fbpx
วิกิพีเดีย

คาโรชิ

คาโรชิ (ญี่ปุ่น: 過労死โรมาจิKarōshi) แปลตรงตัวว่า "ตายจากการทำงานหนัก" เป็นคำในภาษาญี่ปุ่น เกี่ยวข้องกับการเสียชีวิตโดยฉับพลันที่เกิดจากการทำงาน สาเหตุทางการแพทย์ส่วนใหญ่ของคาโรชิคือหัวใจขาดเลือดเฉียงพลันและเส้นเลือดในสมองแตกฉับพลัน เป็นผลมาจากความเครียดและการขาดอาหารหรือการอดอาหาร ความเครียดทางใจจากที่ทำงานสามารถทำให้เกิดคาโรชิผ่านการฆ่าตัวตายได้เช่นกัน โดยผู้ที่ฆ่าตัวตายจากการทำงานหนักเกินไปจะเรียกว่า คาโรจิซัตสึ (過労自殺; karōjisatsu)

การประท้วงต่อต้านวัฒนธรรมคาโรชิในโตเกียว ค.ศ. 2018

กรณีแรกของคาโรชิในญี่ปุ่นมีรายงานในปี ค.ศ. 1969 เป็นกรณีของชายวัย 29 ปี พนักงานขนส่งของบริษัทหนังสือพิมพ์เจ้าใหญ่ที่สุดของญี่ปุ่น เสียชีวิตจากเส้นเลือดในสมองแตกฉับพลัน ผลการสำรวจในปี ค.ศ. 1988 โดย Labor Force Survey รายงานว่าเกือบหนึ่งในสี่ของลูกจ้างชายทำงานมากกว่า 60 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ซึ่งคิดเป็นมากกว่าหนึ่งครึ่งเท่าของเวลาการทำงานต่อสัปดาห์โดยปกติที่ควรเป็น 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ความแพร่หลายและความหนักของปัญหานี้ทำให้นักกฎหมายและแพทย์จำนวนหนึ่งรวมตัวจัดตั้ง "สายด่วนคาโรชิ" ขึ้นเพื่อให้บริการแก่ทุกคนในญี่ปุ่นที่ต้องการปรึกษาปัญหาเกี่ยวกับคาโรชิ

การเติบโตขึ้นของญี่ปุ่นหลังความเสียหายในสงครามโลกครั้งที่สองสู่การเป็นมหาอำนาจทางเศรษฐกิจประกอบกับค่าปฏิกรรมสงครามจำนวนมหาศาลนั้นเชื่อกันว่าเป็นปัจจัยกระตุ้นให้เกิดคาโรชิในระดับที่เรียกว่าเป็นโรคระบาดทั่ว มีรายงานยืนยันแล้วว่าหากลูกจ้างทำงานมากกว่า 12 ชั่วโมงต่อวัน ยาวนาน 6–7 วันต่อสัปดาห์เป็นเวลาหลายปีจะส่งผลให้เกิดความทรมานทางกายภาพและทางจิต

ลักษณะ

ในบทความขององค์การแรงงานสากลมียกตัวอย่างกรณีของคาโรชิที่พบได้ทั่วไปอยู่สี่กรณี คือ นาย ก เป็นลูกจ้างในบริษัทแปรรูปขนมขนาดใหญ่ ทำงานยาวนานถึง 110 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เสียชีวิตจากหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน สิริอายุ 34 ปี, นาย ข เป็นพนักงานขับรถโดยสารประจำทาง ทำงานสะสม 3,000 ชั่วโมงต่อปี และไม่ได้หยุดงานในรอบ 15 วัน ก่อนที่จะเสียชีวิตจากเส้นเลือดในสมองแตกฉับพลัน สิริอายุ 37 ปี, นาย ค เป็นลูกจ้างในบริษัทสิ่งพิมพ์ขนาดใหญ่ในโตเกียว ทำงานสะสม 4,320 ชั่วโมงต่อปี (รวมการทำงานนอกเวลาในตอนกลางคืน) เสียชีวิตจากเส้นเลือดในสมองแตกฉับพลัน สิริอายุ 58 ปี ภรรยาได้รับเงินชดเชยใน 14 ปีหลังนาย ค เสียชีวิต และ นาย ง เป็นพยาบาลวิชาชีพ เสียชีวิตจากหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันหลังทำงานอยู่เวร 34 ชั่วโมงต่อกันเป็นเวลา 5 ครั้งในเดือนนั้น สิริอายุ 22 ปี

นอกจากนี้ ปัญหาความเครียดยังมีส่วนสำคัญในการก่อคาโรชิ รายงานของ ILO ได้ระบุรายการปัญหาความเครียดจากที่ทำงานที่นำไปสู่การฆ่าตัวตายของลูกจ้างไว้ ได้แก่ การทำงานข้ามคืน ทำงานตอนดึกดื่น ทำงานแม้ในวันหยุด โดยเฉพาะในยุค "ทศวรรษที่สูญหาย" ของญี่ปุ่น ฟองสบู่แตก บริษัทจ้างงานลดลง ภาระงานต่อหัวจึงเพิ่มขึ้นตาม, ความเครียดสะสมจากความหงุดหงิดใจที่ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายของบริษัทได้, การบังคับลาออก (แม้แต่ลูกจ้างที่ทำงานมานานและถูกมองว่า "ซื่อสัตย์" ต่อบริษัท) การถูกปฏิเสธ หรือ การกลั่นแกล้ง เป็นต้น

ในประเทศอื่น

ปรากฏการณ์การเสียชีวิตจากการทำงานมากเกินยังพบแพร่หลายในพื้นที่อื่น ๆ ของเอเชีย มีรายงานการเสียชีวิต 745,194 กรณีที่สามารถย้อนเหตุมาจากการทำงานมากเกิน ในรายงานของ WHO/ILO ในปี ค.ศ. 2016

จีน

ดูเพิ่มเติมที่: ระบบการทำงาน 996 ชั่วโมง

ในจีน แนวคิด "การเสียชีวิตจากการทำงานหนัก" เรียกว่า กั้วเหลาสื่อ (จีนตัวย่อ: 过劳死; จีนตัวเต็ม: 過勞死; พินอิน: Guò láo sǐ) ทั้งในจีนและประเทศอื่น ๆ ในเอเชีย นักธุรกิจหลายคนทำงานยาวนานภายใต้ความกดดันของการจ้องขยับขยายเส้นสายและเพื่อให้คนในเส้นสายพอใจ ระบบเส้นสายนี้เรียกว่ากวงสี ซึ่งเป็นส่วนสำคัญมากในระบบธุรกิจของประเทศจีน แรงกดดันจากระบบกวงสีให้ตั้งใจทำงานมีผลให้เกิดกั้วเหลาสี่ตามมา นอกจากนี้ยังมีแรงกดดันให้นักธุรกิจในการต้องดื่มหนักและไปสถานบันเทิงยามค่ำคืนทุก ๆ คืนเหมือนกัน เพื่อยืนยันและสร้าง "ความมีชีวิตชีวา" ให้กับลูกจ้างคนอื่น ๆ

เกาหลีใต้

ในเกาหลีใต้มีคำเรียกว่า ควาโรซา (เกาหลี과로사; ฮันจา過勞死; อาร์อาร์gwarosa; เอ็มอาร์kwarosa) สำหรับเรียกการเสียชีวอนจากการทำงานหนัก เกาหลีใต้เป็นประเทศที่มีชั่วโมงทำงานยาวที่สุดแห่งหนึ่งในโลก มากกว่าญี่ปุ่น โดยอยู่ที่ 42 ชั่วโมงโดยเฉลี่ย ปัญหานี้มีมายาวนาน แต่เพิ่งมาได้รับความสนใจจากสื่อหลังมีการเสียชีวิตแบบควาโรซาในลูกจ้างของหน่วยงานรัฐบาล ในปี ค.ศ. 2018 รัฐบาลเกาหลีได้ผ่านกฎหมายลดชั่วโมงการทำงานสูงสุดลงจาก 68 เหลือ 52 ชั่วโมง

อ้างอิง

  1. Case Study: Karoshi: Death from overwork (Report) (ภาษาอังกฤษ). 2013-04-23.
  2. Katsuo Nishiyama; Jeffrey V. Johnson (February 4, 1997). . International Journal of Health Services. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 14, 2009. สืบค้นเมื่อ June 9, 2009.
  3. Pfeffer, Jeffrey (20 March 2018). Dying for a Paycheck. pp. 63, (chapter 5). ISBN 9780062800923.
  4. Marioka, Koji (2004). "Work Till You Drop". New Labor Forum. 13 (1): 80–85. doi:10.1080/10957960490265782. JSTOR 40342456.
  5. Japanese salarymen fight back The New York Times - Wednesday, June 11, 2008
  6. "Recession Puts More Pressure on Japan's Workers". Bloomberg News. January 5, 2009. จากแหล่งเดิมเมื่อ January 7, 2015.
  7. Case Study: Karoshi: Death from overwork (Report). 23 April 2013. สืบค้นเมื่อ 6 September 2017.
  8. . 2021-04-13. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 April 2021. สืบค้นเมื่อ 2022-03-22.
  9. Ma, Alexandra. "Japan's toxic culture of overwork drove a 31-year-old woman to death — and it looks like there's no end in sight". Insider (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2022-03-23. Work-related suicides among females and employees under 29 have also risen over the past few years[...] On Christmas Day 2015, 24-year-old ad agency employee Matsuri Takahashi jumped to her death [...] after working around 100 hours of overtime the month before. Weeks before her death, she posted on social media, according to the Guardian, to say: "I'm physically and mentally shattered" and "I want to die." On October 11, [...] a 23-year-old construction worker's suicide was karoshi, the Associated Press reported. The [...] man's body was found in the central Japan mountains in April, alongside a note that said he was "physically and mentally pushed to the limit."
  10. Pega, Frank; Náfrádi, Bálint; Momen, Natalie C.; Ujita, Yuka; Streicher, Kai N.; Prüss-Üstün, Annette M.; Descatha, Alexis; Driscoll, Tim; Fischer, Frida M.; Godderis, Lode; Kiiver, Hannah M.; Li, Jian; Magnusson Hanson, Linda L.; Rugulies, Reiner; Sørensen, Kathrine; Woodruff, Tracey J.; Woodruff, T. J. (2021-09-01). "Global, regional, and national burdens of ischemic heart disease and stroke attributable to exposure to long working hours for 194 countries, 2000–2016: A systematic analysis from the WHO/ILO Joint Estimates of the Work-related Burden of Disease and Injury". Environment International (ภาษาอังกฤษ). 154: 106595. doi:10.1016/j.envint.2021.106595. ISSN 0160-4120. PMC 8204267. PMID 34011457.
  11. Oster, Shai (30 June 2014). "Is Work Killing You? In China, Workers Die at Their Desks". Bloomberg.com. Bloomberg.
  12. Osburg, John (2013). Anxious Wealth: Money and Morality among China's New Rich. Stanford, California: Stanford University Press. p. 24.
  13. Osburg, John (2013). Anxious Wealth: Money and Morality Among China's New Rich. Stanford, California: Stanford University Press. p. 140.
  14. Osburg, John (2013). Anxious Wealth: Money and Morality Among China's New Rich. Stanford, California: Stanford University Press. p. 141.
  15. "E-나라지표 지표조회상세".
  16. Ko Dong-hwan (27 February 2017). "[K-Terminology] Koreans being overworked to death in 'kwarosa'". Korea Times.
  17. Haas, Benjamin (1 March 2018). "South Korea cuts 'inhumanely long' 68-hour working week". The Guardian – โดยทาง www.theguardian.com.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Japan Work Culture
  • from the Job Stress Network website of the Center For Social Epidemiology (Link not working)
  • (statistics for 2006)
  • Article in The Economist, December 2007


คาโรช, 過労死, โรมาจ, karōshi, แปลตรงต, วว, ตายจากการทำงานหน, เป, นคำในภาษาญ, เก, ยวข, องก, บการเส, ยช, ตโดยฉ, บพล, นท, เก, ดจากการทำงาน, สาเหต, ทางการแพทย, วนใหญ, ของค, อห, วใจขาดเล, อดเฉ, ยงพล, นและเส, นเล, อดในสมองแตกฉ, บพล, เป, นผลมาจากความเคร, ยดและการขาดอาห. khaorchi yipun 過労死 ormaci Karōshi aepltrngtwwa taycakkarthanganhnk epnkhainphasayipun ekiywkhxngkbkaresiychiwitodychbphlnthiekidcakkarthangan 1 saehtuthangkaraephthyswnihykhxngkhaorchikhuxhwickhadeluxdechiyngphlnaelaesneluxdinsmxngaetkchbphln epnphlmacakkhwamekhriydaelakarkhadxaharhruxkarxdxahar khwamekhriydthangiccakthithangansamarththaihekidkhaorchiphankarkhatwtayidechnkn odyphuthikhatwtaycakkarthanganhnkekinipcaeriykwa khaorcistsu 過労自殺 karōjisatsu 1 karprathwngtxtanwthnthrrmkhaorchiinotekiyw kh s 2018 krniaerkkhxngkhaorchiinyipunmiraynganinpi kh s 1969 epnkrnikhxngchaywy 29 pi phnkngankhnsngkhxngbristhhnngsuxphimphecaihythisudkhxngyipun esiychiwitcakesneluxdinsmxngaetkchbphln 2 3 phlkarsarwcinpi kh s 1988 ody Labor Force Survey raynganwaekuxbhnunginsikhxnglukcangchaythanganmakkwa 60 chwomngtxspdah sungkhidepnmakkwahnungkhrungethakhxngewlakarthangantxspdahodypktithikhwrepn 40 chwomngtxspdah khwamaephrhlayaelakhwamhnkkhxngpyhanithaihnkkdhmayaelaaephthycanwnhnungrwmtwcdtng saydwnkhaorchi khunephuxihbrikaraekthukkhninyipunthitxngkarpruksapyhaekiywkbkhaorchi 4 karetibotkhunkhxngyipunhlngkhwamesiyhayinsngkhramolkkhrngthisxngsukarepnmhaxanacthangesrsthkicprakxbkbkhaptikrrmsngkhramcanwnmhasalnnechuxknwaepnpccykratunihekidkhaorchiinradbthieriykwaepnorkhrabadthw miraynganyunynaelwwahaklukcangthanganmakkwa 12 chwomngtxwn yawnan 6 7 wntxspdahepnewlahlaypicasngphlihekidkhwamthrmanthangkayphaphaelathangcit 5 6 enuxha 1 lksna 2 inpraethsxun 2 1 cin 2 2 ekahliit 3 xangxing 4 aehlngkhxmulxunlksna aekikhinbthkhwamkhxngxngkhkaraerngngansaklmiyktwxyangkrnikhxngkhaorchithiphbidthwipxyusikrni khux 7 nay k epnlukcanginbristhaeprrupkhnmkhnadihy thanganyawnanthung 110 chwomngtxspdah esiychiwitcakhwiclmehlwechiybphln sirixayu 34 pi nay kh epnphnkngankhbrthodysarpracathang thangansasm 3 000 chwomngtxpi aelaimidhyudnganinrxb 15 wn kxnthicaesiychiwitcakesneluxdinsmxngaetkchbphln sirixayu 37 pi nay kh epnlukcanginbristhsingphimphkhnadihyinotekiyw thangansasm 4 320 chwomngtxpi rwmkarthangannxkewlaintxnklangkhun esiychiwitcakesneluxdinsmxngaetkchbphln sirixayu 58 pi phrryaidrbenginchdechyin 14 pihlngnay kh esiychiwit aela nay ng epnphyabalwichachiph esiychiwitcakhwiclmehlwechiybphlnhlngthanganxyuewr 34 chwomngtxknepnewla 5 khrngineduxnnn sirixayu 22 pinxkcakni pyhakhwamekhriydyngmiswnsakhyinkarkxkhaorchi 8 9 rayngankhxng ILO idraburaykarpyhakhwamekhriydcakthithanganthinaipsukarkhatwtaykhxnglukcangiw idaek karthangankhamkhun thangantxndukdun thanganaeminwnhyud odyechphaainyukh thswrrsthisuyhay khxngyipun fxngsbuaetk bristhcangnganldlng pharangantxhwcungephimkhuntam khwamekhriydsasmcakkhwamhngudhngidicthiimsamarthbrrluepahmaykhxngbristhid karbngkhblaxxk aemaetlukcangthithanganmananaelathukmxngwa suxsty txbristh karthukptiesth hrux karklnaeklng epntninpraethsxun aekikhpraktkarnkaresiychiwitcakkarthanganmakekinyngphbaephrhlayinphunthixun khxngexechiy mirayngankaresiychiwit 745 194 krnithisamarthyxnehtumacakkarthanganmakekin inrayngankhxng WHO ILO inpi kh s 2016 10 cin aekikh duephimetimthi rabbkarthangan 996 chwomng incin aenwkhid karesiychiwitcakkarthanganhnk eriykwa kwehlasux cintwyx 过劳死 cintwetm 過勞死 phinxin Guo lao sǐ 11 thngincinaelapraethsxun inexechiy nkthurkichlaykhnthanganyawnanphayitkhwamkddnkhxngkarcxngkhybkhyayesnsayaelaephuxihkhninesnsayphxic rabbesnsaynieriykwakwngsi sungepnswnsakhymakinrabbthurkickhxngpraethscin 12 aerngkddncakrabbkwngsiihtngicthanganmiphlihekidkwehlasitamma nxkcakniyngmiaerngkddnihnkthurkicinkartxngdumhnkaelaipsthanbnethingyamkhakhunthuk khunehmuxnkn 13 ephuxyunynaelasrang khwammichiwitchiwa ihkblukcangkhnxun 14 ekahliit aekikh inekahliitmikhaeriykwa khwaorsa ekahli 과로사 hnca 過勞死 xarxar gwarosa exmxar kwarosa sahrberiykkaresiychiwxncakkarthanganhnk ekahliitepnpraethsthimichwomngthanganyawthisudaehnghnunginolk makkwayipun odyxyuthi 42 chwomngodyechliy 15 pyhanimimayawnan aetephingmaidrbkhwamsniccaksuxhlngmikaresiychiwitaebbkhwaorsainlukcangkhxnghnwynganrthbal 16 inpi kh s 2018 rthbalekahliidphankdhmayldchwomngkarthangansungsudlngcak 68 ehlux 52 chwomng 17 xangxing aekikh 1 0 1 1 Case Study Karoshi Death from overwork Report phasaxngkvs 2013 04 23 Katsuo Nishiyama Jeffrey V Johnson February 4 1997 Karoshi Death from overwork Occupational health consequences of the Japanese production management International Journal of Health Services khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux February 14 2009 subkhnemux June 9 2009 Pfeffer Jeffrey 20 March 2018 Dying for a Paycheck pp 63 chapter 5 ISBN 9780062800923 Marioka Koji 2004 Work Till You Drop New Labor Forum 13 1 80 85 doi 10 1080 10957960490265782 JSTOR 40342456 Japanese salarymen fight back The New York Times Wednesday June 11 2008 Recession Puts More Pressure on Japan s Workers Bloomberg News January 5 2009 ekbcakaehlngedimemux January 7 2015 Case Study Karoshi Death from overwork Report 23 April 2013 subkhnemux 6 September 2017 Karoshi Institutet for sprak och folkminnen 2021 04 13 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 13 April 2021 subkhnemux 2022 03 22 Ma Alexandra Japan s toxic culture of overwork drove a 31 year old woman to death and it looks like there s no end in sight Insider phasaxngkvsaebbxemrikn subkhnemux 2022 03 23 Work related suicides among females and employees under 29 have also risen over the past few years On Christmas Day 2015 24 year old ad agency employee Matsuri Takahashi jumped to her death after working around 100 hours of overtime the month before Weeks before her death she posted on social media according to the Guardian to say I m physically and mentally shattered and I want to die On October 11 a 23 year old construction worker s suicide was karoshi the Associated Press reported The man s body was found in the central Japan mountains in April alongside a note that said he was physically and mentally pushed to the limit Pega Frank Nafradi Balint Momen Natalie C Ujita Yuka Streicher Kai N Pruss Ustun Annette M Descatha Alexis Driscoll Tim Fischer Frida M Godderis Lode Kiiver Hannah M Li Jian Magnusson Hanson Linda L Rugulies Reiner Sorensen Kathrine Woodruff Tracey J Woodruff T J 2021 09 01 Global regional and national burdens of ischemic heart disease and stroke attributable to exposure to long working hours for 194 countries 2000 2016 A systematic analysis from the WHO ILO Joint Estimates of the Work related Burden of Disease and Injury Environment International phasaxngkvs 154 106595 doi 10 1016 j envint 2021 106595 ISSN 0160 4120 PMC 8204267 PMID 34011457 Oster Shai 30 June 2014 Is Work Killing You In China Workers Die at Their Desks Bloomberg com Bloomberg Osburg John 2013 Anxious Wealth Money and Morality among China s New Rich Stanford California Stanford University Press p 24 Osburg John 2013 Anxious Wealth Money and Morality Among China s New Rich Stanford California Stanford University Press p 140 Osburg John 2013 Anxious Wealth Money and Morality Among China s New Rich Stanford California Stanford University Press p 141 E 나라지표 지표조회상세 Ko Dong hwan 27 February 2017 K Terminology Koreans being overworked to death in kwarosa Korea Times Haas Benjamin 1 March 2018 South Korea cuts inhumanely long 68 hour working week The Guardian odythang www theguardian com aehlngkhxmulxun aekikh wikiphcnanukrm mikhwamhmaykhxngkhawa karoshi Japan Work Culture Report on Karoshi 1997 from the Job Stress Network website of the Center For Social Epidemiology Link not working Japan working itself to an early grave statistics for 2006 Article in The Economist December 2007 Yahoo News article 7 8 2008 Picture of a T shirt warning of karoshi ekhathungcak https th wikipedia org w index php title khaorchi amp oldid 10443420, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม