fbpx
วิกิพีเดีย

ความเสมอภาคทางกฎหมาย

ความเสมอภาคทางกฎหมาย หรือชื่ออื่นเช่น ความเสมอภาคภายใต้กฎหมาย, ความเสมอภาคในสายตาของกฎหมาย หรือ สมภาคนิยมทางกฎหมาย เป็นหลักการว่าปัจเจกชนทุกคนต้องได้รับการปฏิบัติทางกฎหมายอย่างเท่าเทียมกัน และทั้งหมดอยู่ในบังคับของกฎหมายยุติธรรมเดียวกัน (วิถีทางที่ถูกต้องของกฎหมาย) ฉะนั้นกฎหมายต้องรับประกันว่าไม่มีปัจเจกหรือกลุ่มปัจเจกที่มีอภิสิทธิ์ หรือถูกรัฐบาลเลือกปฏิบัติ ความเสมอภาคทางกฎหมายเป็นหลักการพื้นฐานอย่างหนึ่งของเสรีนิยม หลักการนี้กำเนิดขึ้นจากปัญหาที่สำคัญและซับซ้อนเกี่ยวกับความเสมอภาค ความเป็นธรรมและความยุติธรรม ฉะนั้น หลักการความเสมอภาคทางกฎหมายจึงอยู่ร่วมกันไม่ได้และหมดไปในระบอบกฎหมาย เช่น กฎหมายทาส กฎหมายข้ารับใช้ เป็นต้น

ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ข้อ 7 ระบุว่า "ทุกคนเสมอภาคกันตามกฎหมายและมีสิทธิที่จะได้รับความคุ้มครองของกฎหมายเท่าเทียมกัน โดยปราศจากการเลือกปฏิบัติใด ทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันจากการเลือกปฏิบัติใด" (ฉบับแปลกระทรวงการต่างประเทศ) ฉะนั้นจะต้องไม่มีการเลือกปฏิบัติทางกฎหมายด้วยเหตุเชื้อชาติ เพศ สีผิว ชาติพันธุ์ ศาสนา ทุพพลภาพ หรือลักษณะอื่น โดยไม่มีเอกสิทธิ์ การเลือกปฏิบัติหรือความลำเอียง การรับประกันความเสมอภาคทั่วไปนี้บรรจุในรัฐธรรมนูญของประเทศส่วนใหญ่ในโลก แต่การนำไปปฏิบัตินั้นยังมีความแตกต่างกันอยู่

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "Universal Declaration of Human Rights". www.un.org. สืบค้นเมื่อ 31 March 2018.
  2. Chandran Kukathas, "Ethical Pluralism from a Classical Liberal Perspective," in The Many Pacqiuo and the One: Religious and Secular Perspectives on Ethical Pluralism in the Modern World, ed. Richard Madsen and Tracy B. Strong, Ethikon Series in Comparative Ethics (Princeton, NJ: Princeton University Press, 2003), p. 61 (ISBN 0-691-09993-6).
  3. "Read about "Equality" on Constitute". constituteproject.org. สืบค้นเมื่อ 31 March 2018.

ความเสมอภาคทางกฎหมาย, หร, อช, ออ, นเช, ความเสมอภาคภายใต, กฎหมาย, ความเสมอภาคในสายตาของกฎหมาย, หร, สมภาคน, ยมทางกฎหมาย, เป, นหล, กการว, าป, จเจกชนท, กคนต, องได, บการปฏ, ทางกฎหมายอย, างเท, าเท, ยมก, และท, งหมดอย, ในบ, งค, บของกฎหมายย, ธรรมเด, ยวก, ทางท, กต, องขอ. khwamesmxphakhthangkdhmay hruxchuxxunechn khwamesmxphakhphayitkdhmay khwamesmxphakhinsaytakhxngkdhmay hrux smphakhniymthangkdhmay epnhlkkarwapceckchnthukkhntxngidrbkarptibtithangkdhmayxyangethaethiymkn aelathnghmdxyuinbngkhbkhxngkdhmayyutithrrmediywkn withithangthithuktxngkhxngkdhmay 1 channkdhmaytxngrbpraknwaimmipceckhruxklumpceckthimixphisiththi hruxthukrthbaleluxkptibti khwamesmxphakhthangkdhmayepnhlkkarphunthanxyanghnungkhxngesriniym 2 hlkkarnikaenidkhuncakpyhathisakhyaelasbsxnekiywkbkhwamesmxphakh khwamepnthrrmaelakhwamyutithrrm chann hlkkarkhwamesmxphakhthangkdhmaycungxyurwmknimidaelahmdipinrabxbkdhmay echn kdhmaythas kdhmaykharbich epntnptiyyasaklwadwysiththimnusychn khx 7 rabuwa thukkhnesmxphakhkntamkdhmayaelamisiththithicaidrbkhwamkhumkhrxngkhxngkdhmayethaethiymkn odyprascakkareluxkptibtiid thukkhnmisiththithicaidrbkhwamkhumkhrxngethaethiymkncakkareluxkptibtiid chbbaeplkrathrwngkartangpraeths channcatxngimmikareluxkptibtithangkdhmaydwyehtuechuxchati ephs siphiw chatiphnthu sasna thuphphlphaph hruxlksnaxun odyimmiexksiththi kareluxkptibtihruxkhwamlaexiyng karrbpraknkhwamesmxphakhthwipnibrrcuinrththrrmnuykhxngpraethsswnihyinolk 3 aetkarnaipptibtinnyngmikhwamaetktangknxyuduephim aekikhsxngmatrthanxangxing aekikh Universal Declaration of Human Rights www un org subkhnemux 31 March 2018 Chandran Kukathas Ethical Pluralism from a Classical Liberal Perspective in The Many Pacqiuo and the One Religious and Secular Perspectives on Ethical Pluralism in the Modern World ed Richard Madsen and Tracy B Strong Ethikon Series in Comparative Ethics Princeton NJ Princeton University Press 2003 p 61 ISBN 0 691 09993 6 Read about Equality on Constitute constituteproject org subkhnemux 31 March 2018 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title khwamesmxphakhthangkdhmay amp oldid 9105762, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม