fbpx
วิกิพีเดีย

คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ

คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ (คปส.) (อังกฤษ: Campaign for Popular Media Reform - CMPR) เป็นเครือข่ายของนักวิชาการ องค์กรพัฒนาเอกชน นักวิชาชีพสื่อ และภาคประชาสังคม ที่ร่วมกันติดตามและผลักดันการปฏิรูปสื่อ โดยเริ่มแรกใช้ชื่อ คณะทำงานติดตามมาตรา 40 ตามมาตรา 40 ของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ที่ว่าด้วยทรัพยากรคลื่นความถี่เพื่อการสื่อสาร ปัจจุบันคปส.ยุติบทบาทลงแล้ว

ประวัติ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 บัญญัติถึงหลักการส่งเสริมสิทธิเสรีภาพของสื่อมวลชนและประชาชนไว้ในมาตรา 39-41 และในมาตรา 40 ระบุว่า

คลื่นความถี่ที่ใช้ในการส่งวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และวิทยุโทรคมนาคม เป็นทรัพยากรสื่อสารของชาติเพื่อประโยชน์สาธารณะ

ให้มีองค์กรของรัฐที่เป็นอิสระทำหน้าที่จัดสรรคลื่นความถี่ตามวรรคหนึ่ง และกำกับดูแลการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

การดำเนินการตามวรรคสองต้องคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของประชาชนในระดับชาติและระดับท้องถิ่น ทั้งในด้านการศึกษา วัฒนธรรม ความมั่นคงของรัฐ และประโยชน์สาธารณะอื่น รวมทั้งการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม

มาตราดังกล่าวถือว่าเป็นผลจากการผลักดันของภาคประชาชนให้เกิดการปฏิรูปสื่อภายหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬในปี 2535 โดยชูแนวคิด “สื่อต้องเป็นของประชาชน” เพื่อติดตามและผลักดันให้เกิดการจัดตั้งองค์กรดังกล่าวตามจุดประสงค์ที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญมาตราดังกล่าว นักวิชาการ องค์กรพัฒนาเอกชน นักวิชาชีพสื่อ และเครือข่ายประชาสังคม จึงได้รวมตัวกันอย่างหลวมๆ ในปี 2540 ในชื่อ "คณะทำงานติดตามมาตรา 40" โดยบรรยากาศในช่วงดังกล่าวภาคประชาชนมีความตื่นตัวกับสิทธิตามมาตรา 40 ดังกล่าวมาก คณะทำงานได้ยื่นหนังสือต่อรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในขณะนั้นคือ สุพัตรา มาศดิตถ์ จนมีผู้แทนจากกลุ่มที่มีสิทธิในทรัพยากรการสื่อสารตามมาตรา 40 ร่วมประชุมพิจารณาร่างพ.ร.บ.การประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ต่อมาในปี 2543 คณะทำงานฯ ได้ก่อตั้งเป็นโครงการภายใต้มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม (มอส.) ใช้ชื่อว่า "คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ" กรรมการและที่ปรึกษาของคปส.มาจากหลายสาขาและความสนใจ เช่น วิษณุ วรัญญู อาจารย์กฎหมาย ซึ่งเคยเป็นกรรมาธิการร่างพ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 พิทยา ว่องกุล อาจารย์สังคมศาสตร์ ซึ่งเคยเป็นผู้สมัครรับเลือกเป็นกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ (กสช.) และ เอื้อจิต วิโรจน์ไตรรัตน์ อาจารย์สื่อสารมวลชน ซึ่งจัดเวทีและอบรมให้กับสถานีวิทยุชุมชนทั่วประเทศ

คปส.กับความขัดแย้งทางการเมือง

ภายหลังการรัฐประหารเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 ซึ่งทำให้รัฐธรรมนูญปี 2540 สิ้นสุดลง คปส.ได้ออกแถลงการณ์ฉบับที่ 1 แสดงความเสียใจถ้าหากการรัฐประหารนำไปสู่การล้มล้างหลักการในมาตรา 39, 40, และ 41 และเรียกร้องให้คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) รักษาหลักการเสรีภาพสื่อและอิสรภาพในการแสดงออกของประชาชนตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญปี 2540 และต่อมาหลังจากคปค.ได้ใช้อำนาจปิดกั้นเว็บไซต์ที่แสดงความคิดเห็นทางการเมืองเช่น www.19sep.org และ www.midnightuniv.org และใช้มาตรการทางกฎหมายฟ้องร้องผู้วิพากษ์วิจารณ์ เช่น การฟ้องเอาผิดทางอาญากับ ใจ อึ๊งภากรณ์ อาจารย์มหาวิทยาลัย คปส.ได้ออกแถลงการณ์ฉบับที่ 2 ประณามการกระทำดังกล่าวและเชิญชวนให้ประชาชนร่วมกิจกรรมไว้อาลัยรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2540 ในวันที่ 11 ตุลาคม 2549 ณ อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย โดยในกิจกรรมดังกล่าว รศ.ดร.อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์ ประธานคณะกรรมการคปส. ได้กล่าวให้ประชาชนจับตาติดตามการปฏิรูปสื่อและการปฏิรูปการเมืองว่าจะเกิดขึ้นหรือไม่ และเสนอในนามคปส.ให้เปลี่ยนสื่อของรัฐมาเป็นสื่อสาธารณะที่ประชาชนเป็นเจ้าของทั้งหมด ส่วน สุภิญญา กลางณรงค์ เลขาธิการคปส. ได้อ่านแถลงการณ์จุดยืนและข้อเรียกร้อง 10 ข้อเรื่องการปฏิรูปสื่อ

ในสถานการณ์ภายใต้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 หลังการปราบปรามผู้ชุมนุมเสื้อแดงในปี 2553 คปส.โดย สุเทพ วิไลเลิศ เลขาธิการในขณะนั้น ได้ติดตามการปิดกั้นการนำเสนอข่าวสารทางวิทยุชุมชน และรวบรวมรายชื่อผู้ถูกออกหมายจับและดำเนินคดีจากการนำเสนอข่าวสารทางวิทยุชุมชน

อ้างอิง

  1. เบญจา ศิลารักษ์. ปฏิรูปสื่อยกสองในยุค คปค. ผู้จัดการออนไลน์. 5 ตุลาคม 2549.
  2. “ดร.เอื้อจิต” มองระยะเปลี่ยนผ่านวิทยุชุมชน หวังสุดท้ายตอบโจทย์ "เพื่อใคร". สำนักข่าวอิศรา. 29 กันยายน 2553.
  3. Wongrujira, Monwipa. "Democratizing Communication: Media Activism and Broadcasting Reform in Thailand" (2008). Electronic Theses, Treatises and Dissertations. Paper 831.
  4. แถลงการณ์ คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ ฉบับที่ 1. 21 กันยายน 2549.
  5. แถลงการณ์ คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ ฉบับที่ 2. 4 ตุลาคม 2549.
  6. จุดยืน 10 ข้อ เรื่องการปฏิรูปสื่อและสิทธิเสรีภาพทางการเมืองของ คปส. ประชาไท. 12 ตุลาคม 2549.
  7. ประเทศไทย ‘ความเห็นต่าง’ คืออาชญากรรม: รายงานการแทรกแซงวิทยุชุมชนภายใต้สถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมือง. คณะกรรมการรณรงค์เพื่อการปฏิรูปสื่อ. 19 ก.ย. 2553.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • เกี่ยวกับ คปส. - media4democracy.com เปิดดูล่าสุด 26 มี.ค. 2551

คณะกรรมการรณรงค, เพ, อการปฏ, ปส, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, คปส,. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir khnakrrmkarrnrngkhephuxkarptirupsux khps xngkvs Campaign for Popular Media Reform CMPR epnekhruxkhaykhxngnkwichakar xngkhkrphthnaexkchn nkwichachiphsux aelaphakhprachasngkhm thirwmkntidtamaelaphlkdnkarptirupsux odyerimaerkichchux khnathangantidtammatra 40 tammatra 40 khxngrththrrmnuy ph s 2540 thiwadwythrphyakrkhlunkhwamthiephuxkarsuxsar pccubnkhps yutibthbathlngaelw enuxha 1 prawti 2 khps kbkhwamkhdaeyngthangkaremuxng 3 xangxing 4 aehlngkhxmulxunprawti aekikhrththrrmnuyaehngrachxanackrithy ph s 2540 byytithunghlkkarsngesrimsiththiesriphaphkhxngsuxmwlchnaelaprachachniwinmatra 39 41 aelainmatra 40 rabuwa khlunkhwamthithiichinkarsngwithyukracayesiyng withyuothrthsn aelawithyuothrkhmnakhm epnthrphyakrsuxsarkhxngchatiephuxpraoychnsatharnaihmixngkhkrkhxngrththiepnxisrathahnathicdsrrkhlunkhwamthitamwrrkhhnung aelakakbduaelkarprakxbkickarwithyukracayesiyng withyuothrthsn aelakickarothrkhmnakhm thngni tamthikdhmaybyytikardaeninkartamwrrkhsxngtxngkhanungthungpraoychnsungsudkhxngprachachninradbchatiaelaradbthxngthin thngindankarsuksa wthnthrrm khwammnkhngkhxngrth aelapraoychnsatharnaxun rwmthngkaraekhngkhnodyesrixyangepnthrrm matradngklawthuxwaepnphlcakkarphlkdnkhxngphakhprachachnihekidkarptirupsuxphayhlngehtukarnphvsphathmilinpi 2535 odychuaenwkhid suxtxngepnkhxngprachachn 1 ephuxtidtamaelaphlkdnihekidkarcdtngxngkhkrdngklawtamcudprasngkhthirabuiwinrththrrmnuymatradngklaw nkwichakar xngkhkrphthnaexkchn nkwichachiphsux aelaekhruxkhayprachasngkhm cungidrwmtwknxyanghlwm inpi 2540 inchux khnathangantidtammatra 40 odybrryakasinchwngdngklawphakhprachachnmikhwamtuntwkbsiththitammatra 40 dngklawmak khnathanganidyunhnngsuxtxrthmntripracasanknaykrthmntriinkhnannkhux suphtra masditth cnmiphuaethncakklumthimisiththiinthrphyakrkarsuxsartammatra 40 rwmprachumphicarnarangph r b karprakxbkickarwithyukracayesiyngaelawithyuothrthsn rwmkbsankngankhnakrrmkarkvsdika 2 txmainpi 2543 khnathangan idkxtngepnokhrngkarphayitmulnithixasasmkhrephuxsngkhm mxs ichchuxwa khnakrrmkarrnrngkhephuxkarptirupsux krrmkaraelathipruksakhxngkhps macakhlaysakhaaelakhwamsnic echn wisnu wryyu xacarykdhmay sungekhyepnkrrmathikarrangph r b khxmulkhawsarkhxngrachkar ph s 2540 phithya wxngkul xacarysngkhmsastr sungekhyepnphusmkhrrbeluxkepnkrrmkarkickarkracayesiyngaelakickarothrthsnaehngchati ksch aela exuxcit wiorcnitrrtn xacarysuxsarmwlchn sungcdewthiaelaxbrmihkbsthaniwithyuchumchnthwpraeths 3 khps kbkhwamkhdaeyngthangkaremuxng aekikhphayhlngkarrthpraharemuxwnthi 19 knyayn 2549 sungthaihrththrrmnuypi 2540 sinsudlng khps idxxkaethlngkarnchbbthi 1 aesdngkhwamesiyicthahakkarrthpraharnaipsukarlmlanghlkkarinmatra 39 40 aela 41 aelaeriykrxngihkhnaptirupkarpkkhrxnginrabxbprachathipity xnmiphramhakstriythrngepnpramukh khpkh rksahlkkaresriphaphsuxaelaxisrphaphinkaraesdngxxkkhxngprachachntamthirabuiwinrththrrmnuypi 2540 4 aelatxmahlngcakkhpkh idichxanacpidknewbistthiaesdngkhwamkhidehnthangkaremuxngechn www 19sep org aela www midnightuniv org aelaichmatrkarthangkdhmayfxngrxngphuwiphakswicarn echn karfxngexaphidthangxayakb ic xungphakrn xacarymhawithyaly khps idxxkaethlngkarnchbbthi 2 pranamkarkrathadngklawaelaechiychwnihprachachnrwmkickrrmiwxalyrththrrmnuychbb ph s 2540 inwnthi 11 tulakhm 2549 n xnusawriyprachathipity 5 odyinkickrrmdngklaw rs dr xublrtn siriyuwskdi prathankhnakrrmkarkhps idklawihprachachncbtatidtamkarptirupsuxaelakarptirupkaremuxngwacaekidkhunhruxim aelaesnxinnamkhps ihepliynsuxkhxngrthmaepnsuxsatharnathiprachachnepnecakhxngthnghmd swn suphiyya klangnrngkh elkhathikarkhps idxanaethlngkarncudyunaelakhxeriykrxng 10 khxeruxngkarptirupsux 6 insthankarnphayitphrarachkahndkarbriharrachkarinsthankarnchukechin ph s 2548 hlngkarprabpramphuchumnumesuxaednginpi 2553 khps ody suethph wiilelis elkhathikarinkhnann idtidtamkarpidknkarnaesnxkhawsarthangwithyuchumchn aelarwbrwmraychuxphuthukxxkhmaycbaeladaeninkhdicakkarnaesnxkhawsarthangwithyuchumchn 7 xangxing aekikh ebyca silarks ptirupsuxyksxnginyukh khpkh phucdkarxxniln 5 tulakhm 2549 dr exuxcit mxngrayaepliynphanwithyuchumchn hwngsudthaytxbocthy ephuxikhr sankkhawxisra 29 knyayn 2553 Wongrujira Monwipa Democratizing Communication Media Activism and Broadcasting Reform in Thailand 2008 Electronic Theses Treatises and Dissertations Paper 831 aethlngkarn khnakrrmkarrnrngkhephuxkarptirupsux chbbthi 1 21 knyayn 2549 aethlngkarn khnakrrmkarrnrngkhephuxkarptirupsux chbbthi 2 4 tulakhm 2549 cudyun 10 khx eruxngkarptirupsuxaelasiththiesriphaphthangkaremuxngkhxng khps prachaith 12 tulakhm 2549 praethsithy khwamehntang khuxxachyakrrm rayngankaraethrkaesngwithyuchumchnphayitsthankarnkhwamkhdaeyngthangkaremuxng khnakrrmkarrnrngkhephuxkarptirupsux 19 k y 2553 aehlngkhxmulxun aekikhekiywkb khps media4democracy com epiddulasud 26 mi kh 2551 wikikhakhmmikhakhmekiywkb khnakrrmkarrnrngkhephuxkarptirupsux bthkhwamekiywkbhnwynganhruxxngkhkrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title khnakrrmkarrnrngkhephuxkarptirupsux amp oldid 7066658, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม