fbpx
วิกิพีเดีย

ชาวซาซะก์

ซาซะก์ (อินโดนีเซีย: Suku Sasak) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์พื้นเมืองที่อาศัยอยู่บนเกาะลอมบอกในประเทศอินโดนีเซีย มีประชากรราว 3,600,000 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 85 ของประชากรทั้งหมดบนเกาะดังกล่าว ชาวซาซะก์มีความเกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกับชาวบาหลีไม่ว่าจะเป็นด้านเชื้อชาติและภาษา แต่ต่างกันเพียงศาสนาที่ส่วนใหญ่ชาวบาหลีนับถือศาสนาฮินดู ส่วนชาวซาซะก์ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม

ซาซะก์
ขบวนแห่เจ้าสาวชาวซาซะก์ในพิธีสมรส
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
จังหวัดนูซาเติงการาตะวันตก3,000,000 คน
ภาษา
ซาซะก์, อินโดนีเซีย
ศาสนา
ส่วนใหญ่นับถืออิสลาม (ลัทธิเวอตูลีมา • ลัทธิเวอตูเตอลู)
ส่วนน้อยนับถือฮินดูและพุทธปนนับถือผี
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
บาหลี, ซุมบาวา

ประวัติ

 
สตรีซาซะก์ในอดีต

ประวัติศาสตร์เบื้องต้นของชาวซาซะก์นั้นไม่ใคร่ปรากฏนัก ปรากฏแค่ในช่วงที่เกาะลอมบอกอันเป็นที่อาศัยของชาวซาซะก์นั้นถูกกาจะฮ์ มาดา (Gajah Mada) นายกรัฐมนตรีแห่งจักรวรรดิมัชปาหิตเข้าปกครอง ครั้นในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 จนถึงต้นศตวรรษที่ 17 ชาวซาซะก์ถูกบังคับให้เข้ารีตศาสนาอิสลาม หลังอยู่ภายใต้อิทธิพลของเจ้าชายปราเปิน (Pangeran Prapen) หรือ ซูนันปราเปิน (Sunan Prapen) พระโอรสของระเด่นปากู (Raden Paku) หรือ ซูนันกีรี (Sunan Giri) ซึ่งซูนันกีรีและชาวมุสลิมจากเกาะมากัสซาร์มาเผยแผ่ศาสนา แต่ชาวซาซะก์เองมักผสานความเชื่อ โดยนำหลักศาสนาอิสลามขั้นพื้นฐานมาผสานกับความเชื่อของศาสนาฮินดู-พุทธ เข้ากับการนับถือผี จนเกิดเป็นลัทธิเวอตูเตอลู (Wetu Telu) หรือลัทธิสามเวลาขึ้น

ช่วงต้นศตวรรษที่ 16 เกาะลอมบอกถูกอาณาจักรเกิลเกิล (Gelgel) จากเกาะบาหลีเข้ายึดครอง จึงมีการอพยพชาวบาหลีเข้าไปตั้งถิ่นฐานบนเกาะลอมบอกจำนวนมาก ปัจจุบันยังมีผู้สืบเชื้อสายชาวบาหลีอาศัยบนเกาะลอมบอกราว 300,000 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 10-15 ของประชากรบนเกาะ ซึ่งชาวบาหลีเหล่านี้ยังส่งอิทธิพลฮินดูแก่ลัทธิเวอตูเตอลูของลอมบอกด้วย

ภาษา

เรือนแบบชาวซาซะก์ดั้งเดิมที่หมู่บ้านซาเด
มัสยิดบายันเบอเลิก มัสยิดที่เก่าแก่ที่สุดบนเกาะลอมบอก เป็นมัสยิดตามคติลัทธิเวอตูเตอลู

ภาษาซาซะก์มีความเชื่อมโยงและใกล้เคียงกับภาษาบาหลี ซุมบาวา และภาษาของอินโดนีเซียฝั่งตะวันตกอื่น ๆ นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งภาษาซาซะก์ออกเป็นสำเนียงต่าง ๆ ได้แก่ สำเนียงเหนือ หรือกูโต-กูเต (Kuto-Kute), สำเนียงกลาง หรือเมอโน-เมอเนอ (Meno-Mene), สำเนียงกลางตอนใต้ หรือมริยะก์-มริกู (Mriak-Mriku), สำเนียงกลางฝั่งตะวันออกและตะวันตก หรือเงอโน-เงอเนอ (Ngeno-Ngene) สำเนียงตะวันออกเฉียงเหนือ หรือเงอโต-เงอเตอ (Ngeto-Ngete) และสำเนียงย่อยอื่น ๆ

ศาสนา

ชาวซาซะก์ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลามลัทธิเวอตูลีมา (Wetu Lima) หรือวะก์ตูลีมา (Waktu Lima) หรือลัทธิห้าเวลา ที่หมายถึงการละหมาดห้าครั้งอันเป็นวัตรปฏิบัติที่ชาวมุสลิมพึงปฏิบัติ แต่ชาวซาซะก์อีกส่วนหนึ่งนับถือลัทธิเวอตูเตอลู (Wetu Telu) หรือวะก์ตูเตอลู (Waktu Telu) หรือลัทธิสามเวลา ที่ศาสนิกชนจะละหมาดเพียงแค่สามครั้งเท่านั้น ต่างจากมุสลิมอื่น ๆ ที่ละหมาดห้าเวลา

อิสลามิกชนที่ปฏิบัติตามแนวทางของลัทธิเวอตูเตอลูนั้นสามารถพบได้ทั่วไปบนเกาะ โดยเฉพาะที่เมืองบายันอันเป็นที่กำเนิดลัทธิ นอกจากนี้ยังมีชุมชนต่าง ๆ ที่ส่วนใหญ่นับถือลัทธิเวอตูเตอลู อาทิ มาตารัม (Mataram), ปูจุง (Pujung), เซิงกล (Sengkol), รัมบีตัน (Rambitan), ซาเด (Sade), เตอเตอบาตู (Tetebatu), บุมบุง (Bumbung), เซิมบาลุน (Sembalun), เซอนารู (Senaru), โลโยะก์ (Loyok) และปาซูกูลัน (Pasugulan)

นอกจากนี้ยังมีชาวซาซะก์จำนวนหนึ่งที่เรียกว่าโบดา (Bodha) จำนวน 8,000-12,533 คน ส่วนใหญ่อาศัยที่หมู่บ้านเบินเติก (Bentek) เชิงเขารินจานี (Gunung Rinjani) ยังคงนับถือเทพเจ้าต่าง ๆ และไม่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาอิสลาม แต่รับอิทธิพลด้านพิธีกรรมและภาษาจากศาสนาฮินดูและพุทธ พวกเขามีความเชื่อด้านเวทมนตร์เช่นเดียวกับเวอตูเตอลูเพียงแต่ไม่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาอิสลาม โบดาจะนับถือเทพเจ้าทั้งหมดห้าพระองค์ คือ บาตารากูรู (Batara Guru) เป็นเทพเจ้าสูงสุด ส่วนบาตาราซะก์ตี (Batara Sakti) และบาตาราเจอเนิง (Batara Jeneng) เป็นเทพเจ้ารองลงมา และมีเทวสตรีอีกสองพระองค์คืออีดาดารีซะก์ตี (Idadari Sakti) และอีดาดารีเจอเนิง (Idadari Jeneng) ซึ่งเป็นพระชายาของเทพเจ้ารองทั้งสองดังกล่าว แม้ว่าพวกเขายังนับถือผี แต่ก็ได้รับอิทธิพลจากศาสนาพุทธที่เข้มข้นขึ้นจากการเผยแผ่ศาสนาจากพระธรรมทูตในยุคหลังมานี้ ปัจจุบันจึงมีทั้งพระสงฆ์และหมอผีปฏิบัติศาสนกิจตามความเชื่อ

อ้างอิง

  1. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2007-04-03. สืบค้นเมื่อ 2017-02-26.
  2. "Sasak of Indonesia". PeopleGroup.org. สืบค้นเมื่อ 2014-10-08.
  3. Martijn Theodoor Houtsma, บ.ก. (1993). E.J. Brill's First Encyclopaedia of Islam, 1913–1936, Volume 5. BRILL. ISBN 90-04-09791-0.
  4. David Harnish & Anne Rasmussen (2011). Divine Inspirations: Music and Islam in Indonesia. Oxford University Press. ISBN 0-19-979309-3.
  5. Kaj Arhem & Guido Sprenger (2015). Animism in Southeast Asia. Routledge. ISBN 1-317-33662-3.
  6. . NB this article is not currently available from previous URL source (Aug 2010). Temenos 32 (1996), 7–36. 1996. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (acrobat pdf) เมื่อ 2007-04-03. สืบค้นเมื่อ 2005-06-13.
  7. Robert Cribb (2013). Historical Atlas of Indonesia. Routledge. ISBN 1-136-78057-2.
  8. Kal Müller (1997). David Pickell (บ.ก.). East of Bali: From Lombok to Timor. Tuttle Publishing. ISBN 962-593-178-3.
  9. "Sasak". Ethnologue. สืบค้นเมื่อ 2014-10-08.
  10. Ziadah Ziad (15 มีนาคม 2556). "Sasak Buddhist". Traveler's Journal. สืบค้นเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2560. Check date values in: |accessdate=, |date= (help)
  11. . NB this article is not currently available from previous URL source (Aug 2010). Temenos 32 (1996), 7–36. 1996. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (acrobat pdf) เมื่อ 2007-04-03. สืบค้นเมื่อ 2005-06-13.
  12. Webshots pics
  13. "BUDDHISM IN INDONESIA PART 5". Sound Reporters Radio Zevende Hemel. สืบค้นเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2560. Check date values in: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

  •   วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ชาวซาซะก์

ชาวซาซะก, ซาซะก, นโดน, เซ, suku, sasak, เป, นกล, มชาต, นธ, นเม, องท, อาศ, ยอย, บนเกาะลอมบอกในประเทศอ, นโดน, เซ, ประชากรราว, คน, หร, อค, ดเป, นร, อยละ, ของประชากรท, งหมดบนเกาะด, งกล, าว, ความเก, ยวข, องและเช, อมโยงก, บชาวบาหล, ไม, าจะเป, นด, านเช, อชาต, และภาษา. sasak xinodniesiy Suku Sasak epnklumchatiphnthuphunemuxngthixasyxyubnekaalxmbxkinpraethsxinodniesiy miprachakrraw 3 600 000 khn hruxkhidepnrxyla 85 khxngprachakrthnghmdbnekaadngklaw chawsasakmikhwamekiywkhxngaelaechuxmoyngkbchawbahliimwacaepndanechuxchatiaelaphasa aettangknephiyngsasnathiswnihychawbahlinbthuxsasnahindu swnchawsasakswnihynbthuxsasnaxislamsasakkhbwnaehecasawchawsasakinphithismrsphumiphakhthimiprachakrxyangminysakhycnghwdnusaetingkaratawntk3 000 000 khnphasasasak xinodniesiysasnaswnihynbthuxxislam lththiewxtulima lththiewxtuetxlu swnnxynbthuxhinduaelaphuththpnnbthuxphi 1 klumchatiphnthuthiekiywkhxngbahli sumbawa enuxha 1 prawti 2 phasa 3 sasna 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxunprawti aekikh strisasakinxdit prawtisastrebuxngtnkhxngchawsasaknnimikhrpraktnk praktaekhinchwngthiekaalxmbxkxnepnthixasykhxngchawsasaknnthukkacah mada Gajah Mada naykrthmntriaehngckrwrrdimchpahitekhapkkhrxng khrninplaykhriststwrrsthi 16 cnthungtnstwrrsthi 17 chawsasakthukbngkhbihekharitsasnaxislam hlngxyuphayitxiththiphlkhxngecachaypraepin Pangeran Prapen hrux sunnpraepin Sunan Prapen phraoxrskhxngraednpaku Raden Paku hrux sunnkiri Sunan Giri 3 4 sungsunnkiriaelachawmuslimcakekaamakssarmaephyaephsasna aetchawsasakexngmkphsankhwamechux odynahlksasnaxislamkhnphunthanmaphsankbkhwamechuxkhxngsasnahindu phuthth ekhakbkarnbthuxphi cnekidepnlththiewxtuetxlu Wetu Telu hruxlththisamewlakhun 5 6 chwngtnstwrrsthi 16 ekaalxmbxkthukxanackrekilekil Gelgel cakekaabahliekhayudkhrxng 7 cungmikarxphyphchawbahliekhaiptngthinthanbnekaalxmbxkcanwnmak pccubnyngmiphusubechuxsaychawbahlixasybnekaalxmbxkraw 300 000 khn hruxkhidepnrxyla 10 15 khxngprachakrbnekaa sungchawbahliehlaniyngsngxiththiphlhinduaeklththiewxtuetxlukhxnglxmbxkdwy 8 phasa aekikh eruxnaebbchawsasakdngedimthihmubansaed msyidbaynebxelik msyidthiekaaekthisudbnekaalxmbxk epnmsyidtamkhtilththiewxtuetxlu phasasasakmikhwamechuxmoyngaelaiklekhiyngkbphasabahli sumbawa aelaphasakhxngxinodniesiyfngtawntkxun nxkcakniyngsamarthaebngphasasasakxxkepnsaeniyngtang idaek saeniyngehnux hruxkuot kuet Kuto Kute saeniyngklang hruxemxon emxenx Meno Mene saeniyngklangtxnit hruxmriyak mriku Mriak Mriku saeniyngklangfngtawnxxkaelatawntk hruxengxon engxenx Ngeno Ngene saeniyngtawnxxkechiyngehnux hruxengxot engxetx Ngeto Ngete aelasaeniyngyxyxun 9 sasna aekikhchawsasakswnihynbthuxsasnaxislamlththiewxtulima Wetu Lima hruxwaktulima Waktu Lima hruxlththihaewla thihmaythungkarlahmadhakhrngxnepnwtrptibtithichawmuslimphungptibti aetchawsasakxikswnhnungnbthuxlththiewxtuetxlu Wetu Telu hruxwaktuetxlu Waktu Telu hruxlththisamewla thisasnikchncalahmadephiyngaekhsamkhrngethann tangcakmuslimxun thilahmadhaewlaxislamikchnthiptibtitamaenwthangkhxnglththiewxtuetxlunnsamarthphbidthwipbnekaa odyechphaathiemuxngbaynxnepnthikaenidlththi nxkcakniyngmichumchntang thiswnihynbthuxlththiewxtuetxlu xathi matarm Mataram pucung Pujung esingkl Sengkol rmbitn Rambitan saed Sade etxetxbatu Tetebatu bumbung Bumbung esimbalun Sembalun esxnaru Senaru oloyak Loyok aelapasukuln Pasugulan nxkcakniyngmichawsasakcanwnhnungthieriykwaobda Bodha canwn 8 000 12 533 khn 10 swnihyxasythihmubanebinetik Bentek echingekharincani Gunung Rinjani yngkhngnbthuxethphecatang aelaimidrbxiththiphlcaksasnaxislam 11 aetrbxiththiphldanphithikrrmaelaphasacaksasnahinduaelaphuthth phwkekhamikhwamechuxdanewthmntrechnediywkbewxtuetxluephiyngaetimidrbxiththiphlcaksasnaxislam obdacanbthuxethphecathnghmdhaphraxngkh khux batarakuru Batara Guru epnethphecasungsud swnbatarasakti Batara Sakti aelabataraecxening Batara Jeneng epnethphecarxnglngma aelamiethwstrixiksxngphraxngkhkhuxxidadarisakti Idadari Sakti aelaxidadariecxening Idadari Jeneng sungepnphrachayakhxngethphecarxngthngsxngdngklaw aemwaphwkekhayngnbthuxphi aetkidrbxiththiphlcaksasnaphuthththiekhmkhnkhuncakkarephyaephsasnacakphrathrrmthutinyukhhlngmani 12 pccubncungmithngphrasngkhaelahmxphiptibtisasnkictamkhwamechux 13 xangxing aekikh From Ancestor Worship to Monotheism Politics of Religion in Lombok khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2007 04 03 subkhnemux 2017 02 26 Sasak of Indonesia PeopleGroup org subkhnemux 2014 10 08 Martijn Theodoor Houtsma b k 1993 E J Brill s First Encyclopaedia of Islam 1913 1936 Volume 5 BRILL ISBN 90 04 09791 0 David Harnish amp Anne Rasmussen 2011 Divine Inspirations Music and Islam in Indonesia Oxford University Press ISBN 0 19 979309 3 Kaj Arhem amp Guido Sprenger 2015 Animism in Southeast Asia Routledge ISBN 1 317 33662 3 From Ancestor Worship to Monotheism by Sven Cederroth Politics of Religion in Lombok NB this article is not currently available from previous URL source Aug 2010 Temenos 32 1996 7 36 1996 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim acrobat pdf emux 2007 04 03 subkhnemux 2005 06 13 Robert Cribb 2013 Historical Atlas of Indonesia Routledge ISBN 1 136 78057 2 Kal Muller 1997 David Pickell b k East of Bali From Lombok to Timor Tuttle Publishing ISBN 962 593 178 3 Sasak Ethnologue subkhnemux 2014 10 08 Ziadah Ziad 15 minakhm 2556 Sasak Buddhist Traveler s Journal subkhnemux 27 kumphaphnth 2560 Check date values in accessdate date help From Ancestor Worship to Monotheism by Sven Cederroth Politics of Religion in Lombok NB this article is not currently available from previous URL source Aug 2010 Temenos 32 1996 7 36 1996 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim acrobat pdf emux 2007 04 03 subkhnemux 2005 06 13 Webshots pics BUDDHISM IN INDONESIA PART 5 Sound Reporters Radio Zevende Hemel subkhnemux 27 kumphaphnth 2560 Check date values in accessdate help aehlngkhxmulxun aekikh wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb chawsasak ekhathungcak https th wikipedia org w index php title chawsasak amp oldid 9564619, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม