fbpx
วิกิพีเดีย

ความเจ็บปวดที่เกิดจากจิตใจ

บทความนี้กล่าวถึงความเจ็บปวดทางกายเพราะเหตุทางจิตใจ สำหรับความทุกข์ทางกายและทางใจตามพุทธศาสนา ดูที่ เวทนา

ความเจ็บปวดที่เกิดจากจิตใจ หรือ อาการปวดเหตุจิตใจ (อังกฤษ: Psychogenic pain, psychalgia) เป็นความเจ็บปวดทางกายที่ปัจจัยทางจิตใจ ทางอารมณ์ และทางพฤติกรรม อาจเป็นเหตุ เป็นตัวเพิ่ม หรือเป็นตัวเกื้อกูลให้คงยืน

ความเจ็บปวดที่เกิดจากจิตใจ
(Psychogenic pain)
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10F45.4
ICD-9307.8

การปวดศีรษะ ปวดหลัง และปวดท้อง เป็นรูปแบบซึ่งสามัญที่สุดของอาการปวดเหตุจิตใจ และอาจเกิดกับบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตแม้จะน้อย แต่เกิดบ่อยกว่ากับบุคคลที่สังคมไม่ยอมรับ อกหัก เศร้าเสียใจ หรือที่ผ่านเหตุการณ์ซึ่งสร้างความทุกข์อื่น ๆ

คนไข้มักมีมลทินทางสังคม เพราะทั้งแพทย์พยาบาลและบุคคลทั่วไป มักคิดว่าความเจ็บปวดแบบนี้ไม่จริง แต่ผู้ชำนาญการจะพิจารณาว่า มันไม่ได้จริงหรือเจ็บน้อยกว่าความเจ็บปวดที่มีเหตุอื่น ๆ

องค์กรสากล International Association for the Study of Pain (IASP) นิยามความเจ็บปวดว่า "เป็นประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสและทางอารมณ์ ที่สัมพันธ์กับโอกาสหรือการเกิดขึ้นจริง ๆ ของความเสียหายในเนื้อเยื่อ หรือที่บอกโดยใช้คำซึ่งกล่าวถึงความเสียหายเช่นนั้น" (เพิ่มการเน้น) โดยมีหมายเหตุดังต่อไปนี้

คนจำนวนมากรายงานว่าเจ็บแม้จะไร้ความเสียหายต่อเนื้อเยื่อหรือเหตุทางพยาธิ-สรีรภาพใด ๆ

ปกติจะเกิดเพราะเหตุทางจิตใจ ปกติจะไม่มีทางแยกแยะประสบการณ์ของคนเหล่านี้จากที่เกิดเพราะความเสียต่อเนื้อเยื่อ ถ้าเราจะอาศัยรายงานที่เป็นอัตวิสัยนี้ ถ้าพวกเขาพิจารณาประสบการณ์ของตนว่าเป็นความเจ็บปวด และรายงานในรูปแบบเดียวกันกับความเจ็บปวดเหตุความเสียหายต่อเนื้อเยื่อ เราก็ควรยอมรับมันว่าเป็นความเจ็บปวด

แพทยศาสตร์จัด psychogenic pain หรือ psychalgia ว่าเป็นรูปแบบหนึ่งของความเจ็บปวดเรื้อรัง (chronic pain) ในชื่อว่า "persistent somatoform pain disorder" (โรคเจ็บปวดคงยืนที่มีอาการทางกาย) หรือ functional pain syndrome (อาการเจ็บปวดที่มีผลต่อสรีรภาพหรือจิตใจ) เหตุอาจสัมพันธ์กับความเครียด ความขัดแย้งทางจิตใจที่ไม่ได้ระบาย ปัญหาจิตใจ-สังคม และความผิดปกติทางจิตต่าง ๆ ผู้ชำนาญการบางพวกเชื่อว่า ความเจ็บปวดเรื้อรังชนิดนี้ มีเพื่อเป็นเครื่องล่อใจเพื่อกันอารมณ์ที่เป็นอันตราย เช่นความโกรธและความเดือดดาล ไม่ให้ปรากฏ แต่ก็เป็นเรื่องขัดแย้งกันถ้าจะสรุปว่า ความเจ็บปวดเรื้องรังล้วนเกิดจากเหตุทางจิตใจ การรักษาอาจรวมจิตบำบัด ยาแก้ซึมเศร้า ยาระงับปวด และวิธีการรักษาอื่น ๆ ที่ช่วยการเจ็บปวดเรื้อรังโดยทั่ว ๆ ไป

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. "psychalgia", ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕, (แพทยศาสตร์) อาการปวดเหตุจิตใจ
  2. "Psychalgia". American Heritage Medical Dictionary. Physical pain that is possibly of psychological origin
  3. "Psychogenic & Psychological Pain&". Cleveland Clinic.
  4. "Psychogenic pain". Biology-Online Dictionary.
  5. Merskey, H; Spear, FG (1967). Pain, psychological and psychiatric aspects. London: Tindall & Cassell. ... pain which is independent of peripheral stimulation or of damage to the nervous system and due to emotional factors, or else pain in which any peripheral change (e.f. muscle tension) is a consequence of emotional factors.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  6. "International Association for the Study of Pain: Pain Definitions". สืบค้นเมื่อ 2015-01-12. Pain is an unpleasant sensory and emotional experience associated with actual or potential tissue damage, or described in terms of such damage. Derived from Bonica, JJ (1979). "The need of a taxonomy". Pain. 6 (3): 247–8. doi:10.1016/0304-3959(79)90046-0. PMID 460931. Unknown parameter |month= ignored (help)
  7. . IASP. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2017-07-10. สืบค้นเมื่อ 2017-12-01. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  8. "ICD-10 Version:2010". องค์การอนามัยโลก.
  9. "Functional Pain Syndromes: Presentation and Pathophysiology". IASP. สืบค้นเมื่อ http://www.iasp-pain.org/AM/Template.cfm?Section=IASP_Press_Books2&Template=/CM/HTMLDisplay.cfm&ContentID=10116. Unknown parameter |deadurl= ignored (help); Check date values in: |accessdate= (help)
  10. Sarno, John E (MD) และคณะ (2006). The Divided Mind: The Epidemic of Mindbody Disorders. ISBN 0-06-085178-3. Explicit use of et al. in: |authors= (help)CS1 maint: uses authors parameter (link)
  11. Tyrer, Stephen (2006). "Psychosomatic pain". The British Journal of Psychiatry. 188: 91–93.CS1 maint: uses authors parameter (link)

ความเจ, บปวดท, เก, ดจากจ, ตใจ, บทความน, กล, าวถ, งความเจ, บปวดทางกายเพราะเหต, ทางจ, ตใจ, สำหร, บความท, กข, ทางกายและทางใจตามพ, ทธศาสนา, เวทนา, หร, อาการปวดเหต, ตใจ, งกฤษ, psychogenic, pain, psychalgia, เป, นความเจ, บปวดทางกายท, จจ, ยทางจ, ตใจ, ทางอารมณ, และทาง. bthkhwamniklawthungkhwamecbpwdthangkayephraaehtuthangcitic sahrbkhwamthukkhthangkayaelathangictamphuththsasna duthi ewthna khwamecbpwdthiekidcakcitic hrux xakarpwdehtucitic 1 xngkvs Psychogenic pain psychalgia epnkhwamecbpwdthangkaythipccythangcitic thangxarmn aelathangphvtikrrm xacepnehtu epntwephim hruxepntwekuxkulihkhngyun 2 3 4 5 khwamecbpwdthiekidcakcitic Psychogenic pain bychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10F45 4ICD 9307 8karpwdsirsa pwdhlng aelapwdthxng epnrupaebbsungsamythisudkhxngxakarpwdehtucitic 3 aelaxacekidkbbukhkhlthimikhwamphidpktithangcitaemcanxy aetekidbxykwakbbukhkhlthisngkhmimyxmrb xkhk esraesiyic hruxthiphanehtukarnsungsrangkhwamthukkhxun khnikhmkmimlthinthangsngkhm ephraathngaephthyphyabalaelabukhkhlthwip mkkhidwakhwamecbpwdaebbniimcring aetphuchanaykarcaphicarnawa mnimidcringhruxecbnxykwakhwamecbpwdthimiehtuxun xngkhkrsakl International Association for the Study of Pain IASP niyamkhwamecbpwdwa epnprasbkarnthangprasathsmphsaelathangxarmn thismphnthkboxkashruxkarekidkhuncring khxngkhwamesiyhayinenuxeyux hruxthibxkodyichkhasungklawthungkhwamesiyhayechnnn 6 ephimkarenn odymihmayehtudngtxipni 7 khncanwnmakraynganwaecbaemcairkhwamesiyhaytxenuxeyuxhruxehtuthangphyathi srirphaphid pkticaekidephraaehtuthangcitic pkticaimmithangaeykaeyaprasbkarnkhxngkhnehlanicakthiekidephraakhwamesiytxenuxeyux thaeracaxasyraynganthiepnxtwisyni thaphwkekhaphicarnaprasbkarnkhxngtnwaepnkhwamecbpwd aelaraynganinrupaebbediywknkbkhwamecbpwdehtukhwamesiyhaytxenuxeyux erakkhwryxmrbmnwaepnkhwamecbpwd aephthysastrcd psychogenic pain hrux psychalgia waepnrupaebbhnungkhxngkhwamecbpwderuxrng chronic pain inchuxwa persistent somatoform pain disorder orkhecbpwdkhngyunthimixakarthangkay 8 hrux functional pain syndrome xakarecbpwdthimiphltxsrirphaphhruxcitic 9 ehtuxacsmphnthkbkhwamekhriyd khwamkhdaeyngthangciticthiimidrabay pyhacitic sngkhm aelakhwamphidpktithangcittang phuchanaykarbangphwkechuxwa khwamecbpwderuxrngchnidni miephuxepnekhruxnglxicephuxknxarmnthiepnxntray echnkhwamokrthaelakhwameduxddal imihprakt 10 aetkepneruxngkhdaeyngknthacasrupwa khwamecbpwderuxngrnglwnekidcakehtuthangcitic 11 karrksaxacrwmcitbabd yaaeksumesra yarangbpwd aelawithikarrksaxun thichwykarecbpwderuxrngodythw ipechingxrrthaelaxangxing aekikh psychalgia sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 chbb 2545 aephthysastr xakarpwdehtucitic Psychalgia American Heritage Medical Dictionary Physical pain that is possibly of psychological origin 3 0 3 1 Psychogenic amp Psychological Pain amp Cleveland Clinic Psychogenic pain Biology Online Dictionary Merskey H Spear FG 1967 Pain psychological and psychiatric aspects London Tindall amp Cassell pain which is independent of peripheral stimulation or of damage to the nervous system and due to emotional factors or else pain in which any peripheral change e f muscle tension is a consequence of emotional factors CS1 maint uses authors parameter link International Association for the Study of Pain Pain Definitions subkhnemux 2015 01 12 Pain is an unpleasant sensory and emotional experience associated with actual or potential tissue damage or described in terms of such damage Derived from Bonica JJ 1979 The need of a taxonomy Pain 6 3 247 8 doi 10 1016 0304 3959 79 90046 0 PMID 460931 Unknown parameter month ignored help IASP Taxonomy IASP khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2017 07 10 subkhnemux 2017 12 01 Unknown parameter deadurl ignored help ICD 10 Version 2010 xngkhkarxnamyolk Functional Pain Syndromes Presentation and Pathophysiology IASP subkhnemux http www iasp pain org AM Template cfm Section IASP Press Books2 amp Template CM HTMLDisplay cfm amp ContentID 10116 Unknown parameter deadurl ignored help Check date values in accessdate help Sarno John E MD aelakhna 2006 The Divided Mind The Epidemic of Mindbody Disorders ISBN 0 06 085178 3 Explicit use of et al in authors help CS1 maint uses authors parameter link Tyrer Stephen 2006 Psychosomatic pain The British Journal of Psychiatry 188 91 93 CS1 maint uses authors parameter link ekhathungcak https th wikipedia org w index php title khwamecbpwdthiekidcakcitic amp oldid 7330564, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม