fbpx
วิกิพีเดีย

กายอุปกรณ์

กายอุปกรณ์ หมายถึง อุปกรณ์ทางการแพทย์ต่างๆที่ใช้กับร่างกาย ในความหมายที่ใช้ในปัจจุบัน มักจะหมายถึงอุปกรณ์ที่ใช้กับร่างกายเพื่อช่วยเหลือการเคลื่อนไหว เช่น แขนเทียม ขาเทียม อุปกรณ์ประคองหรือดามหลัง อุปกรณ์ดามมือ เป็นต้น แต่โดยทั่วไป ขอบเขตที่แท้จริงของกายอุปกรณ์ ยังรวมไปถึงอุปกรณ์อื่นๆที่ใช้กับร่างกายด้วย เช่น ลูกตาเทียม ข้อเข่าเทียมที่ใช้สำหรับผ่าตัดทดแทนเข่าเดิมในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม เป็นต้น และอุปกรณ์ช่วยเหลือการเคลื่อนไหวต่างๆ เช่น รถล้อเข็น (Wheelchair) ไม้เท้า เป็นต้น

ส่วน งานกายอุปกรณ์ หมายถึงการตรวจวัดขนาด ออกแบบ ประดิษฐ์ ผลิต ดัดแปลง แก้ไข ซ่อมแซม อุปกรณ์ต่างๆที่ใช้กับร่างกายให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย เพื่อช่วยเหลือการเคลื่อนไหวเท่านั้น งานกายอุปกรณ์ต้องอาศัยทักษะฝีมือและความเชี่ยวชาญชำนาญเฉพาะบุคคลค่อนข้างสูง (ร่วมกับความรู้ความเข้าใจในเรื่องวัสดุศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ ศิลปะ และเรื่องวิทยาศาสตร์การแพทย์ด้านกายวิภาคประยุกต์ ด้านชีวกลศาสตร์และการเคลื่อนไหวประยุกต์พอสมควร)

และ งานกายอุปกรณ์ จัดเป็นส่วนหนึ่งของทีมงานด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู อีกด้วย

ในภาษาอังกฤษคำว่า กายอุปกรณ์ ใช้ใน US ว่า Orthosis and Prosthesis (ตัวย่อว่า O&P) ส่วนในประเทศไทยนิยมเรียกว่า Prosthesis and Orthosis (ตัวย่อ PO) อนึ่งคำว่า Prosthesis อาจเขียนว่า Prostheses ก็ได้เมื่อมีความหมายเป็นพหูพจน์ และคำว่า Orthosis สามารถเขียนให้อยู่ในรูปพหูพจน์ได้ว่า Orthoses

ส่วนคำว่า งานกายอุปกรณ์ ใช้ว่า Prosthetics and Orthotics (ตัวย่อ P&O) หรือ Orthotics and Prosthetics (ตัวย่อ O&P) ก็ได้เช่นกัน

บุคลากรด้านกายอุปกรณ์ในประเทศไทย

บุคลากรที่ทำหน้าที่ตรวจวัดขนาด ออกแบบ ประดิษฐ์ ผลิตและดัดแปลงซ่อมแซมกายอุปกรณ์เสริม-เทียมให้เหมาะสมกับผู้ป่วยและผู้พิการ มีชื่อเรียกตามที่ ก.พ.ระบุ ซึ่งเรียกชื่อตำแหน่งบรรจุตามวุฒิการศึกษาคือ หากสำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรจากโรงพยาบาลเลิดสิน หรือ สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรชั้นสูงจากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (พ.ศ. 2536-2542) เรียกว่า ช่างกายอุปกรณ์ (PO technician) แต่หากสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาจะเรียกว่า นักกายอุปกรณ์ (Prosthetist/Orthotist) ซึ่งโรงเรียนกายอุปกรณ์สิรินธร คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ถือเป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกและแห่งเดียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ผลิตบัณฑิตในสาขากายอุปกรณ์หรือนักกายอุปกรณ์ออกมา

(ในอดีต หลักสูตรด้านกายอุปกรณ์ในประเทศไทยยังไม่มีการจัดเป็นหลักสูตรปริญญา ซึ่งเหมือนกับอีกหลายๆหลักสูตร เช่น พยาบาล (เทคนิค) , ครู (ประกาศนียบัตรชั้นสูง) เป็นต้น แต่ในปัจจุบันได้ปรับหลักสูตรเป็นระดับปริญญาแล้ว ในหลายๆประเทศ เช่น ญี่ปุ่น ปัจจุบันยังมีหลักสูตรกายอุปกรณ์ทั้งระดับปริญญา (เรียน 4 ปี) และระดับอนุปริญญา (เรียน3 ปี) เช่นกัน)

ช่างกายอุปกรณ์หรือนักกายอุปกรณ์ จะปฏิบัติงานในทีมของเวชศาสตร์ฟื้นฟู ซึ่งจะประกอบด้วยสหสาขาวิชา เช่น แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู นักกายภาพบำบัด นักกิจกรรมบำบัด นักอรรถบำบัด นักจิตวิทยา พยาบาลทางเวชศาสตร์ฟื้นฟู

ผู้ที่ทำหน้าที่ส่งต่อการรักษาและร่วมตรวจสอบกายอุปกรณ์กับผู้ป่วยคือ แพทย์ ซึ่งมักเป็น แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู หรือ ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์

ประเภทของกายอุปกรณ์

กายอุปกรณ์แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่

  • กายอุปกรณ์เทียม (prosthesis) กายอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ทดแทนอวัยวะหรือชิ้นส่วนของอวัยวะที่ขาดหายไป เช่น ขาเทียม แขนเทียม นิ้วมือเทียม เป็นต้น
    • ในทางกายอุปกรณ์สำหรับแขนขา หมายถึง อุปกรณ์ใดๆก็ตามภายนอกร่างกาย ที่นำมาทดแทนส่วนของระยางค์ (แขน-ขา) ทั้งหมดหรือบางส่วนซึ่งไม่เคยมีอยู่เลยหรือขาดหายไป
    • Prosthesis; Prosthetic device: Externally applied device used to replace wholly, or in part, an absent or deficient limb segment. (จากข้อ 2.1.1 ใน ISO 8549-1 : 1989)
  • กายอุปกรณ์เสริม (orthosis) คือ กายอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้เพื่อเสริมการทำหน้าที่ของอวัยวะที่มีปัญหาในการทำงาน (เช่น อ่อนแรง, เจ็บปวด, เสื่อมสมรรถภาพ เป็นต้น) อาจเรียกชื่อสามัญว่า อุปกรณ์เสริม, อุปกรณ์ดาม หรือที่ประคอง (Splint หรือ Brace) ก็ได้
    • ในทางกายอุปกรณ์สำหรับแขนขา หมายถึง อุปกรณ์ใดๆก็ตามภายนอกร่างกาย ที่นำมาดัดแปลงลักษณะโครงสร้างหรือการทำหน้าที่ของระบบประสาท-กล้ามเนื้อและระบบค้ำจุนร่างกาย (กระดูก-กล้ามเนื้อ) ของร่างกาย
    • Orthosis; Orthotic device: Externally applied device used to modify the structural and functional characteristics of the neuro-muscular and skeletal systems. (จากข้อ 2.1.2 ใน ISO 8549-1 : 1989)
    • เมื่อดูจากคำจำกัดความตาม ISO อุปกรณ์ช่วยเหลือการเคลื่อนไหว (Mobility aids) ชนิดต่างๆ เช่น รถล้อเข็น (Wheelchair) , ไม้เท้า (Cane) , ไม้ค้ำยัน (Crutches) ก็จัดได้ว่าเป็นกายอุปกรณ์เสริมชนิดหนึ่งเช่นกัน แต่ตามปรกติในทางปฏิบัติ มักไม่ถูกรวมอยู่ในกายอุปกรณ์เสริม มักจัดเป็นอีกกลุ่มซึ่งแยกออกมา

กายอุปกรณ์เทียม

ในงานกายอุปกรณ์ แบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆคือ

  • กายอุปกรณ์สำหรับระยางค์ล่าง หรือเรียกง่ายๆว่า ขาเทียม
  • กายอุปกรณ์เทียมสำหรับระยางค์บน หรือเรียกแบบง่ายว่า แขนเทียม

หมายเหตุ

รยางค์ล่าง (Lower extremity) หมายถึง ขา (ตั้งแต่ปลายนิ้วเท้าจนถึงข้อสะโพก) และกระดูกเชิงกราน (ทำหน้าที่เป็นโครงให้ขายึดกับแกนกลางร่างกายที่กระดูกสันหลัง)

รยางค์บน (Upper extremity) หมายถึง แขน (ตั้งแต่ปลายนิ้วมือจนถึงข้อไหล่) กระดูกไหปลาร้าและกระดูกสะบัก (ทำหน้าที่เป็นโครงให้ขายึดกับแกนกลางร่างกายที่กระดูกซี่โครง)

การเรียกชื่อชนิดต่างๆของแขนเทียมและขาเทียม สามารถทำได้ 2 แบบคือ

  • เรียกตามตำแหน่งที่ระยางค์ล่างโดนตัด แบ่งได้เป็น (จากด้านล่างขึ้นมาด้านบน)
    • สำหรับระยางค์ล่าง แบ่งได้เป็น
      • กายอุปกรณ์เทียมทดแทนนิ้วเท้า (Toe prosthesis)
      • กายอุปกรณ์เทียมทดแทนบางส่วนของเท้า (Partial foot prosthesis)
      • ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อเท้า (Ankle disarticulation (AD) prosthesis)
      • ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกหน้าแข้ง (Transtibial (TT) prosthesis)
      • ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อเข่า (Knee disarticulation (KD) prosthesis)
      • ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกต้นขา (Transfemoral (TF) prosthesis)
      • ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อสะโพก (Hip disarticulation (HD) prosthesis)
      • ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาและเอากระดูกเชิงกรานออกไปด้วย 1 ข้าง (Hemipelvectomy prosthesis)
    • สำหรับระยางค์บน แบ่งได้เป็น
      • กายอุปกรณ์เทียมทดแทนนิ้วมือ (Finger prosthesis)
      • กายอุปกรณ์เทียมทดแทนบางส่วนของมือ (Partial hand prosthesis)
      • แขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนผ่านข้อมือ (Wrist disarticulation (WD) prosthesis)
      • แขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนผ่านกระดูกปลายแขน (Transradial (TR) prosthesis)
      • แขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนผ่านข้อศอก (Elbow disarticulation (ED) prosthesis)
      • แขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนผ่านกระดูกต้นแขน (Transhumeral (TH) prosthesis)
      • แขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนผ่านกระดูกต้นแขนที่คอกระดูกต้นแขน (Humeral-neck amputation prosthesis)
      • แขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนผ่านข้อไหล่ ("True" shoulder disarticulation prosthesis)
      • แขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนร่วมกับเอากระดูกสะบักและกระดูกไหปลาร้าออกไปด้วย 1 ข้าง (Forequater amputation prosthesis)
  • เรียกโดยอ้างอิงจากตำแหน่งของข้อต่อ เป็นการแบ่งง่ายๆและเป็นระบบเดิมที่นิยมใช้กันมา ได้แก่
    • ขาเทียม มักใช้ข้อเข่าเป็นจุดอ้างอิง โดย
      • ใช้ ขาเทียมระดับใต้เข่า (Below-knee (BK) prosthesis) แทน ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกหน้าแข้ง
      • ใช้ ขาเทียมระดับข้อเข่า (Through-knee (TK) prosthesis) แทน ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อเข่า
      • ใช้ ขาเทียมระดับเหนือเข่า (Above-knee (AK) prosthesis) แทน ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกต้นขา
    • แขนเทียม มักใช้ข้อศอกเป็นจุดอ้างอิง โดย
      • ใช้ แขนเทียมระดับใต้ศอก (Below-elbow (BE) prosthesis) แทน แขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนผ่านกระดูกปลายแขน
      • ใช้ แขนเทียมระดับข้อศอก (Through-elbow (TE) prosthesis) แทน แขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนผ่านข้อศอก
      • ใช้ แขนเทียมระดับเหนือศอก (Above-elbow (AE) prosthesis) แทน แขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนผ่านกระดูกต้นแขน
  • นอกจากนี้ สำหรับแขนเทียม ยังสามารถแบ่งตามคุณสมบัติได้แก่
    • ประเภทสวยงาม (Cosmetic type) ประเภทนี้ไม่สามารถเคลื่อนไหวมือเทียม/ข้อมือ/ข้อศอก/ข้อไหล่ได้
    • ประเภทใช้งานได้ (Functional type) สามารถเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของแขนเทียมได้ตามความต้องการของผู้พิการ โดยยังสามารถแบ่งลงไปได้ตามประเภทของการควบคุมการเคลื่อนไหวเป็น
      • ควบคุมโดยการใช้การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Body controlled)
      • ควบคุมโดยใช้พลังงานภายนอก (External-power controlled) ซึ่งควบคุมการจ่ายไฟฟ้าด้วยปุ่มสวิตช์กด (Switch controlled) หรือ ตัวรับสัญญาณไฟฟ้าในกล้ามเนื้อ (Myoelectric)

กายอุปกรณ์เสริม

  • มีหน้าที่ต่างๆ เช่น
    • จำกัดการเคลื่อนไหวของอวัยวะ
    • ช่วยให้มีการเคลื่อนไหวของอวัยวะ
    • บรรเทาอาการเจ็บปวด
    • ช่วยส่งเสริมให้กระดูกที่หักติดเป็นปรกติ
    • ป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น ข้อเคลื่อนหลุด เอ็นฉีกขาด เป็นต้น
    • ฯลฯ
  • กายอุปกรณ์เสริม มักแบ่งประเภทใหญ่ๆตามอวัยวะที่ใช้เป็น 4 ประเภทได้แก่
    • กายอุปกรณ์สำหรับศีรษะ (Head orthosis)
    • กายอุปกรณ์สำหรับกระดูกสันหลัง (Spinal orthosis)
    • กายอุปกรณ์สำหรับระยางค์บน (Upper-extremity orthosis)
    • กายอุปกรณ์สำหรับระยางค์ล่าง (Lower-extremity orthosis) รวมถึงกายอุปกรณ์เสริมสำหรับเท้า (Foot orthosis) และการดัดแปลงรองเท้า (Shoe modification) อีกด้วย

โดยการเรียกชื่อสำหรับกายอุปกรณ์เสริมแต่ละชนิด สามารถเรียกชื่อได้หลายแบบตามแต่ละระบบมาตรฐานทางการแพทย์ โดยแบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆตามข้อด่อที่กายอุปกรณ์เสริมพาดผ่าน เช่น กายอุปกรณ์เสริมสำหรับมือ-ข้อมือ (Wrist-hand orthosis: WHO) , กายอุปกรณ์เสริมสำหรับเท้า-ข้อเท้า (Ankle-foot orthosis: AFO) หรือ กายอุปกรณ์เสริมสำหรับกระดูกสันหลังส่วนอก-ส่วนหลัง-ส่วนกระเบนเหน็บ (Thoracolumbosacaral spinal orthosis: TLSO) เป็นต้น

และมักเพิ่มเติมชื่อกายอุปกรณ์เสริมแต่ละชนิดเพื่อให้จำเพาะเจาะจงไปมากกว่านี้ โดยอาจเรียกตามหน้าที่การทำงาน เช่น ป้องกันการเหยียด (Extension-stopped) , ช่วยการงอ (Flexion-assisted) หรือตามตำแหน่ง"ด้าน"ที่อยู่บนร่างกาย เช่น ด้านหลังมือ (Dorsal) , ด้านฝ่ามือ (Volar) เป็นต้น

นอกจากนี้ อาจเรียกตามชื่อสามัญ ซึ่งเป็นชื่อเดิมที่มีมาก่อนจะจัดระบบ เช่น อุปกรณ์เสริมชนิดจีเว็ตต์ เบรซ (Jewette brace) , อุปกรณ์เสริมชนิดไนท์เบรซ (Knight brace) หรือ ยูนิเวอร์ซัล คัฟฟ์ (Universal cuff) เป็นต้น


อุปกรณ์ช่วยเหลือการเคลื่อนไหว

อุปกรณ์ช่วยเหลือการเคลื่อนไหว (Mobility aids) ต่างๆ เช่น รถล้อเข็น (Wheelchair) , ไม้เท้า (Cane) , ไม้ค้ำยัน (Crutches) เป็นต้น มีหลากหลายชนิด ซึ่งต้องอาศัยความรู้ในการเลือกชนิดและส่วนประกอบของอุปกรณ์เหล่านี้เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะแผ่นรองนั่งของรถล้อหมุน

สำหรับรถล้อเข็น สามารถแบ่งจำพวกเป็น

  • รถล้อเข็นมือหมุน
    • รถล้อเข็นมือหมุนใช้งานทั่วไป
    • รถล้อเข็นมือหมุนใช้งานพิเศษ (เช่น สำหรับใช้แข่งขันกีฬา เป็นต้น)
  • รถล้อเข็นไฟฟ้า

อ้างอิง

  1. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2009-07-13. สืบค้นเมื่อ 2008-07-31.
  • ตำรากายอุปกรณ์
  • ตำรา Physical medicine & rehabilitation (3rd edition) โดย Braddom RL.
  • คำจำกัดความจาก ISO 8549-1 : 1989

ดูเพิ่ม

  • การตัดแขน-ขา (อังกฤษ)
  • กายอุปกรณ์เทียม (อังกฤษ)
  • กายอุปกรณ์เสริม (อังกฤษ)

กายอ, ปกรณ, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, หมายถ, ปกรณ, ทางการแพทย, างๆท, ใช, บร, างกาย, ในความหมายท, ใช, ในป, จจ, กจะหมา. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudkayxupkrn hmaythung xupkrnthangkaraephthytangthiichkbrangkay inkhwamhmaythiichinpccubn mkcahmaythungxupkrnthiichkbrangkayephuxchwyehluxkarekhluxnihw echn aekhnethiym khaethiym xupkrnprakhxnghruxdamhlng xupkrndammux epntn aetodythwip khxbekhtthiaethcringkhxngkayxupkrn yngrwmipthungxupkrnxunthiichkbrangkaydwy echn luktaethiym khxekhaethiymthiichsahrbphatdthdaethnekhaediminphupwykhxekhaesuxm epntn aelaxupkrnchwyehluxkarekhluxnihwtang echn rthlxekhn Wheelchair imetha epntnswn ngankayxupkrn hmaythungkartrwcwdkhnad xxkaebb pradisth phlit ddaeplng aekikh sxmaesm xupkrntangthiichkbrangkayihehmaasmkbphupwyaetlaray ephuxchwyehluxkarekhluxnihwethann ngankayxupkrntxngxasythksafimuxaelakhwamechiywchaychanayechphaabukhkhlkhxnkhangsung rwmkbkhwamrukhwamekhaicineruxngwsdusastr wiswkrrmsastr silpa aelaeruxngwithyasastrkaraephthydankaywiphakhprayukt danchiwklsastraelakarekhluxnihwprayuktphxsmkhwr aela ngankayxupkrn cdepnswnhnungkhxngthimngandanewchsastrfunfu xikdwyinphasaxngkvskhawa kayxupkrn ichin US wa Orthosis and Prosthesis twyxwa O amp P swninpraethsithyniymeriykwa Prosthesis and Orthosis twyx PO xnungkhawa Prosthesis xacekhiynwa Prostheses kidemuxmikhwamhmayepnphhuphcn aelakhawa Orthosis samarthekhiynihxyuinrupphhuphcnidwa Orthosesswnkhawa ngankayxupkrn ichwa Prosthetics and Orthotics twyx P amp O hrux Orthotics and Prosthetics twyx O amp P kidechnkn enuxha 1 bukhlakrdankayxupkrninpraethsithy 2 praephthkhxngkayxupkrn 3 kayxupkrnethiym 4 kayxupkrnesrim 5 xupkrnchwyehluxkarekhluxnihw 6 xangxing 7 duephimbukhlakrdankayxupkrninpraethsithy aekikhbukhlakrthithahnathitrwcwdkhnad xxkaebb pradisth phlitaeladdaeplngsxmaesmkayxupkrnesrim ethiymihehmaasmkbphupwyaelaphuphikar michuxeriyktamthi k ph rabu sungeriykchuxtaaehnngbrrcutamwuthikarsuksakhux haksaerckarsuksaradbprakasniybtrcakorngphyabalelidsin hrux saerckarsuksaprakasniybtrchnsungcaksthabnethkhonolyiphracxmeklaphrankhrehnux ph s 2536 2542 eriykwa changkayxupkrn PO technician aethaksaerckarsuksaradbpriyyacaeriykwa nkkayxupkrn Prosthetist Orthotist sungorngeriynkayxupkrnsirinthr khnaaephthysastrsirirachphyabal mhawithyalymhidl 1 thuxepnsthabnkarsuksaaehngaerkaelaaehngediywinphumiphakhexechiytawnxxkechiyngitthiphlitbnthitinsakhakayxupkrnhruxnkkayxupkrnxxkma inxdit hlksutrdankayxupkrninpraethsithyyngimmikarcdepnhlksutrpriyya sungehmuxnkbxikhlayhlksutr echn phyabal ethkhnikh khru prakasniybtrchnsung epntn aetinpccubnidprbhlksutrepnradbpriyyaaelw inhlaypraeths echn yipun pccubnyngmihlksutrkayxupkrnthngradbpriyya eriyn 4 pi aelaradbxnupriyya eriyn3 pi echnkn changkayxupkrnhruxnkkayxupkrn captibtinganinthimkhxngewchsastrfunfu sungcaprakxbdwyshsakhawicha echn aephthyewchsastrfunfu nkkayphaphbabd nkkickrrmbabd nkxrrthbabd nkcitwithya phyabalthangewchsastrfunfuphuthithahnathisngtxkarrksaaelarwmtrwcsxbkayxupkrnkbphupwykhux aephthy sungmkepn aephthyewchsastrfunfu hrux slyaephthyxxrothpidikspraephthkhxngkayxupkrn aekikhkayxupkrnaebngepn 2 praephth idaek kayxupkrnethiym prosthesis kayxupkrntang thiichthdaethnxwywahruxchinswnkhxngxwywathikhadhayip echn khaethiym aekhnethiym niwmuxethiym epntn inthangkayxupkrnsahrbaekhnkha hmaythung xupkrnidktamphaynxkrangkay thinamathdaethnswnkhxngrayangkh aekhn kha thnghmdhruxbangswnsungimekhymixyuelyhruxkhadhayip Prosthesis Prosthetic device Externally applied device used to replace wholly or in part an absent or deficient limb segment cakkhx 2 1 1 in ISO 8549 1 1989 kayxupkrnesrim orthosis khux kayxupkrntangthiichephuxesrimkarthahnathikhxngxwywathimipyhainkarthangan echn xxnaerng ecbpwd esuxmsmrrthphaph epntn xaceriykchuxsamywa xupkrnesrim xupkrndam hruxthiprakhxng Splint hrux Brace kid inthangkayxupkrnsahrbaekhnkha hmaythung xupkrnidktamphaynxkrangkay thinamaddaeplnglksnaokhrngsranghruxkarthahnathikhxngrabbprasath klamenuxaelarabbkhacunrangkay kraduk klamenux khxngrangkay Orthosis Orthotic device Externally applied device used to modify the structural and functional characteristics of the neuro muscular and skeletal systems cakkhx 2 1 2 in ISO 8549 1 1989 emuxducakkhacakdkhwamtam ISO xupkrnchwyehluxkarekhluxnihw Mobility aids chnidtang echn rthlxekhn Wheelchair imetha Cane imkhayn Crutches kcdidwaepnkayxupkrnesrimchnidhnungechnkn aettamprktiinthangptibti mkimthukrwmxyuinkayxupkrnesrim mkcdepnxikklumsungaeykxxkmakayxupkrnethiym aekikhinngankayxupkrn aebngepnklumihykhux kayxupkrnsahrbrayangkhlang hruxeriykngaywa khaethiym kayxupkrnethiymsahrbrayangkhbn hruxeriykaebbngaywa aekhnethiymhmayehturyangkhlang Lower extremity hmaythung kha tngaetplayniwethacnthungkhxsaophk aelakradukechingkran thahnathiepnokhrngihkhayudkbaeknklangrangkaythikraduksnhlng ryangkhbn Upper extremity hmaythung aekhn tngaetplayniwmuxcnthungkhxihl kradukihplaraaelakraduksabk thahnathiepnokhrngihkhayudkbaeknklangrangkaythikraduksiokhrng kareriykchuxchnidtangkhxngaekhnethiymaelakhaethiym samarththaid 2 aebbkhux eriyktamtaaehnngthirayangkhlangodntd aebngidepn cakdanlangkhunmadanbn sahrbrayangkhlang aebngidepn kayxupkrnethiymthdaethnniwetha Toe prosthesis kayxupkrnethiymthdaethnbangswnkhxngetha Partial foot prosthesis khaethiymsahrbphuthuktdkhaphankhxetha Ankle disarticulation AD prosthesis khaethiymsahrbphuthuktdkhaphankradukhnaaekhng Transtibial TT prosthesis khaethiymsahrbphuthuktdkhaphankhxekha Knee disarticulation KD prosthesis khaethiymsahrbphuthuktdkhaphankraduktnkha Transfemoral TF prosthesis khaethiymsahrbphuthuktdkhaphankhxsaophk Hip disarticulation HD prosthesis khaethiymsahrbphuthuktdkhaaelaexakradukechingkranxxkipdwy 1 khang Hemipelvectomy prosthesis sahrbrayangkhbn aebngidepn kayxupkrnethiymthdaethnniwmux Finger prosthesis kayxupkrnethiymthdaethnbangswnkhxngmux Partial hand prosthesis aekhnethiymsahrbphuthuktdaekhnphankhxmux Wrist disarticulation WD prosthesis aekhnethiymsahrbphuthuktdaekhnphankradukplayaekhn Transradial TR prosthesis aekhnethiymsahrbphuthuktdaekhnphankhxsxk Elbow disarticulation ED prosthesis aekhnethiymsahrbphuthuktdaekhnphankraduktnaekhn Transhumeral TH prosthesis aekhnethiymsahrbphuthuktdaekhnphankraduktnaekhnthikhxkraduktnaekhn Humeral neck amputation prosthesis aekhnethiymsahrbphuthuktdaekhnphankhxihl True shoulder disarticulation prosthesis aekhnethiymsahrbphuthuktdaekhnrwmkbexakraduksabkaelakradukihplaraxxkipdwy 1 khang Forequater amputation prosthesis eriykodyxangxingcaktaaehnngkhxngkhxtx epnkaraebngngayaelaepnrabbedimthiniymichknma idaek khaethiym mkichkhxekhaepncudxangxing ody ich khaethiymradbitekha Below knee BK prosthesis aethn khaethiymsahrbphuthuktdkhaphankradukhnaaekhng ich khaethiymradbkhxekha Through knee TK prosthesis aethn khaethiymsahrbphuthuktdkhaphankhxekha ich khaethiymradbehnuxekha Above knee AK prosthesis aethn khaethiymsahrbphuthuktdkhaphankraduktnkha aekhnethiym mkichkhxsxkepncudxangxing ody ich aekhnethiymradbitsxk Below elbow BE prosthesis aethn aekhnethiymsahrbphuthuktdaekhnphankradukplayaekhn ich aekhnethiymradbkhxsxk Through elbow TE prosthesis aethn aekhnethiymsahrbphuthuktdaekhnphankhxsxk ich aekhnethiymradbehnuxsxk Above elbow AE prosthesis aethn aekhnethiymsahrbphuthuktdaekhnphankraduktnaekhnnxkcakni sahrbaekhnethiym yngsamarthaebngtamkhunsmbtiidaek praephthswyngam Cosmetic type praephthniimsamarthekhluxnihwmuxethiym khxmux khxsxk khxihlid praephthichnganid Functional type samarthekhluxnihwswntangkhxngaekhnethiymidtamkhwamtxngkarkhxngphuphikar odyyngsamarthaebnglngipidtampraephthkhxngkarkhwbkhumkarekhluxnihwepn khwbkhumodykarichkarekhluxnihwkhxngrangkay Body controlled khwbkhumodyichphlngnganphaynxk External power controlled sungkhwbkhumkarcayiffadwypumswitchkd Switch controlled hrux twrbsyyaniffainklamenux Myoelectric kayxupkrnesrim aekikhmihnathitang echn cakdkarekhluxnihwkhxngxwywa chwyihmikarekhluxnihwkhxngxwywa brrethaxakarecbpwd chwysngesrimihkradukthihktidepnprkti pxngknphawaaethrksxntang echn khxekhluxnhlud exnchikkhad epntn lkayxupkrnesrim mkaebngpraephthihytamxwywathiichepn 4 praephthidaek kayxupkrnsahrbsirsa Head orthosis kayxupkrnsahrbkraduksnhlng Spinal orthosis kayxupkrnsahrbrayangkhbn Upper extremity orthosis kayxupkrnsahrbrayangkhlang Lower extremity orthosis rwmthungkayxupkrnesrimsahrbetha Foot orthosis aelakarddaeplngrxngetha Shoe modification xikdwyodykareriykchuxsahrbkayxupkrnesrimaetlachnid samartheriykchuxidhlayaebbtamaetlarabbmatrthanthangkaraephthy odyaebngepnklumyxytamkhxdxthikayxupkrnesrimphadphan echn kayxupkrnesrimsahrbmux khxmux Wrist hand orthosis WHO kayxupkrnesrimsahrbetha khxetha Ankle foot orthosis AFO hrux kayxupkrnesrimsahrbkraduksnhlngswnxk swnhlng swnkraebnehnb Thoracolumbosacaral spinal orthosis TLSO epntnaelamkephimetimchuxkayxupkrnesrimaetlachnidephuxihcaephaaecaacngipmakkwani odyxaceriyktamhnathikarthangan echn pxngknkarehyiyd Extension stopped chwykarngx Flexion assisted hruxtamtaaehnng dan thixyubnrangkay echn danhlngmux Dorsal danfamux Volar epntnnxkcakni xaceriyktamchuxsamy sungepnchuxedimthimimakxncacdrabb echn xupkrnesrimchnidciewtt ebrs Jewette brace xupkrnesrimchnidinthebrs Knight brace hrux yuniewxrsl khff Universal cuff epntnxupkrnchwyehluxkarekhluxnihw aekikhxupkrnchwyehluxkarekhluxnihw Mobility aids tang echn rthlxekhn Wheelchair imetha Cane imkhayn Crutches epntn mihlakhlaychnid sungtxngxasykhwamruinkareluxkchnidaelaswnprakxbkhxngxupkrnehlaniepnxyangmak odyechphaaaephnrxngnngkhxngrthlxhmunsahrbrthlxekhn samarthaebngcaphwkepn rthlxekhnmuxhmun rthlxekhnmuxhmunichnganthwip rthlxekhnmuxhmunichnganphiess echn sahrbichaekhngkhnkila epntn rthlxekhniffaxangxing aekikh saenathiekbthawr khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2009 07 13 subkhnemux 2008 07 31 tarakayxupkrn tara Physical medicine amp rehabilitation 3rd edition ody Braddom RL khacakdkhwamcak ISO 8549 1 1989duephim aekikhkartdaekhn kha xngkvs kayxupkrnethiym xngkvs kayxupkrnesrim xngkvs ekhathungcak https th wikipedia org w index php title kayxupkrn amp oldid 9614200, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม