fbpx
วิกิพีเดีย

การเรียกชื่อสารเคมีตามระบบสต็อก

การเรียกชื่อสารเคมีระบบสต็อก (อังกฤษ: Stock nomenclature) เป็นระบบการเรียกชื่อสารอนินทรีย์ที่ถูกใช้อย่างแพร่หลายในประเทศต่างๆทั่วโลก โดยระบบการเรียกชื่อนี้ถูกเสนอและพัฒนาขึ้นโดย อัลเฟรด สต็อก (Alfred Stock) นักเคมีชาวเยอรมันในปี ค.ศ. 1919 ในระบบสต็อกจะมีการระบุสถานะออกซิเดชันของธาตุบางชนิดหรือธาตุทั้งหมดโดยใช้ตัวเลขโรมันในวงเล็บ

ประวัติ

อัลเฟรด สต็อก นักเคมีชาวเยอรมันผู้บุกเบิกในงานด้านเคมีของโบรอนและซิลิคอนไฮไดรด์ เขาที่รู้จักในทางเคมีศึกษา(chemical education) และการเรียกชื่อสาร (chemical nomenclature) สต็อกเป็นนักเคมีคนแรกที่เรียกสารประกอบไฮไดรด์ของโบรอนและซิลิคอนว่า โบเรน (borane) และ ไซเลน (silane) ตามลำดับ

ในช่วงทศวรรษ 1900 โรเซนเฮม (Rosenheim) และ คอปเพล (Koppel) ได้เสนอระบบการอ่านชื่อสารเคมีโดยใช้เลขอารบิกในการบอกจำนวนอะตอมในสารประกอบธาตุคู่ (binary compounds) เช่น Fe2O3 อ่านว่า 2-ไอร์ออน 3-ออกไซด์ (2-iron 3-oxide) จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1919 อัลเฟรด สต็อก ได้เสนอหลักการเรียกชื่อสารเคมีขึ้นใหม่ เรียกว่า ระบบสต็อก (Stock system)

สต็อกเป็นนักเคมีคนแรกๆที่ศึกษาเรื่องการกำหนดสถานะออกซิเดชันของธาตุให้ชัดเจนอย่างจริงจัง ก่อนหน้านั้นการเรียกชื่อสารที่ประกอบด้วยธาตุที่มีสถานะออกซิเดชันหลายค่ายังเป็นการใช้คำลงท้ายชื่อไอออนบวกว่า -อัส (-ous) สำหรับอะตอมที่มีสถานะออกซิเดชันต่ำกว่า และใช้คำลงท้ายว่า -อิก (-ic) สำหรับอะตอมที่มีสถานะออกซิเดชันสูงกว่า ซึ่งระบบเดิมนี้มีข้อจำกัดที่ใช่อ่านชื่อได้สำหรับธาตุที่มีสถานะออกซิเดชันได้สองค่าเท่านั้น

วิธีการเรียกชื่อสารเคมีตามระบบสต็อก

หลักการโดยทั่วไป

สำหรับระบบที่สต็อกเสนอขึ้นใหม่จะใช้เลขโรมันในวงเล็บระบุสถานะออกซิเดชันของธาตุอะตอมกลาง (ดังตารางข้างล่าง) ซึ่งระบบนี้ สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ (IUPAC) ได้ให้การยอมรับเป็นหนึ่งในวิธีเรียกชื่อสารเคมีสากล อย่างไรก็ตาม การเขียนตัวเลขโรมันเพื่อระบุสถานะออกซิเดชันจะใช้กับสารประกอบของธาตุที่มีสถานะออกซิเดชันได้หลายค่าเท่านั้น

สูตร ชื่อตามระบบเดิม ชื่อตามระบบสต็อก ชื่อตามระบบ IUPAC
แบบใช้ประจุ แบบปริมาณสัมพันธ์ แบบระบุสถานะออกซิเดชัน
PCl3 ฟอสฟอรัสคลอไรด์
Phosphorous chloride
ฟอสฟอรัส(III) คลอไรด์
Phosphorus(III) chloride
ฟอสฟอรัส(+3) คลอไรด์
Phosphorus(+3) chloride
ฟอสฟอรัสไตรคลอไรด์
Phosphorus trichloride
ฟอสฟอรัส(III) คลอไรด์
Phosphorus(V) chloride
PCl5 ฟอสฟอริกคลอไรด์
Phosphoric chloride
ฟอสฟอรัส(V) คลอไรด์
Phosphorus(V) chloride
ฟอสฟอรัส(+5) คลอไรด์
Phosphorus(+5) chloride
ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์
Phosphorus pentachloride
ฟอสฟอรัส(V) คลอไรด์
Phosphorus(V) chloride
FeCl2 เฟอร์รัสคลอไรด์
Ferrous chloride
ไอร์ออน(II) คลอไรด์
Iron(II) chloride
ไอร์ออน(+2) คลอไรด์
Iron(+2) chloride
ไอร์ออนไดคลอไรด์
Iron dichloride
ไอร์ออน(II) คลอไรด์
Iron(II) chloride
FeCl3 เฟอร์รัสคลอไรด์
Ferrous chloride
ไอร์ออน(III) คลอไรด์
Iron(III) chloride
ไอร์ออน(+3) คลอไรด์
Iron(+3) chloride

ไอร์ออนไตรคลอไรด์
Iron trichloride
ไอร์ออน(III) คลอไรด์
Iron(III) chloride

หลักการเขียนและอ่านออกเสียง

การเขียนชื่อ

สารประกอบทั่วไป

การเขียนระบุสถานะออกซิเดชันจะใช้ตัวเลขโรมันในวงเล็บ โดยเขียนชิดกับชื่อธาตุ เช่น

  • FeCl2 ให้เขียน ไอร์ออน(II) คลอไรด์ ไม่เขียน ไอร์ออน (II) คลอไรด์
  • [Co(NH3)6]Cl3 ให้เขียน เฮกซะแอมมีนโคบอลต์(III) คลอไรด์ ไม่เขียน เฮกซะแอมมีนโคบอลต์ (III) คลอไรด์ เป็นต้น

เนื่องจากไม่มีเลขศูนย์ในตัวเลขโรมัน หากสถานะออกซิเดชันเป็น 0 จะใช้ตัวเลขอารบิก 0 แสดงสถานะออกซิเดชัน

  • K4[Ni(CN)4] ชื่อว่า โพแทสเซียม เตตระไซยาโนนิเกเลต(0) เป็นต้น
สารประกอบสถานะออกซิเดชันผสม

สำหรับสารประกอบที่อะตอมที่มีสถานะออกซิเดชันหลายค่ามีสถานะออกซิเดชันผสม ให้ใช้เครื่องหมาย จุลภาค (,) คั่นกลางโดยเขียนเลขโรมันเรียงลำดับจากน้อยไปหามากโดยไม่เว้นเวรรค เขียนในวงเล็กและเขียนชิดกับชื่อธาตุ เช่น

  • Co3O4 ชื่อว่า โคบอลต์(II,III) ออกไซด์
  • Sb2O4 ชื่อว่า แอนติโมนี(III,V) ออกไซด์ เป็นต้น

การอ่านออกเสียง

การอ่านออกเสียงชื่อสารเคมีตามระบบสต็อก จะอ่านสถานะออกซิเดชันด้วยการนับจำนวนในภาษาอังกฤษโดยปกติ ได้แก่ 1, 2, 3, ... เป็น วัน, ทู, ทรี, ... ตัวอย่าง

  • ไอร์ออน(III) คลอไรด์ (Iron(III) chloride) อ่านออกเสียงว่า / ไอ-อ้อน-ทรี-คลอ-ราย /
  • คอปเปอร์(II) ซัลเฟต (Copper(II) sulphate) อ่านออกเสียงว่า / ค๊อบ-เป้อ-ทู-ซัน-เฝด / เป็นต้น

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. George B. Kauffman and Christian Klixbüll Jørgensen (1985), The origin and adoption of the Stock system, J. Chem. Educ.,62 (3), p 243.
  2. Robert C. Brasted (1958),Revised inorganic (Stock) nomenclature for the general chemistry student, J. Chem. Educ., 35 (3), p 136
  3. Stock, A. (1919), Einige Nomenklaturfragen der anorganischen Chemie. Angewandte Chemie, 32: 373–374.
  4. Richard M. Hartshorn, Karl-Heinz Hellwich, Andrey Yerin, Ture Damhus, Alan T. Hutton (2015), Brief guide to the nomenclature of inorganic chemistry, Pure and Applied Chemistry. 87, 9-10, 1039–1049
  5. N. G. Connelly, T. Damhus, R. M. Hartshorn (2005), Nomenclature of Inorganic Chemistry – IUPAC Recommendations 2005 (Red Book), A. T. Hutton (Eds.), Royal Society of Chemistry, Cambridge, U.K., ISBN 0-85404-438-8.
  6. W. C. Fernelius, Kurt Loening and Roy M. Adams (1972), Numbers in nomenclature, J. Chem. Educ., 49 (1), p 49

การเร, ยกช, อสารเคม, ตามระบบสต, อก, การเร, ยกช, อสารเคม, ระบบสต, อก, งกฤษ, stock, nomenclature, เป, นระบบการเร, ยกช, อสารอน, นทร, กใช, อย, างแพร, หลายในประเทศต, างๆท, วโลก, โดยระบบการเร, ยกช, อน, กเสนอและพ, ฒนาข, นโดย, ลเฟรด, สต, อก, alfred, stock, กเคม, ชาวเย. kareriykchuxsarekhmirabbstxk xngkvs Stock nomenclature epnrabbkareriykchuxsarxninthriythithukichxyangaephrhlayinpraethstangthwolk odyrabbkareriykchuxnithukesnxaelaphthnakhunody xlefrd stxk Alfred Stock nkekhmichaweyxrmninpi kh s 1919 inrabbstxkcamikarrabusthanaxxksiedchnkhxngthatubangchnidhruxthatuthnghmdodyichtwelkhormninwngelb enuxha 1 prawti 2 withikareriykchuxsarekhmitamrabbstxk 2 1 hlkkarodythwip 2 2 hlkkarekhiynaelaxanxxkesiyng 2 2 1 karekhiynchux 2 2 1 1 sarprakxbthwip 2 2 1 2 sarprakxbsthanaxxksiedchnphsm 2 2 2 karxanxxkesiyng 3 duephim 4 xangxingprawti aekikhxlefrd stxk nkekhmichaweyxrmnphubukebikinngandanekhmikhxngobrxnaelasilikhxnihidrd ekhathiruckinthangekhmisuksa chemical education aelakareriykchuxsar chemical nomenclature stxkepnnkekhmikhnaerkthieriyksarprakxbihidrdkhxngobrxnaelasilikhxnwa obern borane aela iseln silane tamladb 1 inchwngthswrrs 1900 oresnehm Rosenheim aela khxpephl Koppel idesnxrabbkarxanchuxsarekhmiodyichelkhxarbikinkarbxkcanwnxatxminsarprakxbthatukhu binary compounds echn Fe2O3 xanwa 2 ixrxxn 3 xxkisd 2 iron 3 oxide 2 cnkrathnginpi kh s 1919 xlefrd stxk idesnxhlkkareriykchuxsarekhmikhunihm eriykwa rabbstxk Stock system 3 stxkepnnkekhmikhnaerkthisuksaeruxngkarkahndsthanaxxksiedchnkhxngthatuihchdecnxyangcringcng kxnhnannkareriykchuxsarthiprakxbdwythatuthimisthanaxxksiedchnhlaykhayngepnkarichkhalngthaychuxixxxnbwkwa xs ous sahrbxatxmthimisthanaxxksiedchntakwa aelaichkhalngthaywa xik ic sahrbxatxmthimisthanaxxksiedchnsungkwa sungrabbedimnimikhxcakdthiichxanchuxidsahrbthatuthimisthanaxxksiedchnidsxngkhaethannwithikareriykchuxsarekhmitamrabbstxk aekikhhlkkarodythwip aekikh sahrbrabbthistxkesnxkhunihmcaichelkhormninwngelbrabusthanaxxksiedchnkhxngthatuxatxmklang dngtarangkhanglang sungrabbni shphaphekhmibrisuththiaelaekhmiprayuktrahwangpraeths IUPAC idihkaryxmrbepnhnunginwithieriykchuxsarekhmisakl 4 xyangirktam karekhiyntwelkhormnephuxrabusthanaxxksiedchncaichkbsarprakxbkhxngthatuthimisthanaxxksiedchnidhlaykhaethann sutr chuxtamrabbedim chuxtamrabbstxk chuxtamrabb IUPAC 5 aebbichpracu aebbprimansmphnth aebbrabusthanaxxksiedchnPCl3 fxsfxrskhlxirdPhosphorous chloride fxsfxrs III khlxirdPhosphorus III chloride fxsfxrs 3 khlxird Phosphorus 3 chloride fxsfxrsitrkhlxird Phosphorus trichloride fxsfxrs III khlxird Phosphorus V chloridePCl5 fxsfxrikkhlxirdPhosphoric chloride fxsfxrs V khlxirdPhosphorus V chloride fxsfxrs 5 khlxird Phosphorus 5 chloride fxsfxrsephntakhlxird Phosphorus pentachloride fxsfxrs V khlxird Phosphorus V chlorideFeCl2 efxrrskhlxirdFerrous chloride ixrxxn II khlxirdIron II chloride ixrxxn 2 khlxird Iron 2 chloride ixrxxnidkhlxird Iron dichloride ixrxxn II khlxirdIron II chlorideFeCl3 efxrrskhlxirdFerrous chloride ixrxxn III khlxirdIron III chloride ixrxxn 3 khlxird Iron 3 chloride ixrxxnitrkhlxird Iron trichloride ixrxxn III khlxirdIron III chloridehlkkarekhiynaelaxanxxkesiyng aekikh karekhiynchux aekikh sarprakxbthwip aekikh karekhiynrabusthanaxxksiedchncaichtwelkhormninwngelb 6 odyekhiynchidkbchuxthatu echn FeCl2 ihekhiyn ixrxxn II khlxird imekhiyn ixrxxn II khlxird Co NH3 6 Cl3 ihekhiyn ehksaaexmminokhbxlt III khlxird imekhiyn ehksaaexmminokhbxlt III khlxird epntnenuxngcakimmielkhsunyintwelkhormn haksthanaxxksiedchnepn 0 caichtwelkhxarbik 0 aesdngsthanaxxksiedchn K4 Ni CN 4 chuxwa ophaethsesiym ettraisyaonniekelt 0 epntnsarprakxbsthanaxxksiedchnphsm aekikh sahrbsarprakxbthixatxmthimisthanaxxksiedchnhlaykhamisthanaxxksiedchnphsm ihichekhruxnghmay culphakh khnklangodyekhiynelkhormneriyngladbcaknxyiphamakodyimewnewrrkh ekhiyninwngelkaelaekhiynchidkbchuxthatu echn Co3O4 chuxwa okhbxlt II III xxkisd Sb2O4 chuxwa aexntiomni III V xxkisd epntnkarxanxxkesiyng aekikh karxanxxkesiyngchuxsarekhmitamrabbstxk caxansthanaxxksiedchndwykarnbcanwninphasaxngkvsodypkti idaek 1 2 3 epn wn thu thri twxyang ixrxxn III khlxird Iron III chloride xanxxkesiyngwa ix xxn thri khlx ray khxpepxr II sleft Copper II sulphate xanxxkesiyngwa khxb epx thu sn efd epntnduephim aekikhsthanaxxksiedchn kareriykchuxsarekhmitamrabb IUPAC kareriykchuxsarxinthriytamrabb IUPAC kareriykchuxsarxninthriytamrabb IUPACxangxing aekikh George B Kauffman and Christian Klixbull Jorgensen 1985 The origin and adoption of the Stock system J Chem Educ 62 3 p 243 Robert C Brasted 1958 Revised inorganic Stock nomenclature for the general chemistry student J Chem Educ 35 3 p 136 Stock A 1919 Einige Nomenklaturfragen der anorganischen Chemie Angewandte Chemie 32 373 374 Richard M Hartshorn Karl Heinz Hellwich Andrey Yerin Ture Damhus Alan T Hutton 2015 Brief guide to the nomenclature of inorganic chemistry Pure and Applied Chemistry 87 9 10 1039 1049 N G Connelly T Damhus R M Hartshorn 2005 Nomenclature of Inorganic Chemistry IUPAC Recommendations 2005 Red Book A T Hutton Eds Royal Society of Chemistry Cambridge U K ISBN 0 85404 438 8 W C Fernelius Kurt Loening and Roy M Adams 1972 Numbers in nomenclature J Chem Educ 49 1 p 49 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title kareriykchuxsarekhmitamrabbstxk amp oldid 6400888, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม