fbpx
วิกิพีเดีย

ขั้นตอนวิธีโรห์ของพอลลาร์ด

ขั้นตอนวิธีโรห์ของพอลลาร์ด (อังกฤษ: Pollard's rho algorithm) เป็นขั้นตอนวิธีแบบสุ่มที่ใช้หาตัวประกอบของจำนวนประกอบที่มีค่ามาก โดยอาศัยคุณสมบัติของการหาร เพื่อให้หาตัวประกอบของเลขจำนวนนั้น ๆ ได้เร็ว ขั้นตอนวิธีนี้ จอห์น พอลลาร์ด (John Pollard) นำเสนอขึ้นในปี 1975 และต่อมา ริชาร์ด เบรนท์ (Richard Brent) ปรับปรุงในปี 1980

แนวความคิดหลัก

ขั้นตอนวิธีโรห์ของพอลลาร์ดมีพื้นฐานมาจาก ขั้นตอนวิธีการตรวจสอบการเกิดวงวนของฟลอยด์ (en:Floyd's cycle-finding algorithm) และ จากการสังเกตถึงคุณสมบัติของตัวเลขที่จะมีคุณสมบัติหนึ่งๆเหมือนกัน ซึ่งคล้ายกับในปัญหาวันเกิด ( en:Birthday problem, en:Birthday paradox ) นั่นคือ หากต้องการหาตัวเลข 2 ตัว x และ y ที่มีคุณสมบัติหารด้วยตัวเลข p แล้วมีเศษเหลือเท่ากัน หรือ x สมภาคกับ y มอดุโล p ( x congruent y modulo p ) จะมีความน่าจะเป็นเท่ากับ 0.5 หลังจากสุ่มตัวเลขมาแล้ว   ตัว หากให้ p เป็น ตัวประกอบหนึ่งของ n เมื่อ n คือตัวเลขที่ต้องการหาตัวประกอบ จะได้ว่า   เนื่องจาก p หาร   และ   ลงตัว

ขั้นตอนวิธีโรห์ จะใช้ f ฟังก์ชันมอดุโล n สำหรับการสร้างลำดับตัวเลขสุ่มเทียม (en:pseudo-random sequence) โดยลำดับทั้งสองจะมีความเร็วในการเลื่อนลำดับต่างกัน 2 เท่า กล่าวคือ ลำดับหนึ่งจะเลื่อนไป 2 ขั้น ในขณะที่อีกลำดับ จะเลื่อนไปเพียง 1 ขั้นเท่านั้น หากให้ x และ y เป็นตัวแทนสำหรับตัวเลขในลำดับทั้ง 2 ในขณะหนึ่ง จะทำการหาค่า ห.ร.ม. ( GCD ) ของ   และ   โดยถ้าหาก ห.ร.ม. มีค่า
- เท่ากับ n จะทำให้ขั้นตอนวิธีนี้จบการทำงานลงด้วยความผิดพลาด เนื่องจาก ห.ร.ม. จะมีค่าเท่ากับ n ได้ เมื่อ x = y ซึ่งจาก ขั้นตอนวิธีการตรวจสอบการเกิดวงวนของฟลอยด์ จะได้ว่า ลำดับที่สร้างได้พบกับวงวน และการทำงานในครั้งต่อๆไปก็จะเป็นการทำงานซ้ำเดิมกับงานที่เคยทำไปแล้ว
- เท่ากับ 1 แสดงว่า ยังหาตัวประกอบไม่เจอ ให้กลับไปเลือก x และ y จากลำดับตัวเลขสุ่มเทียมตัวต่อไป โดย xใหม่ = f(xเดิม) และ yใหม่ = f(f(yเดิม)) แล้วกลับไปทำแบบเดิมอีกครั้งหนึ่ง
- เท่ากับ ค่าอื่นๆ แสดงว่า ค่าที่ได้นั้น คือตัวประกอบตัวหนึ่งของ n นั่นเอง

ขั้นตอนวิธี

นำเข้า: n, เป็นเลขจำนวนเต็มที่ต้องการหาตัวประกอบ; และ f (x), เป็นฟังก์ชันสุ่มเทียมมอดุโล n

ส่งออก: ตัวประกอบของ n, หรือพบข้อผิดพลาด (หาไม่เจอ).

  1. x ← 2, y ← 2; d ← 1
  2. While d = 1:
    1. xf (x)
    2. yf (f (y))
    3. d ← GCD (|xy|, n)
  3. If d = n, return failure. (พบข้อผิดพลาด)
  4. Else, return d.

หมายเหตุ: ขั้นตอนวิธีนี้อาจจะไม่พบตัวประกอบ และแจ้งว่าพบข้อผิดพลาดถึงแม้ว่า n จะเป็นจำนวนประกอบ สำหรับกรณีนี้ให้เปลี่ยน f (x) และลองทำอีกครั้ง

หมายเหตุ: ขั้นตอนวิธีนี้ไม่สามารถทำงานได้หาก n เป็นจำนวนเฉพาะ เนื่องจาก d จะเป็น 1 เสมอ

การปรับปรุง

ในปี 1980 ริชาร์ด เบรนท์ ได้ตีพิมพ์ผลงานที่เร็วกว่า เขาได้ใช้แนวความคิดหลักเช่นเดียวกับ พอลลาร์ด แต่แตกต่างกันในเรื่องของขั้นตอนวิธีการตรวจสอบการเกิดวงวน โดยได้ใช้ วิธีการตรวจสอบการเกิดวงวนของเบรนท์ (Brent's cycle finding method) แทนขั้นตอนวิธีการตรวจสอบการเกิดวงวนของฟลอยด์

การเพิ่มประสิทธิภาพในครั้งต่อมาถูกกระทำโดย พอลลาร์ด และเบรนท์ ทั้ง 2 ได้พบว่า ถ้า   แล้ว   สำหรับทุกๆจำนวนเต็มบวก b ใดๆ กล่าวโดยละเอียดคือ แทนที่จะคำนวณหา   ทุกๆขั้น, จะทำการกำหนดค่า z เป็นผลคูณของ พจน์   จำนวน 100 พจน์ที่ติดกัน มอดุโล n และคำนวณหา   เพียงหนึ่งครั้ง โดยความเร็วที่เพิ่มขึ้นนั้นได้จากการเปลี่ยน การหา ห.ร.ม. จำนวน 100 ครั้ง เป็นการ คูณ มอดุโล n จำนวน 99 ครั้ง และ การหา ห.ร.ม 1 ครั้ง แต่ในบางครั้ง วิธีนี้อาจจะทำให้ขั้นตอนวิธีเกิดข้อผิดพลาดโดยการใช้ตัวประกอบที่ซ้ำกัน ตัวอย่างเช่น เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มกำลัง 2 แต่ก็สามารถจะแก้ไข้ได้โดยย้อนกลับไปที่จุดที่   แล้วใช้ ขั้นตอนวิธีโรห์ แบบปกติจากจุดนั้น

การใช้งาน

ขั้นตอนวิธีโรห์มักถูกนำไปใช้ในการหาตัวประกอบของจำนวนที่มีขนาดใหญ่ ที่ไม่สามารถหาได้อย่างรวดเร็วด้วยขั้นตอนวิธีแบบปกติ โดยเฉพาะจำนวนที่เกิดจากการนำจำนวนเฉพาะขนาดใหญ่สองตัวคูณกัน

ขั้นตอนวิธีโรห์จะใช้เวลาในการหาตัวประกอบได้อย่างรวดเร็วหากตัวประกอบนั้นมีค่าน้อย ตัวอย่างเช่น บนเครื่องที่มีความเร็ว 3 GHz ขั้นตอนวิธิโรห์ของพอลลาร์ดสามารถหาตัวประกอบ 274177 ของจำนวนแฟร์มาต์ลำดับที่ 6 (18446744073709551617) ในเวลา 26 มิลลิวินาที; ขั้นตอนวิธีโรห์ที่ถูกปรับปรุงโดยเบรนท์ สามารถหาตัวประกอบเดียวกันนี้ในเวลา 5 มิลลิวินาที แต่สำหรับจำนวนที่เกิดจากจำนวนเฉพาะสองตัวคูณกัน และที่มีความยาวเท่ากันกับจำนวนแฟร์มาต์ลำดับที่ 6 นั้น (10023859281455311421) การทำงานหาตัวประกอบบนเครื่องเดียวกัน ขั้นตอนวิธีโรห์ของพอลลาร์ดต้องใช้เวลาถึง 109 มิลลิวินาทีถึงจะพบตัวประกอบ ส่วนขั้นตอนวิธีโรห์ที่ถูกปรับปรุงใช้เวลา 31 มิลลิวินาที

สำหรับ f ฟังก์ชันตัวสุ่มเทียมมอดุโล n จะเลือกใช้ฟังก์ชัน พหุนาม พร้อมกับค่าคงที่จำนวนเต็ม c โดยรูปแบบที่นิยมใช้มากที่สุดคือ

 

ขั้นตอนวิธีโรห์มีความโดดเด่นจากความสำเร็จในการหาตัวประกอบของจำนวนแฟร์มาต์ลำดับที่ 8 โดย พอลลาร์ด และ เบรนท์ ซึ่งใช้เวลาทั้งหมด 2 ชั่วโมงบนเครื่อง UNIVAC 1100/42

ตัวอย่างการหาตัวประกอบ

ให้ n = 8051 และ f (x) = (x2 + 1) mod 8051

i xi yi GCD (│xiyi│, 8051)
1 5 26 1
2 26 7474 1
3 677 871 97

97 เป็นตัวประกอบของ 8051 สำหรับการเปลี่ยนค่า c อาจจะให้คำตอบเป็นตัวประกอบอีกตัวคือ 83 แทนที่จะเป็น 97

อัตราการเติบโต

ขั้นตอนวิธีแบบสุ่มนี้ต้องแลกเปลี่ยนระหว่างเวลาที่ใช้ในการค้นหา กับโอกาสที่จะค้นพบตัวประกอบ นั่นคือหากต้องการให้โอกาสที่จะค้นพบตัวประกอบนั้นมีค่าสูง ก็จะต้องใช้เวลามากขึ้น ถ้าหาก n เป็นผลคูณของจำนวนเฉพาะที่มีความยาวเท่ากัน แต่มีค่าแตกต่างกัน ระยะเวลาที่ใช้สำหรับขั้นตอนวิธีนี้ จะต้องสุ่มตัวเลขมา O (n1/4 polylog (n)) ครั้ง ถึงจะมีความน่าจะเป็นในการค้นพบตัวประกอบเท่ากับ 0.5 สำหรับพจน์ n1/4 นั้นก็มาจากที่ n เป็นผลคูณของจำนวนเฉพาะที่มีความยาวเท่ากัน ดังนั้น n1/2 ก็จะได้ค่าที่ใกล้เคียงกับจำนวนเฉพาะที่เป็นตัวประกอบของ n และจากที่ทราบว่า ความน่าจะเป็นในการพบตัวประกอบเท่ากับ 0.5 เมื่อสุ่มตัวเลขมาแล้ว   ตัว เมื่อ p คือตัวประกอบของ n ดังนั้นหากแทนค่า p ด้วย n1/2 ก็จะได้พจน์ n1/4 (หมายเหตุ: การวิเคราะห์นี้เป็นเพียงการประมาณโดยคร่าวๆ สำหรับการวิเคราะห์อย่างละเอียด ยังรอให้พิสูจน์อยู่)

สรุป

ขั้นตอนวิธีโรห์ของพอลลาร์ดช่วยให้สามารถแยกตัวประกอบของจำนวนใหญ่ๆได้อย่างรวดเร็ว โดยอาศัยขั้นตอนวิธีแบบสุ่ม (ใช้ฟังก์ชันสร้างลำดับตัวเลขสุ่มเทียม) ซึ่งทำได้ดีกว่าขั้นตอนวิธีตามปกติที่จะใช้เวลานานกว่ามาก แต่ก็ต้องพึงระวังว่าคำตอบที่บอกว่าไม่พบตัวประกอบนั้นอาจจะผิด เพราะมีโอกาสที่หาแล้วไม่พบ เนื่องจากสุ่มตัวเลขไม่มากพอที่จะเจอตัวประกอบนั้น การนำขั้นตอนวิธีโรห์ไปใช้จึงต้องเลือกให้ดีว่า อยากจะให้ทำงานได้เร็วแค่ไหน อยากจะให้โอกาสผิดน้อยขนาดไหนถึงยอมรับได้ ซึ่งเป็นสองสิ่งที่ต้องแลกเปลี่ยนกัน โดยสรุป ขั้นตอนวิธีโรห์นี้สามารถนำไปใช้งานในการแยกตัวประกอบได้จริง และมีประสิทธิภาพที่น่าประทับใจอีกด้วย

อ้างอิง

  • Brent, Richard P. (1980), (PDF), BIT, 20: 176–184, คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2009-09-24, สืบค้นเมื่อ 2011-09-08
  • Cormen, Thomas H.; Leiserson, Charles E.; Rivest, Ronald L. & Stein, Clifford (2001), "Section 31.9: Integer factorization", Introduction to Algorithms (Second ed.), Cambridge, MA: MIT Press, pp. 896–901, ISBN 0262032937 (this section discusses only Pollard's rho algorithm).
  • Pollard, J. M. (1975), "A Monte Carlo method for factorization", BIT Numerical Mathematics, 15 (3): 331–334

แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม

ตัวอย่างเพิ่มเติม

  • ตัวอย่างในภาษาจาวา
  • ตัวอย่างในภาษาไพทอน
  • ตัวอย่างโปรแกรมแสดงการหาตัวประกอบด้วยวิธีโรห์ของพอลลาร์ดด้วยภาษาจาวา

นตอนว, โรห, ของพอลลาร, งกฤษ, pollard, algorithm, เป, นข, นตอนว, แบบส, มท, ใช, หาต, วประกอบของจำนวนประกอบท, ามาก, โดยอาศ, ยค, ณสมบ, ของการหาร, เพ, อให, หาต, วประกอบของเลขจำนวนน, ได, เร, นตอนว, จอห, พอลลาร, john, pollard, นำเสนอข, นในป, 1975, และต, อมา, ชาร, เบร. khntxnwithiorhkhxngphxllard xngkvs Pollard s rho algorithm epnkhntxnwithiaebbsumthiichhatwprakxbkhxngcanwnprakxbthimikhamak odyxasykhunsmbtikhxngkarhar ephuxihhatwprakxbkhxngelkhcanwnnn iderw khntxnwithini cxhn phxllard John Pollard naesnxkhuninpi 1975 aelatxma richard ebrnth Richard Brent prbprunginpi 1980 enuxha 1 aenwkhwamkhidhlk 2 khntxnwithi 3 karprbprung 4 karichngan 5 twxyangkarhatwprakxb 6 xtrakaretibot 7 srup 8 xangxing 9 aehlngkhxmulephimetim 10 twxyangephimetimaenwkhwamkhidhlk aekikhkhntxnwithiorhkhxngphxllardmiphunthanmacak khntxnwithikartrwcsxbkarekidwngwnkhxngflxyd en Floyd s cycle finding algorithm aela cakkarsngektthungkhunsmbtikhxngtwelkhthicamikhunsmbtihnungehmuxnkn sungkhlaykbinpyhawnekid en Birthday problem en Birthday paradox nnkhux haktxngkarhatwelkh 2 tw x aela y thimikhunsmbtihardwytwelkh p aelwmiessehluxethakn hrux x smphakhkb y mxduol p x congruent y modulo p camikhwamnacaepnethakb 0 5 hlngcaksumtwelkhmaaelw 1 177 p displaystyle 1 177 sqrt p tw hakih p epn twprakxbhnungkhxng n emux n khuxtwelkhthitxngkarhatwprakxb caidwa p gcd x y n n displaystyle p leq gcd left x y n right leq n enuxngcak p har x y displaystyle x y aela n displaystyle n lngtwkhntxnwithiorh caich f fngkchnmxduol n sahrbkarsrangladbtwelkhsumethiym en pseudo random sequence odyladbthngsxngcamikhwamerwinkareluxnladbtangkn 2 etha klawkhux ladbhnungcaeluxnip 2 khn inkhnathixikladb caeluxnipephiyng 1 khnethann hakih x aela y epntwaethnsahrbtwelkhinladbthng 2 inkhnahnung cathakarhakha h r m GCD khxng x y displaystyle x y aela n displaystyle n odythahak h r m mikha ethakb n cathaihkhntxnwithinicbkarthanganlngdwykhwamphidphlad enuxngcak h r m camikhaethakb n id emux x y sungcak khntxnwithikartrwcsxbkarekidwngwnkhxngflxyd caidwa ladbthisrangidphbkbwngwn aelakarthanganinkhrngtxipkcaepnkarthangansaedimkbnganthiekhythaipaelw ethakb 1 aesdngwa ynghatwprakxbimecx ihklbipeluxk x aela y cakladbtwelkhsumethiymtwtxip ody xihm f xedim aela yihm f f yedim aelwklbipthaaebbedimxikkhrnghnung ethakb khaxun aesdngwa khathiidnn khuxtwprakxbtwhnungkhxng n nnexngkhntxnwithi aekikhnaekha n epnelkhcanwnetmthitxngkarhatwprakxb aela f x epnfngkchnsumethiymmxduol nsngxxk twprakxbkhxng n hruxphbkhxphidphlad haimecx x 2 y 2 d 1 While d 1 x f x y f f y d GCD x y n If d n return failure phbkhxphidphlad Else return d hmayehtu khntxnwithinixaccaimphbtwprakxb aelaaecngwaphbkhxphidphladthungaemwa n caepncanwnprakxb sahrbkrniniihepliyn f x aelalxngthaxikkhrnghmayehtu khntxnwithiniimsamarththanganidhak n epncanwnechphaa enuxngcak d caepn 1 esmxkarprbprung aekikhinpi 1980 richard ebrnth idtiphimphphlnganthierwkwa ekhaidichaenwkhwamkhidhlkechnediywkb phxllard aetaetktangknineruxngkhxngkhntxnwithikartrwcsxbkarekidwngwn odyidich withikartrwcsxbkarekidwngwnkhxngebrnth Brent s cycle finding method aethnkhntxnwithikartrwcsxbkarekidwngwnkhxngflxydkarephimprasiththiphaphinkhrngtxmathukkrathaody phxllard aelaebrnth thng 2 idphbwa tha gcd a n gt 1 displaystyle gcd a n gt 1 aelw gcd a b n gt 1 displaystyle gcd ab n gt 1 sahrbthukcanwnetmbwk b id klawodylaexiydkhux aethnthicakhanwnha gcd x y n displaystyle gcd x y n thukkhn cathakarkahndkha z epnphlkhunkhxng phcn x y displaystyle x y canwn 100 phcnthitidkn mxduol n aelakhanwnha gcd z n displaystyle gcd z n ephiynghnungkhrng odykhwamerwthiephimkhunnnidcakkarepliyn karha h r m canwn 100 khrng epnkar khun mxduol n canwn 99 khrng aela karha h r m 1 khrng aetinbangkhrng withinixaccathaihkhntxnwithiekidkhxphidphladodykarichtwprakxbthisakn twxyangechn emux n epncanwnetmkalng 2 aetksamarthcaaekikhidodyyxnklbipthicudthi gcd z n 1 displaystyle gcd z n 1 aelwich khntxnwithiorh aebbpkticakcudnnkarichngan aekikhkhntxnwithiorhmkthuknaipichinkarhatwprakxbkhxngcanwnthimikhnadihy thiimsamarthhaidxyangrwderwdwykhntxnwithiaebbpkti odyechphaacanwnthiekidcakkarnacanwnechphaakhnadihysxngtwkhunknkhntxnwithiorhcaichewlainkarhatwprakxbidxyangrwderwhaktwprakxbnnmikhanxy twxyangechn bnekhruxngthimikhwamerw 3 GHz khntxnwithiorhkhxngphxllardsamarthhatwprakxb 274177 khxngcanwnaefrmatladbthi 6 18446744073709551617 inewla 26 milliwinathi khntxnwithiorhthithukprbprungodyebrnth samarthhatwprakxbediywknniinewla 5 milliwinathi aetsahrbcanwnthiekidcakcanwnechphaasxngtwkhunkn aelathimikhwamyawethaknkbcanwnaefrmatladbthi 6 nn 10023859281455311421 karthanganhatwprakxbbnekhruxngediywkn khntxnwithiorhkhxngphxllardtxngichewlathung 109 milliwinathithungcaphbtwprakxb swnkhntxnwithiorhthithukprbprungichewla 31 milliwinathisahrb f fngkchntwsumethiymmxduol n caeluxkichfngkchn phhunam phrxmkbkhakhngthicanwnetm c odyrupaebbthiniymichmakthisudkhux f x x 2 c mod n c 0 2 displaystyle f x x 2 c hbox mod n c neq 0 2 khntxnwithiorhmikhwamoddedncakkhwamsaercinkarhatwprakxbkhxngcanwnaefrmatladbthi 8 ody phxllard aela ebrnth sungichewlathnghmd 2 chwomngbnekhruxng UNIVAC 1100 42twxyangkarhatwprakxb aekikhih n 8051 aela f x x2 1 mod 8051 i xi yi GCD xi yi 8051 1 5 26 12 26 7474 13 677 871 9797 epntwprakxbkhxng 8051 sahrbkarepliynkha c xaccaihkhatxbepntwprakxbxiktwkhux 83 aethnthicaepn 97xtrakaretibot aekikhkhntxnwithiaebbsumnitxngaelkepliynrahwangewlathiichinkarkhnha kboxkasthicakhnphbtwprakxb nnkhuxhaktxngkarihoxkasthicakhnphbtwprakxbnnmikhasung kcatxngichewlamakkhun thahak n epnphlkhunkhxngcanwnechphaathimikhwamyawethakn aetmikhaaetktangkn rayaewlathiichsahrbkhntxnwithini catxngsumtwelkhma O n1 4 polylog n khrng thungcamikhwamnacaepninkarkhnphbtwprakxbethakb 0 5 sahrbphcn n1 4 nnkmacakthi n epnphlkhunkhxngcanwnechphaathimikhwamyawethakn dngnn n1 2 kcaidkhathiiklekhiyngkbcanwnechphaathiepntwprakxbkhxng n aelacakthithrabwa khwamnacaepninkarphbtwprakxbethakb 0 5 emuxsumtwelkhmaaelw 1 177 p displaystyle 1 177 sqrt p tw emux p khuxtwprakxbkhxng n dngnnhakaethnkha p dwy n1 2 kcaidphcn n1 4 hmayehtu karwiekhraahniepnephiyngkarpramanodykhraw sahrbkarwiekhraahxyanglaexiyd yngrxihphisucnxyu srup aekikhkhntxnwithiorhkhxngphxllardchwyihsamarthaeyktwprakxbkhxngcanwnihyidxyangrwderw odyxasykhntxnwithiaebbsum ichfngkchnsrangladbtwelkhsumethiym sungthaiddikwakhntxnwithitampktithicaichewlanankwamak aetktxngphungrawngwakhatxbthibxkwaimphbtwprakxbnnxaccaphid ephraamioxkasthihaaelwimphb enuxngcaksumtwelkhimmakphxthicaecxtwprakxbnn karnakhntxnwithiorhipichcungtxngeluxkihdiwa xyakcaihthanganiderwaekhihn xyakcaihoxkasphidnxykhnadihnthungyxmrbid sungepnsxngsingthitxngaelkepliynkn odysrup khntxnwithiorhnisamarthnaipichnganinkaraeyktwprakxbidcring aelamiprasiththiphaphthinaprathbicxikdwyxangxing aekikhBrent Richard P 1980 An Improved Monte Carlo Factorization Algorithm PDF BIT 20 176 184 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2009 09 24 subkhnemux 2011 09 08 Cormen Thomas H Leiserson Charles E Rivest Ronald L amp Stein Clifford 2001 Section 31 9 Integer factorization Introduction to Algorithms Second ed Cambridge MA MIT Press pp 896 901 ISBN 0262032937 this section discusses only Pollard s rho algorithm Pollard J M 1975 A Monte Carlo method for factorization BIT Numerical Mathematics 15 3 331 334aehlngkhxmulephimetim aekikhexrik dbebilyu iwssitn Prime Factorization Algorithms cakaemthewild exrik dbebilyu iwssitn Pollard rho Factorization Method cakaemthewild exrik dbebilyu iwssitn Brents Factorization Method cakaemthewild exrik dbebilyu iwssitn Birthday Problem cakaemthewild twxyangephimetim aekikhtwxyanginphasacawa twxyanginphasaiphthxn twxyangopraekrmaesdngkarhatwprakxbdwywithiorhkhxngphxllarddwyphasacawaekhathungcak https th wikipedia org w index php title khntxnwithiorhkhxngphxllard amp oldid 9561040, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม