fbpx
วิกิพีเดีย

ความยาวคลื่นคอมป์ตัน

ความยาวคลื่นคอมป์ตัน (Compton wavelength) เป็นความยาวคลื่นของคลื่นเฉพาะตัวของสสาร ถูกเสนอโดยอาร์เทอร์ คอมป์ตัน (Arthur Compton) นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน ซึ่งเป็นผู้อธิบายการกระเจิงของโฟตอน (แสง) โดยอิเล็กตรอน (หรือการกระเจิงคอมป์ตัน) ความยาวคลื่นคอมป์ตันเป็นปริมาณของสสารที่เทียบเท่ากับความยาวคลื่นของโฟตอน ทำนองเดียวกับสมมูลพลังงานและมวลของไอน์สไตน์

ความยาวคลื่นคอมป์ตัน λ ของอนุภาค กำหนดตามสมการ

โดยที่ h แทน ค่าคงตัวพลังค์ m แทนมวลของอนุภาคขณะนิ่ง (มวลนิ่ง;rest mass) และ c แทนอัตราเร็วแสง

ข้อมูลของคณะกรรมการข้อมูลวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (CODATA) พ.ศ. 2553 ระบุว่า ความยาวคลื่นคอมป์ตันของอิเล็กตรอนมีค่า 2.4263102389(16)×10−12 m. ส่วนอนุภาคอื่นมีค่าแตกต่างกันออกไป

ความสำคัญ

ความยาวคลื่นคอมป์ตันลดทอน

ความยาวคลื่นคอมป์ตันลดทอน (reduced Compton wavelength) หาได้โดยหารความยาวคลื่นคอมป์ตันด้วย  

 

ในระดับควอนตัมนิยมใช้ความยาวคลื่นคอมป์ตันลดทอน โดยเฉพาะในสมการไคลน์-กอร์ดอน (Klein–Gordon equation) ของอนุภาคอิสระ

 

รวมถึงสมการดิแรก (Dirac equation) (สมการต่อไปนี้เขียนในรูปโคแวเรียนต์ (covariant) โดยอาศัยข้อตกลงไอน์สไตน์ (Einstein summation convention)):

 

นอกจากนี้ยังปรากฏในสมการชเรอดิงเงอร์ (Schrödinger's equation) แม้จะไม่ได้เขียนอย่างชัดเจนไว้ในสมการของเดิมก็ตาม สมการต่อไปนี้เป็นสมการชเรอดิงเงอร์ของอะตอมคล้ายไฮโดรเจน

 

เมื่อหารตลอดด้วย   และเขียนในรูปของค่าคงตัวโครงสร้างละเอียด (fine structure constant) จะได้ว่า

 

ข้อจำกัดในการวัดค่าความยาวคลื่นคอมป์ตัน

เนื่องจากข้อจำกัดการวัดในทางกลศาสตร์ควอนตัมและสัมพัทธภาพพิเศษ ทำให้การวัดค่าความยาวคลื่นไม่แม่นยำสมบูรณ์ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ การวัดตำแหน่งของอนุภาคด้วยแสง หากต้องการเห็นตำแหน่งชัดเจน ก็ต้องใช้แสงความยาวคลื่นน้อย ๆ ซึ่งมีโฟตอนพลังงานสูง หากพลังงานของโฟตอนเกินกว่า mc2 อาจก่อให้เกิดอนุภาคใหม่ได้จากหลักการสมมูลมวล-พลังงาน

กำหนดให้ความไม่แน่นอนของตำแหน่งเป็น Δx จากนั้นจากหลักความไม่แน่นอนของตำแหน่งและโมเมนตัม

 

ทำให้ได้ว่า

 

ใช้สมการโมเมนตัม-พลังงานแบบสัมพัทธภาพ p = γm0v จะได้ว่า เมื่อ Δp มีค่ามากกว่า mc จะได้ว่าความไม่แน่นอนของพลังงานจะต้องมากกว่า mc2 ซึ่งเป็นพลังงานที่สมมูลกับมวลที่มากพอจะสร้างอนุภาคตัวใหม่ ดังนั้นจะได้ว่าความไม่แน่นอนของความยาวคล Using the relativistic relation between momentum and energy p = γm0v, when Δp exceeds mc then the uncertainty in energy is greater than mc2, which is enough energy to create another particle of the same type. It follows that there is a fundamental limitation on Δx:

 

ความยาวคลื่นคอมป์ตันต่างจาก ความยาวคลื่นเดอบรอย (de Broglie wavelength) ซึ่งขึ้นกับโมเมนตัมของอนุภาค และเป็นตัวบ่งชี้ระหว่างความเป็นอนุภาคและสสาร

ความสัมพันธ์กับค่าคงตัวอื่น

ความยาวอะตอมปกติ เลขคลื่น และพื้นที่ในฟิสิกส์มีความสัมพันธ์กับความยาวคลื่นคอมป์ตันของอิเล็กตรอน ( ) และค่าคงตัวโครงสร้างละเอียด ( )

รัศมีโบร์ (Bohr radius) มีความสัมพันธ์กับความยาวคลื่นคอมป์ตันดังนี้

 

รัศมีอิเล็กตรอนแบบฉบับ (classical electron radius) มีขนาดสามเท่าใหญ่กว่ารัศมีโปรตอน และสามารถเขียนเป็นสมการได้ว่า

 

ค่าคงตัวริดเบิร์ก (Rydberg constant) เขียนได้ดังนี้

 

ในอนุภาคเฟอร์มิออน ค่าคงตัวคอมป์ตันลดทอนและพื้นที่ตัดขวางอันตรกิริยามีความสัมพันธ์แก่กัน ยกตัวอย่าง พื้นที่ตัดขวางของการกระเจิงทอมสันของโฟตอนจากอิเล็กตรอน มีค่า

 

ซึ่งมีค่าใกล้เคียงกับพื้นที่ตัดขวางของนิวเคลียสเหล็ก-56

ในทฤษฎีเกจ (Gauge theory) ความยาวคลื่นคอมป์ตันของโบซอนมีความสัมพันธ์กับพิสัยของอันตรกิริยายุกะวะ (Yukawa interaction) ในส่วนของโฟตอนซึ่งไม่มีมวลนิ่ง พิสัยมีค่าเป็นอนันต์

ความยาวและพื้นที่ในทางฟิสิกส์แรงดึงดูด สัมพันธ์กับความยาวคลื่นคอมป์ตันและค่าคงตัวแรงดึงดูดระหว่างมวล (gravitational coupling constant)   (เทียบได้กับค่าคงตัวโครงสร้างละเอียด)

มวลพลังค์ (Planck mass) เมื่อคำนวณเป็นค่าความยาวคอมป์ตันแล้วหารด้วยสองจะได้เท่ากับรัศมีชวาร์ซชิลด์ (Schwarzschild radius) หรือความยาวพลังค์ Planck length)  .

 

อ้างอิง

  1. CODATA 2010 value for Compton wavelength for the electron from NIST
  2. Garay, Luis J. "Quantum Gravity And Minimum Length." International Journal of Modern Physics A 10.02 (1995): 145-65. Arxiv.org. Web. 3 June 2014. <http://arxiv.org/pdf/gr-qc/9403008v2.pdf>.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Length Scales in Physics: the Compton Wavelength

ความยาวคล, นคอมป, compton, wavelength, เป, นความยาวคล, นของคล, นเฉพาะต, วของสสาร, กเสนอโดยอาร, เทอร, คอมป, arthur, compton, กฟ, กส, ชาวอเมร, งเป, นผ, อธ, บายการกระเจ, งของโฟตอน, แสง, โดยอ, เล, กตรอน, หร, อการกระเจ, งคอมป, เป, นปร, มาณของสสารท, เท, ยบเท, าก, บค. khwamyawkhlunkhxmptn Compton wavelength epnkhwamyawkhlunkhxngkhlunechphaatwkhxngssar thukesnxodyxarethxr khxmptn Arthur Compton nkfisikschawxemrikn sungepnphuxthibaykarkraecingkhxngoftxn aesng odyxielktrxn hruxkarkraecingkhxmptn khwamyawkhlunkhxmptnepnprimankhxngssarthiethiybethakbkhwamyawkhlunkhxngoftxn thanxngediywkbsmmulphlngnganaelamwlkhxngixnsitnkhwamyawkhlunkhxmptn l khxngxnuphakh kahndtamsmkar l h m c displaystyle lambda frac h mc odythi h aethn khakhngtwphlngkh m aethnmwlkhxngxnuphakhkhnaning mwlning rest mass aela c aethnxtraerwaesngkhxmulkhxngkhnakrrmkarkhxmulwithyasastraelaethkhonolyi CODATA ph s 2553 rabuwa khwamyawkhlunkhxmptnkhxngxielktrxnmikha 2 4263102389 16 10 12 m 1 swnxnuphakhxunmikhaaetktangknxxkip enuxha 1 khwamsakhy 1 1 khwamyawkhlunkhxmptnldthxn 1 2 khxcakdinkarwdkhakhwamyawkhlunkhxmptn 1 3 khwamsmphnthkbkhakhngtwxun 2 xangxing 3 aehlngkhxmulxunkhwamsakhy aekikhkhwamyawkhlunkhxmptnldthxn aekikh khwamyawkhlunkhxmptnldthxn reduced Compton wavelength haidodyharkhwamyawkhlunkhxmptndwy 2 p displaystyle 2 pi l 2 p ℏ m c displaystyle frac lambda 2 pi frac hbar mc inradbkhwxntmniymichkhwamyawkhlunkhxmptnldthxn odyechphaainsmkarikhln kxrdxn Klein Gordon equation khxngxnuphakhxisra 2 ps 1 c 2 2 t 2 ps m c ℏ 2 ps displaystyle mathbf nabla 2 psi frac 1 c 2 frac partial 2 partial t 2 psi left frac mc hbar right 2 psi rwmthungsmkardiaerk Dirac equation smkartxipniekhiyninrupokhaeweriynt covariant odyxasykhxtklngixnsitn Einstein summation convention i g m m ps m c ℏ ps 0 displaystyle i gamma mu partial mu psi left frac mc hbar right psi 0 nxkcakniyngpraktinsmkarcherxdingengxr Schrodinger s equation aemcaimidekhiynxyangchdecniwinsmkarkhxngedimktam smkartxipniepnsmkarcherxdingengxrkhxngxatxmkhlayihodrecn i ℏ t ps ℏ 2 2 m 2 ps 1 4 p ϵ 0 Z e 2 r ps displaystyle i hbar frac partial partial t psi frac hbar 2 2m nabla 2 psi frac 1 4 pi epsilon 0 frac Ze 2 r psi emuxhartlxddwy ℏ c displaystyle hbar c aelaekhiyninrupkhxngkhakhngtwokhrngsranglaexiyd fine structure constant caidwa i c t ps 1 2 ℏ m c 2 ps a Z r ps displaystyle frac i c frac partial partial t psi frac 1 2 left frac hbar mc right nabla 2 psi frac alpha Z r psi khxcakdinkarwdkhakhwamyawkhlunkhxmptn aekikh enuxngcakkhxcakdkarwdinthangklsastrkhwxntmaelasmphththphaphphiess 2 thaihkarwdkhakhwamyawkhlunimaemnyasmburn twxyangthiehnidchdkhux karwdtaaehnngkhxngxnuphakhdwyaesng haktxngkarehntaaehnngchdecn ktxngichaesngkhwamyawkhlunnxy sungmioftxnphlngngansung hakphlngngankhxngoftxnekinkwa mc2 xackxihekidxnuphakhihmidcakhlkkarsmmulmwl phlngngankahndihkhwamimaennxnkhxngtaaehnngepn Dx caknncakhlkkhwamimaennxnkhxngtaaehnngaelaomemntm D x D p ℏ 2 displaystyle Delta x Delta p geq frac hbar 2 thaihidwa D p ℏ 2 D x displaystyle Delta p geq frac hbar 2 Delta x ichsmkaromemntm phlngnganaebbsmphththphaph p gm0v caidwa emux Dp mikhamakkwa mc caidwakhwamimaennxnkhxngphlngngancatxngmakkwa mc2 sungepnphlngnganthismmulkbmwlthimakphxcasrangxnuphakhtwihm dngnncaidwakhwamimaennxnkhxngkhwamyawkhl Using the relativistic relation between momentum and energy p gm0v when Dp exceeds mc then the uncertainty in energy is greater than mc2 which is enough energy to create another particle of the same type It follows that there is a fundamental limitation on Dx D x 1 2 ℏ m c displaystyle Delta x geq frac 1 2 left frac hbar mc right khwamyawkhlunkhxmptntangcak khwamyawkhlunedxbrxy de Broglie wavelength sungkhunkbomemntmkhxngxnuphakh aelaepntwbngchirahwangkhwamepnxnuphakhaelassar khwamsmphnthkbkhakhngtwxun aekikh khwamyawxatxmpkti elkhkhlun aelaphunthiinfisiksmikhwamsmphnthkbkhwamyawkhlunkhxmptnkhxngxielktrxn l e l e 2 p 386 fm displaystyle bar lambda e equiv tfrac lambda e 2 pi simeq 386 textrm fm aelakhakhngtwokhrngsranglaexiyd a 1 137 displaystyle alpha simeq tfrac 1 137 rsmiobr Bohr radius mikhwamsmphnthkbkhwamyawkhlunkhxmptndngni a 0 1 a l e 2 p 137 l e 5 29 10 4 fm displaystyle a 0 frac 1 alpha left frac lambda e 2 pi right simeq 137 times bar lambda e simeq 5 29 times 10 4 textrm fm rsmixielktrxnaebbchbb classical electron radius mikhnadsamethaihykwarsmioprtxn aelasamarthekhiynepnsmkaridwa r e a l e 2 p l e 137 2 82 fm displaystyle r e alpha left frac lambda e 2 pi right simeq frac bar lambda e 137 simeq 2 82 textrm fm khakhngtwridebirk Rydberg constant ekhiyniddngni R a 2 2 l e displaystyle R infty frac alpha 2 2 lambda e inxnuphakhefxrmixxn khakhngtwkhxmptnldthxnaelaphunthitdkhwangxntrkiriyamikhwamsmphnthaekkn yktwxyang phunthitdkhwangkhxngkarkraecingthxmsnkhxngoftxncakxielktrxn mikha s T 8 p 3 a 2 l e 2 66 5 fm 2 displaystyle sigma T frac 8 pi 3 alpha 2 bar lambda e 2 simeq 66 5 textrm fm 2 sungmikhaiklekhiyngkbphunthitdkhwangkhxngniwekhliysehlk 56inthvsdiekc Gauge theory khwamyawkhlunkhxmptnkhxngobsxnmikhwamsmphnthkbphisykhxngxntrkiriyayukawa Yukawa interaction inswnkhxngoftxnsungimmimwlning phisymikhaepnxnntkhwamyawaelaphunthiinthangfisiksaerngdungdud smphnthkbkhwamyawkhlunkhxmptnaelakhakhngtwaerngdungdudrahwangmwl gravitational coupling constant a G displaystyle alpha G ethiybidkbkhakhngtwokhrngsranglaexiyd mwlphlngkh Planck mass emuxkhanwnepnkhakhwamyawkhxmptnaelwhardwysxngcaidethakbrsmichwarschild Schwarzschild radius hruxkhwamyawphlngkh Planck length ℓ P displaystyle ell P ℓ P l e a G 2 p displaystyle ell P lambda e frac sqrt alpha G 2 pi xangxing aekikh CODATA 2010 value for Compton wavelength for the electron from NIST Garay Luis J Quantum Gravity And Minimum Length International Journal of Modern Physics A 10 02 1995 145 65 Arxiv org Web 3 June 2014 lt http arxiv org pdf gr qc 9403008v2 pdf gt aehlngkhxmulxun aekikhLength Scales in Physics the Compton Wavelengthekhathungcak https th wikipedia org w index php title khwamyawkhlunkhxmptn amp oldid 9331140, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม