fbpx
วิกิพีเดีย

นาฏยศัพท์

นาฏยศัพท์ หมายถึง ศัพท์ที่ใช้เกี่ยวกับลักษณะท่ารำ ที่ใช้ในการฝึกหัดเพื่อแสดงโขน ละคร เป็นคำที่ใช้ในวงการนาฏศิลป์ไทย สามารถสื่อความหมายกันได้ทุกฝ่ายในการแสดงต่าง ๆ "นาฏย" หมายถึง เกี่ยวกับการฟ้อนรำ เกี่ยวกับการแสดงละคร "ศัพท์" หมายถึง เสียง คำ คำยากที่ต้องแปล เรื่อง เมื่อนำคำสองคำมารวมกัน ทำให้ได้ความหมายขึ้นมา

การศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ไทย ไม่ว่าจะเป็นการแสดงโขน ละคร หรือระบำเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ ก็ดี ท่าทางที่ผู้แสดงแสดงออกมานั้นย่อมมีความหมายเฉพาะ ยิ่งหากได้ศึกษาอย่างดีแล้ว อาจทำให้เข้าใจในเรื่องการแสดงมากยิ่งขึ้นทั้งในตัวผู้แสดงเอง และผู้ที่ชมการแสดงนั้น ๆ สิ่งที่เข้ามาประกอบเป็นท่าทางนาฏศิลป์ไทยนั้นก็คือ เรื่องของนาฏยศัพท์ ซึ่งแยกออกได้เป็นคำว่า "นาฏย" กับคำว่า "ศัพท์" ดังนี้

ประเภทของนาฏยศัพท์

แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1. นามศัพท์
หมายถึง ศัพท์ที่เรียกชื่อท่ารำ หรือชื่อท่าที่บอกอาการกระทำของผู้นั้น เช่น วง จีบ สลัดมือ คลายมือ กรายมือ ฉายมือ ปาดมือ กระทบ กระดก ยกเท้า ก้าวเท้า ประเท้า ตบเท้า กระทุ้ง กะเทาะ จรดเท้า แตะเท้า ซอยเท้า ขยั่นเท้า ฉายเท้า สะดุดเท้า รวมเท้า โย้ตัว ยักตัว ตีไหล่ กล่อมไหล่
2. กิริยาศัพท์
หมายถึง ศัพท์ที่ใช้เรียกในการปฏิบัติบอกอาการกิริยา ซึ่งแบ่งออกเป็น
  • ศัพท์เสริม หมายถึง ศัพท์ที่ใช้เรียกเพื่อปรับปรุงท่าทีให้ถูกต้องสวยงาม เช่น กันวง ลดวง ส่งมือ ดึงมือ หักข้อ หลบศอก เปิดคาง กดคาง ทรงตัว เผ่นตัว ดึงไหล่ กดไหล่ ดึงเอว กดเกลียวข้าง ทับตัว หลบเข่า ถีบเข่า แข็งเข่า กันเข่า เปิดส้น ชักส้น
  • ศัพท์เสื่อม หมายถึง ศัพท์ที่ใช้เรียกชื่อท่ารำหรือท่วงทีของผู้รำที่ไม่ถูกต้องตามมาตรฐาน เพื่อให้ผู้รำรู้ตัวและแก้ไขท่าทีของตนให้ดีขึ้น เช่น วงล้า วงคว่ำ วงเหยียด วงหัก วงล้น คอดื่ม คางไก่ ฟาดคอ เกร็งคอ หอบไหล่ ทรุดตัว ขย่มตัว เหลี่ยมล้า รำแอ้ รำลน รำเลื้อย รำล้ำจังหวะ รำหน่วงจังหวะ
3. นาฏยศัพท์เบ็ดเตล็ด
หมายถึง ศัพท์ต่าง ๆ ที่ใช้เรียกในภาษานาฏศิลป์นอกเหนือไปจากนามศัพท์และกิริยาศัพท์ เช่น จีบยาว จีบสั้น ลักคอ เดินมือ เอียงทางวง คืนตัว อ่อนเหลี่ยม เหลี่ยมล่าง แม่ทา ท่า-ที ขึ้นท่า ยืนเข่า ทลายท่า นายโรง พระใหญ่ - พระน้อย นางกษัตริย์ นางตลาด ผู้เมีย ยืนเครื่อง

นาฏยภาษา

นาฏยภาษาหรือภาษาท่าทาง เป็นการสื่อสารอย่างหนึ่งที่ทั้งผู้ถ่ายทอดสาร (ผู้รำ) และผู้รับสาร (ผู้ชม) จำเป็นจะต้องเข้าใจตรงกัน จึงจะสามารถเข้าใจในความหมายของการแสดงออกนั้นได้อย่างถูกต้อง

การถ่ายทอดภาษาด้วยการเคลื่อนไหวของร่างกายนี้ ชาวสยามเรารู้จักใช้และเข้าใจกันมานานแล้ว จึงทำให้ภาษาการฟ้อนรำนี้พัฒนาด้วยกระบวนการทางอารยธรรมจนกลายเป็น "วิจิตรศิลป์" ดังนั้น อารยชนผู้ที่จะสามารถเข้าใจในภาษาท่าทางเหล่านี้ก็จะต้องทำความเข้าใจให้ตรงกับผู้รำเสียก่อน จึงจะสามารถดูละครรำของไทย

อ้างอิง

  1. ลักษณะการรำไทย
  2. http://www.nsru.ac.th/oldnsru/webelearning/dance/standard.html

นาฏยศ, พท, หมายถ, พท, ใช, เก, ยวก, บล, กษณะท, ารำ, ใช, ในการฝ, กห, ดเพ, อแสดงโขน, ละคร, เป, นคำท, ใช, ในวงการนาฏศ, ลป, ไทย, สามารถส, อความหมายก, นได, กฝ, ายในการแสดงต, าง, นาฏย, หมายถ, เก, ยวก, บการฟ, อนรำ, เก, ยวก, บการแสดงละคร, พท, หมายถ, เส, ยง, คำ, คำยากท,. natysphth hmaythung sphththiichekiywkblksnathara thiichinkarfukhdephuxaesdngokhn lakhr epnkhathiichinwngkarnatsilpithy samarthsuxkhwamhmayknidthukfayinkaraesdngtang 1 naty hmaythung ekiywkbkarfxnra ekiywkbkaraesdnglakhr sphth hmaythung esiyng kha khayakthitxngaepl eruxng emuxnakhasxngkhamarwmkn thaihidkhwamhmaykhunmakarsuksathangdannatsilpithy imwacaepnkaraesdngokhn lakhr hruxrabaebdetldtang kdi thathangthiphuaesdngaesdngxxkmannyxmmikhwamhmayechphaa yinghakidsuksaxyangdiaelw xacthaihekhaicineruxngkaraesdngmakyingkhunthngintwphuaesdngexng aelaphuthichmkaraesdngnn singthiekhamaprakxbepnthathangnatsilpithynnkkhux eruxngkhxngnatysphth sungaeykxxkidepnkhawa naty kbkhawa sphth dngnipraephthkhxngnatysphth 2 aekikhaebngxxkepn 3 praephth khux 1 namsphth hmaythung sphththieriykchuxthara hruxchuxthathibxkxakarkrathakhxngphunn echn wng cib sldmux khlaymux kraymux chaymux padmux krathb kradk yketha kawetha praetha tbetha krathung kaethaa crdetha aetaetha sxyetha khynetha chayetha sadudetha rwmetha oytw yktw tiihl klxmihl2 kiriyasphth hmaythung sphththiicheriykinkarptibtibxkxakarkiriya sungaebngxxkepnsphthesrim hmaythung sphththiicheriykephuxprbprungthathiihthuktxngswyngam echn knwng ldwng sngmux dungmux hkkhx hlbsxk epidkhang kdkhang thrngtw ephntw dungihl kdihl dungexw kdekliywkhang thbtw hlbekha thibekha aekhngekha knekha epidsn chksnsphthesuxm hmaythung sphththiicheriykchuxtharahruxthwngthikhxngphurathiimthuktxngtammatrthan ephuxihphurarutwaelaaekikhthathikhxngtnihdikhun echn wngla wngkhwa wngehyiyd wnghk wngln khxdum khangik fadkhx ekrngkhx hxbihl thrudtw khymtw ehliymla raaex raln raeluxy ralacnghwa rahnwngcnghwa3 natysphthebdetld hmaythung sphthtang thiicheriykinphasanatsilpnxkehnuxipcaknamsphthaelakiriyasphth echn cibyaw cibsn lkkhx edinmux exiyngthangwng khuntw xxnehliym ehliymlang aemtha tha thi khuntha yunekha thlaytha nayorng phraihy phranxy nangkstriy nangtlad phuemiy yunekhruxngnatyphasa aekikhnatyphasahruxphasathathang epnkarsuxsarxyanghnungthithngphuthaythxdsar phura aelaphurbsar phuchm caepncatxngekhaictrngkn cungcasamarthekhaicinkhwamhmaykhxngkaraesdngxxknnidxyangthuktxngkarthaythxdphasadwykarekhluxnihwkhxngrangkayni chawsyameraruckichaelaekhaicknmananaelw cungthaihphasakarfxnraniphthnadwykrabwnkarthangxarythrrmcnklayepn wicitrsilp dngnn xarychnphuthicasamarthekhaicinphasathathangehlanikcatxngthakhwamekhaicihtrngkbphuraesiykxn cungcasamarthdulakhrrakhxngithyxangxing aekikh lksnakarraithy http www nsru ac th oldnsru webelearning dance standard html bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title natysphth amp oldid 9447811, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม