fbpx
วิกิพีเดีย

ชาลส์ สก็อต เชอร์ริงตัน

เซอร์ ชาลส์ สก็อต เชอร์ริงตัน (อังกฤษ: Charles Scott Sherrington, 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 1857 – 4 มีนาคม ค.ศ. 1952) เป็นนักสรีรวิทยา นักประสาทวิทยา และพยาธิแพทย์ชาวอังกฤษ เป็นผู้พิสูจน์ว่ารีเฟล็กซ์เป็นกระบวนการที่เกิดร่วมกันของเซลล์ประสาทหลายเซลล์ และอธิบายการจัดระเบียบการส่งกระแสประสาท เพื่อให้เกิดการหดเกร็ง-คลายกล้ามเนื้อที่เป็นคู่ปฏิปักษ์ (Reciprocal innervation) จากผลงานนี้ ทำให้เชอร์ริงตันได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ ร่วมกับเอดการ์ แอเดรียนในปี ค.ศ. 1932

ชาลส์ สก็อต เชอร์ริงตัน
OM GBE PRS FRCP FRCS
เกิด27 พฤศจิกายน ค.ศ. 1857(1857-11-27)
อิสลิงตัน มิดเดิลเซ็กส์ อังกฤษ สหราชอาณาจักร
เสียชีวิต4 มีนาคม ค.ศ. 1952 (94 ปี)
อีสต์บอร์น ซัสเซกซ์ อังกฤษ สหราชอาณาจักร
พลเมืองบริติช
ศิษย์เก่า
รางวัล
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สาขา
สถาบันที่ทำงาน
อาจารย์ที่ปรึกษา
  • ไมเคิล ฟอสเตอร์
  • จอห์น นิวพอร์ต แลงลีย์
ลูกศิษย์ในระดับปริญญาเอก
  • จอห์น ฟาร์ควูฮาร์ ฟุลตัน
  • จอห์น แคริว เอ็กเคิลส์
  • อัลเฟรท ฟรือลิช

ชีวประวัติอย่างเป็นทางการระบุว่าชาลส์ สก็อต เชอร์ริงตันเกิดที่เมืองอิสลิงตันในปี ค.ศ. 1857 เป็นบุตรของเจมส์ นอร์ตัน เชอร์ริงตันกับแอนน์ เธอร์เทล บิดาของเขาเสียชีวิตก่อนเขาจะเกิด ทำให้เชอร์ริงตันเติบโตมากับเคเล็บ โรส ผู้ผลักดันให้เขาเรียนด้านการแพทย์ เชอร์ริงตันเรียนที่โรงเรียนอิปสวิชและราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งอังกฤษ ก่อนจะเรียนต่อที่วิทยาลัยฟิตซ์วิลเลียมของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ จากนั้นเขามีโอกาสทำงานในหลายเมืองของยุโรป เช่น สทราซบูร์ โตเลโด และเบอร์ลิน ระหว่างค.ศ. 1891–1895 เชอร์ริงตันทำงานที่สถาบันบราวน์เพื่อการวิจัยสรีรวิทยาและพยาธิวิทยาขั้นสูงของมหาวิทยาลัยลอนดอน และมหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล ก่อนจะดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์เวย์นฟลีตด้านสรีรวิทยาของมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด เขาดำรงตำแหน่งนี้จนเกษียณในปี ค.ศ. 1936 ด้านชีวิตส่วนตัว เชอร์ริงตันแต่งงานกับเอเทล แมรี ไรต์ในปี ค.ศ. 1891 ทั้งคู่มีบุตรด้วยกัน 1 คน เชอร์ริงตันเสียชีวิตจากภาวะหัวใจวายเฉียบพลันที่เมืองอีสต์บอร์นในปี ค.ศ. 1952

เชอร์ริงตันมีผลงานที่สำคัญคือการค้นพบว่ารีเฟล็กซ์เกิดจากการทำงานแบบเชื่อมโยงกันของหลายเซลล์ประสาท โดยอิงจากหลัก reciprocal innervation หรือการหดเกร็งของกล้ามเนื้อหนึ่ง จะส่งผลให้กล้ามเนื้อที่เป็นคู่ตรงข้ามคลายตัวเพื่อให้กล้ามเนื้อทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลบล้างความเชื่อเดิมที่ว่ารีเฟล็กซ์เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นเดี่ยว ๆ ในวงรีเฟล็กซ์ นอกจากนี้เชอร์ริงตันยังเป็นผู้ริเริ่มใช้ศัพท์จุดประสานประสาท (synapse) เพื่ออธิบายโครงสร้างที่ใช้ส่งผ่านสารสื่อประสาทและกระแสไฟฟ้าระหว่างเซลล์ประสาท

อ้างอิง

  1. Liddell, E. G. T. (1952). "Charles Scott Sherrington. 1857-1952". Obituary Notices of Fellows of the Royal Society. 8 (21): 241–270. doi:10.1098/rsbm.1952.0016. JSTOR 768811.
  2. Neurotree profile: Charles Scott Sherrington
  3. "Sir Charles Sherrington - Biographical". Nobel Prize official Website. 1932. สืบค้นเมื่อ Nov 26, 2016.
  4. Karl Grandin, ed. (1932). "Sir Charles Sherrington Biography". Les Prix Nobel. The Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2008-07-23.CS1 maint: extra text: authors list (link)
  5. Eccles, J.; Gibson, W. (1979). Sherrington: His Life and Thought. Berlin; New York: Springer International. pp. 1–6, 15, 24–25. ISBN 978-0-387-09063-4.
  6. "Sir Charles Sherrington - Biographical". NobelPrize.org. สืบค้นเมื่อ March 26, 2020.
  7. Sherrington, Charles Scott (July 8, 1909). "Reciprocal innervation of antagonistic muscles. Fourteenth note. - On double reciprocal innervation". The Royal Society. สืบค้นเมื่อ March 26, 2020.
  8. "Sir Charles Scott Sherrington - British physiologist". Britannica. สืบค้นเมื่อ March 26, 2020.
  9. Foster, M.; Sherrington, C.S. (1897). Textbook of Physiology, volume 3 (7th ed.). London: Macmillan. p. 929.
  10. "Sir Charles Scott Sherrington (1857–1952)". American Journal of Physiology. สืบค้นเมื่อ March 26, 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น

  •   วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ชาลส์ สก็อต เชอร์ริงตัน
  •   วิกิคำคม มีคำคมที่กล่าวโดย หรือเกี่ยวกับ ชาลส์ สก็อต เชอร์ริงตัน

ชาลส, สก, อต, เชอร, งต, เซอร, งกฤษ, charles, scott, sherrington, พฤศจ, กายน, 1857, นาคม, 1952, เป, นน, กสร, รว, ทยา, กประสาทว, ทยา, และพยาธ, แพทย, ชาวอ, งกฤษ, เป, นผ, จน, าร, เฟล, กซ, เป, นกระบวนการท, เก, ดร, วมก, นของเซลล, ประสาทหลายเซลล, และอธ, บายการจ, ดระเ. esxr chals skxt echxrringtn xngkvs Charles Scott Sherrington 27 phvscikayn kh s 1857 4 minakhm kh s 1952 epnnksrirwithya nkprasathwithya aelaphyathiaephthychawxngkvs epnphuphisucnwarieflksepnkrabwnkarthiekidrwmknkhxngesllprasathhlayesll aelaxthibaykarcdraebiybkarsngkraaesprasath ephuxihekidkarhdekrng khlayklamenuxthiepnkhuptipks Reciprocal innervation cakphlnganni thaihechxrringtnidrbrangwloneblsakhasrirwithyahruxkaraephthy rwmkbexdkar aexedriyninpi kh s 1932chals skxt echxrringtn OM GBE PRS FRCP FRCSekid27 phvscikayn kh s 1857 1857 11 27 xislingtn midedilesks xngkvs shrachxanackresiychiwit4 minakhm kh s 1952 94 pi xistbxrn ssesks xngkvs shrachxanackrphlemuxngbritichsisyekaorngeriynxipswich rachwithyalyslyaephthyaehngxngkvs mhawithyalyekhmbridcrangwlphakhismachikrachsmakhmaehnglxndxn 1893 1 ehriyyrxyl 1905 ehriyyokhpliy 1927 rangwloneblsakhasrirwithyahruxkaraephthy 1932 xachiphthangwithyasastrsakhasrirwithya phyathiwithya miychwithya prasathwithya withyaaebkhthieriysthabnthithangankhingskhxlelclxndxn mhawithyalyliewxrphul mhawithyalyxxksfxrdxacarythipruksaimekhil fxsetxr cxhn niwphxrt aelngliyluksisyinradbpriyyaexkcxhn farkhwuhar fultn cxhn aekhriw exkekhils xlefrth fruxlich 2 chiwprawtixyangepnthangkarrabuwachals skxt echxrringtnekidthiemuxngxislingtninpi kh s 1857 epnbutrkhxngecms nxrtn echxrringtnkbaexnn ethxrethl 3 bidakhxngekhaesiychiwitkxnekhacaekid thaihechxrringtnetibotmakbekhelb ors phuphlkdnihekhaeriyndankaraephthy echxrringtneriynthiorngeriynxipswichaelarachwithyalyslyaephthyaehngxngkvs kxncaeriyntxthiwithyalyfitswileliymkhxngmhawithyalyekhmbridc caknnekhamioxkasthanganinhlayemuxngkhxngyuorp echn sthrasbur otelod aelaebxrlin rahwangkh s 1891 1895 echxrringtnthanganthisthabnbrawnephuxkarwicysrirwithyaaelaphyathiwithyakhnsungkhxngmhawithyalylxndxn 4 aelamhawithyalyliewxrphul 5 kxncadarngtaaehnngsastracaryewynflitdansrirwithyakhxngmhawithyalyxxksfxrd ekhadarngtaaehnngnicneksiyninpi kh s 1936 1 danchiwitswntw echxrringtnaetngngankbexethl aemri irtinpi kh s 1891 thngkhumibutrdwykn 1 khn echxrringtnesiychiwitcakphawahwicwayechiybphlnthiemuxngxistbxrninpi kh s 1952 6 echxrringtnmiphlnganthisakhykhuxkarkhnphbwarieflksekidcakkarthanganaebbechuxmoyngknkhxnghlayesllprasath odyxingcakhlk reciprocal innervation hruxkarhdekrngkhxngklamenuxhnung casngphlihklamenuxthiepnkhutrngkhamkhlaytwephuxihklamenuxthanganidxyangmiprasiththiphaph lblangkhwamechuxedimthiwarieflksepnkrabwnkarthiekidkhunediyw inwngrieflks 7 8 nxkcakniechxrringtnyngepnphurierimichsphthcudprasanprasath synapse ephuxxthibayokhrngsrangthiichsngphansarsuxprasathaelakraaesiffarahwangesllprasath 9 10 xangxing aekikh 1 0 1 1 Liddell E G T 1952 Charles Scott Sherrington 1857 1952 Obituary Notices of Fellows of the Royal Society 8 21 241 270 doi 10 1098 rsbm 1952 0016 JSTOR 768811 Neurotree profile Charles Scott Sherrington Sir Charles Sherrington Biographical Nobel Prize official Website 1932 subkhnemux Nov 26 2016 Karl Grandin ed 1932 Sir Charles Sherrington Biography Les Prix Nobel The Nobel Foundation subkhnemux 2008 07 23 CS1 maint extra text authors list link Eccles J Gibson W 1979 Sherrington His Life and Thought Berlin New York Springer International pp 1 6 15 24 25 ISBN 978 0 387 09063 4 Sir Charles Sherrington Biographical NobelPrize org subkhnemux March 26 2020 Sherrington Charles Scott July 8 1909 Reciprocal innervation of antagonistic muscles Fourteenth note On double reciprocal innervation The Royal Society subkhnemux March 26 2020 Sir Charles Scott Sherrington British physiologist Britannica subkhnemux March 26 2020 Foster M Sherrington C S 1897 Textbook of Physiology volume 3 7th ed London Macmillan p 929 Sir Charles Scott Sherrington 1857 1952 American Journal of Physiology subkhnemux March 26 2020 aehlngkhxmulxun aekikh wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb chals skxt echxrringtn wikikhakhm mikhakhmthiklawody hruxekiywkb chals skxt echxrringtn bthkhwamekiywkbchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title chals skxt echxrringtn amp oldid 8768247, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม