fbpx
วิกิพีเดีย

ความง่วง

ความง่วงหรืออาการง่วงซึม (อังกฤษ: somnolence, sleepiness, หรือ drowsiness) เป็นภาวะที่ร่างกายต้องการหลับอย่างแรง หรือหลับเป็นเวลานานผิดปกติ (เทียบกับอาการนอนมาก) ความง่วงมีความหมายและสาเหตุแยกกัน สามารถหมายถึงภาวะปกติก่อนหลับ สภาพที่อยู่ในภาวะง่วงเนื่องจากความผิดปกติของจังหวะรอบวัน หรือกลุ่มอาการของปัญหาสุขภาพอื่น ความง่วงสามารถเกิดร่วมกับภาวะง่วงงุน (lethargy) ความอ่อนเปลี้ยและการขาดความคล่องทางจิต (lack of mental agility)

ความง่วง
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10R40.0
ICD-9780.09
MedlinePlus003208

มักมองว่าความง่วงเป็นอาการมากกว่าโรคด้วยตัวมันเอง ทว่า มโนทัศน์ความง่วงเกิดซ้ำในบางเวลาจากสาเหตุบางอย่างประกอบเป็นความผิดปกติต่าง ๆ เช่น ความง่วงกลางวันมากเกิน (excessive daytime sleepiness) โรคหลับงานกะ (shift work sleep disorder) ฯลฯ และมีรหัสการแพทย์สำหรับความง่วงที่ถือเป็นโรค

ความง่วงอาจเป็นอันตรายเมื่อดำเนินงานที่ต้องอาศัยสมาธิต่อเนื่อง เช่น การขับยานพาหนะ เมื่อบุคคลรู้สึกล้าระดับหนึ่ง อาจประสบการหลับเล็ก (microsleep) ได้

อ้างอิง

  1. Bereshpolova, Y.; Stoelzel, C. R.; Zhuang, J.; Amitai, Y.; Alonso, J.-M.; Swadlow, H. A. (2011). "Getting Drowsy? Alert/Nonalert Transitions and Visual Thalamocortical Network Dynamics". Journal of Neuroscience. 31 (48): 17480–7. doi:10.1523/JNEUROSCI.2262-11.2011. PMID 22131409.
  2. "Drowsiness - Symptoms, Causes, Treatments". www.healthgrades.com. สืบค้นเมื่อ 2015-10-31.

ความง, วง, หร, ออาการง, วงซ, งกฤษ, somnolence, sleepiness, หร, drowsiness, เป, นภาวะท, างกายต, องการหล, บอย, างแรง, หร, อหล, บเป, นเวลานานผ, ดปกต, เท, ยบก, บอาการนอนมาก, ความหมายและสาเหต, แยกก, สามารถหมายถ, งภาวะปกต, อนหล, สภาพท, อย, ในภาวะง, วงเน, องจากความผ,. khwamngwnghruxxakarngwngsum xngkvs somnolence sleepiness hrux drowsiness epnphawathirangkaytxngkarhlbxyangaerng hruxhlbepnewlananphidpkti ethiybkbxakarnxnmak khwamngwngmikhwamhmayaelasaehtuaeykkn samarthhmaythungphawapktikxnhlb 1 sphaphthixyuinphawangwngenuxngcakkhwamphidpktikhxngcnghwarxbwn hruxklumxakarkhxngpyhasukhphaphxun khwamngwngsamarthekidrwmkbphawangwngngun lethargy khwamxxnepliyaelakarkhadkhwamkhlxngthangcit lack of mental agility 2 khwamngwngbychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10R40 0ICD 9780 09MedlinePlus003208mkmxngwakhwamngwngepnxakarmakkwaorkhdwytwmnexng thwa monthsnkhwamngwngekidsainbangewlacaksaehtubangxyangprakxbepnkhwamphidpktitang echn khwamngwngklangwnmakekin excessive daytime sleepiness orkhhlbnganka shift work sleep disorder l aelamirhskaraephthysahrbkhwamngwngthithuxepnorkhkhwamngwngxacepnxntrayemuxdaeninnganthitxngxasysmathitxenuxng echn karkhbyanphahna emuxbukhkhlrusuklaradbhnung xacprasbkarhlbelk microsleep idxangxing aekikh Bereshpolova Y Stoelzel C R Zhuang J Amitai Y Alonso J M Swadlow H A 2011 Getting Drowsy Alert Nonalert Transitions and Visual Thalamocortical Network Dynamics Journal of Neuroscience 31 48 17480 7 doi 10 1523 JNEUROSCI 2262 11 2011 PMID 22131409 Drowsiness Symptoms Causes Treatments www healthgrades com subkhnemux 2015 10 31 bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title khwamngwng amp oldid 8551540, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม