss aversion hmaythungkhwamonmexiyngthieracapxngknkhwamsuyesiy makkwathieracaphyayamihidphlkair nganwicyodymakaesdngwa odythangkhwamrusukthangciticaelw karsuyesiymixanacmakkwakaridpramansxngetha txngkarxangxing nkcitwithyachawxemriknaedeniyl khahnamn aelaxamxs thewxrski aesdnghlkthankhxngkarhlikeliyngkaresiyepnkhrngaerkinpi kh s 1984 2 aedeniyl khahnamn phuidrbrangwlonebl sakhaesrsthsastr kh s 2002 khwamonmexiyngnicanaipsukarhlikeliyngkhwamesiyng risk aversion sungepnaenwkhidkhxngsakhaesrsthsastraelakarengin insthankarnthikaridkaresiymioxkasetha kn ephraaerachxbicthicahlikeliyngkaresiymakkwathicaidkhwamonmexiyngnixaccaxthibaypraktkarnkartdsinicephuxphlthicaidinxnakhtodykhanungthungtnthunthicmipaelw sunk cost sungepnkarphicarnathiimsmehtuphlxikdwy khuxkarphicarnathismehtuphlcakhanungwa eratxngesiyenginthunethairintxnniephuxcaidphlthicaidinxnakht odyimkhanungthungkarlngthunthithaipaelwinxdit thvsdiniphyakrnwa khnthiesiyengin 100 bathcaesiyicmakkwakhnthiidengin 100 bathcadiic inkartlad miklyuththkarkhaykhxngodyihthdlxngichepnchwngewlacakd aelaodyihswnldthitxngsngexksarihkbbristh rebate epnklxubaythixasykhwamonmexiyngkhxngphubriophkhthiihkhakbphlitphnthmakkwaemuxidichinchiwitpracawnaelw khxmulephimetim praktkarnkarwangkrxb ihsngektwa karsuxthimikarwangkrxbihepnkaresiyhruxkaridepneruxngsakhyekiywkbkhwamonmexiyngni echneraxyakcaidswnld 100 bathmakkwa hruxwaxyakcahlikeliyngkaresiykhathrrmeniym 100 bathmakkwa thiphbkkhux aemwacamirakhaediywknepnphlthisud aetkarsuxkhaythipraktepnkaridhruxkaresiy camiphlxyangsakhytxphvtikrrmkhxngphubriophkh aetephraawa nkesrsthsastrthwipphicarna endowment effect praktkarnthikarpraeminmulkhakhxngsingkhxngephimkhunephraakhwamepnecakhxng aelapraktkarnxun thiekiywenuxngkbkarhlikeliyngkaresiywa epnsingthiimsmehtuphl dngnn karhlikeliyngkaresiycungepnpraktkarnthisakhymakinsakhakartladaelacitwithyakarengin inkartlad mihlkthanaesdnginngansuksaptikiriyakhxngphubriophkhtxkarepliynaeplngebiypraknkhxngpraknphy 3 khuxphbwa karephimebiypraknmiphlepnphubriophkhepliynbristhmakkwakarldebiypraknthungsxngetha enuxha 1 karhlikeliyngkaresiyaelapraktkarnkhwamepnecakhxng 2 praktkarnhlikeliyngkaresiymicring hruxim 3 karhlikeliyngkaresiyinstw 4 karhlikeliyngkhwamesiyinkarsuksa 5 echingxrrth 6 xangxing 7 aehlngthimakarhlikeliyngkaresiyaelapraktkarnkhwamepnecakhxng aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidinpi kh s 1990 dr khahnamnaelakhnaepnphwkaerkthiesnxthvsdikarhlikeliyngkaresiy odyepnkhaxthibaykhxng endowment effect praktkarnkhwamepnecakhxng thieratngmulkhaihkbsingkhxngthieraepnecakhxng makkwakhxngehmuxnknthieraimidepnecakhxng 4 praktkarnkarhlikeliyngkaresiyaelapraktkarnkhwamepnecakhxng thaihthvsdi Coase theorem imepncring ephraathvsdiphyakrnwa karcdsrrthrphyakrcaepnxisracakkartngwaikhrepnecakhxng emuxkaraelkepliynthiimmikhaichcayepnipid khuxemuxkhxngthiaelkmimulkhaethakn khwrcaaelkkhxngidxyangxisraodythikhwamepnecakhxngcaimmiphl A aephnphumiesnaesdngxupsngkhaelaxupthanthwip innganthdlxnghlayngan phuthanganwicyaesdngwa karhlikeliyngkaresiysamarthichepnthvsdixthibaypraktkarnkhwamepnecakhxngid odyethiybkbkhaxthibayxun 5 xyangthiimsamarth rwmthng 1 khaichcayinthurkrrm transaction costs 2 khwamekhaicphid 3 phvtikrrmtxrxngthiepnnisy 4 income effect khwamepliynaeplngkhxngkarbriophkhthiekidenuxngcakkhwamepliynaeplngkhxngrayidthiaethcring or 5 trophy effect praktkarnthiephimmulkhaihkbsingkhxngthiephimsthanathangsngkhm innganthdlxngaetlangan phurwmkarthdlxngkhrunghnungcaidrbsinkhaodysum aelwthamthungcanwnenginxyangtathisudthicakhaysingnn swnphurwmkarthdlxngthiehluxcaimidxair aelwthamthungcanwnenginxyangsungthisudthicasuxsingnn enuxngcakwa sinkhanimirakhaesthiyr aelakarpraeminmulkhasinkhacatangipcakrakhaniephraaehtuaehngkarchktwxyangethann dngnn aephnphumiesnaesdngxupsngkhaelaxupthankhwrthicasathxnknaelakn aelakhwrthicaekidkarsuxkhaysinkhacanwnkhrunghnung nxkcaknnaelw phuthanganwicyyngkacdkhaxthibaywaphurwmkarthdlxngkhadprasbkarnkhakhay odyihthakarkhakhaycha kn phlkarthdlxngphbwa phukhaytngrakhathitxngkarkhaysungkwaphusuxtxngkarsuxinradbsung sungphuthanganwicyykwamiphlmacakkarhlikeliyngkaresiy imichepnephraaehtuxun thitrwcsxbpraktkarnhlikeliyngkaresiymicring hruxim aekikhminganwicytang erimtngaetpi kh s 2008 thitngkhwamsngsywa praktkarnhlikeliyngkaresiymicring hruxim innganhlaynganthitrwcsxbpraktkarnkaresiyinkartdsinicphayitkhwamesiyngaelakhwamimaennxn nkwicyimphbkarhlikeliyngkaresiy 5 6 7 8 9 10 mikhaxthibayhlayxyangsahrbnganthiklawmani rwmthng praktkarnhlikeliyngkaresiycaimmi thaswnidswnesiymikhanxy praktkarnhlikeliyngkaresiyminythwipinradbthinxykwathikhidiw karesiyxaccamiphltxkhwamisicaetimmiphltxkarchngphlthicaid khuxmikarphbwa aemwacaimmikarhlikeliyngkaresiy aetwakaresiykyngsrangkhwamtuntwxtonwti thixyuitcitsanukkhwbkhumimid makkwakarid 11 praktkarnhlngsudthiklawmanibangkhrngruckknwa Loss Attention khwamisicinkaresiy 12 karhlikeliyngkaresiy loss aversion aelapraktkarnkhwamepnecakhxng endowment effect mkcamikarsbsnkn khux phlnganwicyinpi kh s 2006 xangwa praktkarnkhwamepnecakhxngthiidxangsub knmawamikarhlikeliyngkaresiyepnehtu samarthxthibayidngaykwawamiehtucakkhwamechuxythangprachan cognitive inertia imichcakkhwamimsmmatrrahwangkaridkaresiy 13 karhlikeliyngkaresiyinstw aekikhinpi kh s 2005 mikarthdlxngthithdsxbkhwamsamarthkhxnglingolkihmwngsyxy Cebinae xngkvs Capuchin monkey inkarich engin hlngcakidrbkarfukepnewlahlayeduxn lingerimcaaesdngphvtikrrmthisathxnkhwamekhaicaenwkhidineruxngsuxklanginkaraelkepliyn khuxengin aelalingkmikhwamonmexiyngthicahlikeliyngkaresiydngthiphbinmnusyphrxmkbphwknklngthun 14 duphaphyntrphasaxngkvskhxng BBC 15 aetwa minganwicyinpi kh s 2008 thiesnxwa phlthiphbinpi kh s 2005 imidekidcakkarhlikeliyngkaresiy aetekidcakkhwamlachathiimethakn inkaraesdngphlthimikaresiyaelaphlthimikaridihlingdu ephraawa karesiymikhwamlachamakkwa dngnn phlthiphbxaccatikhwamidwaepn karhlikeliyngkhwamlacha 16 khuxlingicrxn karhlikeliyngkhwamesiyinkarsuksa aekikhmikarthdlxngichkarhlikeliyngkhwamesiyephuxprbprungphlthiidinrabbkarsuksainpraethsshrthxemrika odymiphunephwa inkarpraeminphlkarsuksakhxng Programme for International Student Assessment opraekrmkarpraeminnkeriynnanachati inpi kh s 2009 shrthxemrikacdxndbepnthi 31 inwichakhnitsastr 17 aelaxndbthi 17 inkarxan 18 innganwicyphimphinpi kh s 2012 nkwicythimhawithyalyharwardmismmutithanwa karwangkrxbkarihenginobnssahrbkhru merit pay inrupaebbkaresiy aethnthicaid camiprasiththiphlthidikwa nganwicynithainemuxng Chicago Heights inorngeriyn 9 aehngthixyuinemuxng rwmnkeriynthnghmd 3 200 khn mikhunkhru 150 cak 160 khnthimisiththi idekharwminnganwicyni aelamikarcdihxyuinklumkarthdlxng 4 klumaelaklumkhwbkhumxik 1 klum klumkhwbkhumidrbenginobnstamthiihknthw ipkhunxyukbkhaaennsxbplaypikhxngnkeriyn swnklumthdlxngidrbenginobnsthnghmdthitnpi sungxaccatxngcaykhunodykhunxyukbkhaaennsxbkhxngnkeriynechnkn enginobnsmikhapraman 8 khxngenginpiechliykhxngkhruinemuxngnn sungmikhapraman 8 000dngnn khunkhruthngthi id aela esiy lwnaetcaidenginobnsethaknsahrbkhaaennsxbnkeriynthiethakn khwamaetktangmiephiyngaetewlathiidenginobnsaelakarwangkrxbwaepnkaridhruxkaresiy inklumthdlxng nkwicyphbphlthidikwaekin 0 20 khxngkhaebiyngebnmatrthan aelaxacsungthung 0 398 khxngkhaebiyngebnmatrthan sungnkwicytikhwamwa nibxkepnnywa mikhwamepnipidinradbsungthicaich praktkarn karhlikeliyngkaresiy thnginkartngnoybaysatharnaaelainkarthanganephuxphlkair 19 aetwakarcayenginobnsodyichkarhlikeliyngkaresiy odyechphaainkarsuksa idsrangkhwamtunxktunicthnginblxkaelainsuxxun odymikarklawtang echndngtxipniwa opraekrmkarcayenginobnsihkhunkhruimkhwrcacdihmikaraekhngkhnknexngephuxthicaihidphl aelawicarnwa karihenginobnsodyepnbukhkhlaelaodyepnklumcaimmiphlaetktangknmak hnngsuxphimphwxchingtnophst 20 nganwicyaesdngwa nkeriynthakhxsxbiddikhunthung 10 ethiybkbnkeriynthimiphunephkarsuksaediywknthakhunkhruidrbenginobnstnpithimienguxnikh aelaaesdngwa nkeriynimidxairthakhunkhruidrbenginobnssinpi Science Daily 21 mikhxcakdthisakhyinngansuksani odyechphaaineruxngkhxbekhtaelakhnadtwxyang aelakarwdphlthakbkarsxbthimiswnidswnesiynxy imichkarsxbradbrth khuxkarsxbthitrwcsxbimkhxysakhy Education weekly 22 karihenginobnskbkhruexngkaeyxyuaelw aetwa klyuthththiichwithiexaenginkhunyngnaekliydyingkwann 23 nxkcaknnaelw dr khahnamnkbephuxnrwmnganyngidaesdngkhxbekhtcakdkhxngkarhlikeliyngkaresiyiwxikdwy odyephngelngkhwamsnicipthiectnakhxngaetlakhn aelwaesdngwaectnaxaccasnbsnunhruxkidknkarhlikeliyngkaresiy phwkekhaklawwa karekharhswaepnkaridhruxkaresiykhunxyukbectnakhxngbukhkhl imichkhunxyukbphawathiepnprwisyinkhnathithakartdsinicephiyngxyangediyw aelwihtwxyanghnungthibukhkhlsxngkhnmiectnatangknemuxthakarsuxkhay khnaerkepnphubriophkhthimirxngethakhuhnungsungkarslarxngethacaepnkaresiy ephraawaekhamiectnathicaekbrxngetha aetxikkhnhnungepnkhnkhayrxngethathimiectnatxngkarkhayrxngetha aelacaimmikarhlikeliyngkaresiythatxngslarxngethainkarkhay 24 echingxrrth aekikh bthkhwamedim the allocation of resources will be independent of the assignment of property rights when costless trades are possible 4 1326xangxing aekikh aversion aeplepnkarhlikeliyngtamkhwamhmay a tendency to avoid Merriam Webster Collegiate Dictionary 11th Edition Springfield Massachusetts USA Merriam Webster Inc 2003 a tendency to extinguish a behavior or to avoid a thing or situation and especially a usually pleasurable one because it is or has been associated with a noxious stimulus Kahneman D and Tversky A 1984 Choices Values and Frames PDF American Psychologist 39 4 341 350 doi 10 1037 0003 066x 39 4 341 CS1 maint multiple names authors list link Dawes J 2004 Price Changes and Defection Levels in a Subscription type Market Can an Estimation Model Really Predict Defection Levels Journal of Services Marketing 18 1 35 44 doi 10 1108 08876040410520690 4 0 4 1 Kahneman D Knetsch J Thaler R 1990 Experimental Test of the endowment effect and the Coase Theorem Journal of Political Economy 98 6 1325 1348 doi 10 1086 261737 JSTOR 2937761 Erev I Ert E Yechiam E 2008 Loss aversion diminishing sensitivity and the effect of experience on repeated decisions Journal of Behavioral Decision Making 21 5 575 597 doi 10 1002 bdm 602 Ert E Erev I 2008 The rejection of attractive gambles loss aversion and the lemon avoidance heuristic Journal of Economic Psychology 29 5 715 723 doi 10 1016 j joep 2007 06 003 Harinck F Van Dijk E Van Beest I Mersmann P 2007 When gains loom larger than losses Reversed loss aversion for small amounts of money Psychological Science 18 12 1099 1105 doi 10 1111 j 1467 9280 2007 02031 x Kermer D A Driver Linn E Wilson T D Gilbert D T 2006 Loss aversion is an affective forecasting error Psychological Science 17 8 649 653 doi 10 1111 j 1467 9280 2006 01760 x PMID 16913944 Nicolau J L 2012 Battle Royal Zero price effect vs relative vs referent thinking Marketing Letters 23 3 661 669 doi 10 1007 s11002 012 9169 2 Yechiam amp Telpaz in press Hochman G Yechiam E 2011 Loss aversion in the eye and in the heart The Autonomic Nervous System s responses to losses Journal of Behavioral Decision Making 24 2 140 156 doi 10 1002 bdm 692 Yechiam E Hochman G 2013 Losses as modulators of attention Review and analysis of the unique effects of losses over gains Psychological Bulletin 139 2 497 518 doi 10 1037 a0029383 Gal D 2006 A psychological law of inertia and the illusion of loss aversion Judgment and Decision Making 1 1 23 32 Dubner Stephen J Levitt Steven D 2005 06 05 Monkey Business Freakonomics column edxaniwyxrkithms subkhnemux 2010 08 23 How You Really Make Decisions Series 2013 2014 No 9 MP4 Horizon BBC TV series subkhnemux 2015 03 06 lingkesiy Silberberg A aelakhna 2008 On loss aversion in capuchin monkeys Journal of the Experimental Analysis of Behavior 89 2 145 155 doi 10 1901 jeab 2008 89 145 Explicit use of et al in last2 help PISA 2009 Results What Students Know and Can Do Student Performance in Reading Mathematics and Science Volume I 2009 PISA 2009 Results What Students Know and Can Do Student Performance in Reading Mathematics and Science Volume I c OECD 2011 XLS subkhnemux 2015 04 07 Fryer aelakhna 2012 Enhancing the efficacy of teacher incentives through loss aversion PDF Harvard University khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2012 09 15 subkhnemux 2015 04 22 this suggests that there may be significant potential for exploiting loss aversion in the pursuit of both optimal public policy and the pursuit of profits Explicit use of et al in author help Does teacher merit pay work A new study says yes Washington Post 2012 07 23 Student Scores Improve If Teachers Given Incentives Upfront Science Daily 2012 08 08 Amber M Winkler Ph D 2012 08 02 Enhancing the Efficacy of Teacher Incentives through Loss Aversion A Field Experiment Education weekly If you only have a hammer you tend to see every problem as a nail Economists Go After Schools Again Novemsky Nathan Kahneman Daniel May 2005 The Boundaries of Loss Aversion PDF Journal of Marketing Research XLII 119 128 doi 10 1509 jmkr 42 2 119 62292 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2014 10 10 subkhnemux 2015 04 22 aehlngthima aekikhKahneman D Knetsch J Thaler R 1990 Experimental Test of the endowment effect and the Coase Theorem Journal of Political Economy 98 6 1325 1348 doi 10 1086 261737 JSTOR 2937761 Kahneman D Tversky A 1979 Prospect Theory An Analysis of Decision under Risk Econometrica 47 2 263 291 JSTOR 1914185 McGraw A P Larsen J T Kahneman D Schkade D 2010 Comparing gains and losses Psychological Science 21 10 1438 1445 doi 10 1177 0956797610381504 Tversky D Kahneman 1991 Loss Aversion in Riskless Choice A Reference Dependent Model Quarterly Journal of Economics 106 4 1039 1061 doi 10 2307 2937956 Yechiam E Telpaz A 2013 Losses Induce Consistency in Risk Taking Even Without Loss Aversion Journal of Behavioral Decision Making 26 1 31 40 doi 10 1002 bdm 758 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karhlikeliyngkaresiy amp oldid 9706016, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม