fbpx
วิกิพีเดีย

นโยบายต่างประเทศของโซเวียตยุคเริ่มต้น

นโยบายต่างประเทศของโซเวียตยุคเริ่มต้น เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายต่างประเทศของโซเวียต ที่ปรากฏในช่วง ค.ศ. 1917 -1945 ในระหว่างช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 1 และสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในยุโรป เป็นยุคที่สหภาพโซเวียตได้พยายามก่อร่างสร้างตัว เพื่อให้เป็นรัฐสังคมนิยมแบบคอมมิวนิสต์ตามแนวลัทธิมาร์ก-เลนิน และเพื่อดำรงอยู่ได้โดยไม่ถูกทำลายจากมหาอำนาจตะวันตก และป้องกันภัยจากทางตะวันออกไกล คือ ญี่ปุ่น ดังนั้นนโยบายต่างประเทศในช่วงนี้จะอยู่ในสมัยของ เลนิน (1917-1924) และส่วนใหญ่ของ สตาลิน (1924-1953)

  • มีการปรับเปลี่ยนนโยบายต่างประเทศบ่อยครั้ง ในช่วงแรกจะใช้วิธีการประวิงเวลา รอจังหวะและฉวยโอกาสตามสภาพการเมืองระหว่างประเทศ เพื่อสร้างฐานของโซเวียตให้เข้มแข็งทางการเมือง เศรษฐกิจ และการทหาร
  • มีระบบที่ยืดหยุ่นในการเผยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์ไปสู่ประเทศต่างๆ
รูปค้อนเคียว สัญลักษณ์ของลัทธิคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียต

การเผยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์

  • หลังจากที่เลนินได้ปฏิวัติการปกครองได้ ในวันที่ 7 พ.ย. 1917 เขารีบทำสนธิสัญญาสงบศึก (เบรสท์-ลีตอฟสก์) กับเยอรมนี เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 1918 เพื่อให้เวลากับการจัดระเบียบสังคม และแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆภายในประเทศ
  • สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ ทำให้สภาวะความเป็นภาคีกับกับอังกฤษและฝรั่งเศสสิ้นสุดลง และทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างอังกฤษ ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา และโซเวียตหยุดชะงักลงตามไปด้วย
  • ปี 1919 หลังจากที่เยอรมันแพ้สงคราม โซเวียตประกาศยกเลิกพันธะกับเยอรมัน ยกเลิกสนธิสัญญา Brest Litovsk
  • ปี 1919 เลนินได้จัดตั้งองค์การคอมมิวนิสต์สากล
  • เมื่อสตาลินขึ้นมามีอำนาจสืบต่อจากเลนิน ซึ่งถึงแก่กรรมในปี 1924 สตาลินได้พัฒนาแนวนโยบายของเลนินออกไปเพื่อให้โซเวียตรัสเซียมีความเข้มแข็งมากขึ้น โดยใช้หลักสังคมนิยมประเทศเดียว (Socialism in one country) ควบคู่ไปกับการดำเนินนโยบายการอยู่ร่วมกันโดยสันติ (Peaceful Co-Existence)
  • โดยที่โซเวียตจะต้องมีความเข้มแข็งทางการเมือง เศรษฐกิจ การทหารเสียก่อนที่จะเผยแพร่ลัทธิมาร์ก-เลนิน ไปสู่ประเทศอื่น และอาศัยจังหวะที่มหาอำนาจในยุโรปแตกแยกกัน เนื่องมาจากอิตาลีและเยอรมันภายใต้การนำของระบบฟาสซิสต์-นาซี ที่มีความร้าวรุนแรงมากขึ้น นับตั้งแต่ปี 1933 เป็นต้นมา
  • โซเวียตเกรงว่าจะต้องเผชิญกับศัตรูทั้ง 2 ด้าน ซึ่งก่อนหน้านี้โซเวียตหันไปเป็นมิตรกับเยอรมัน โดยสามารถซื้อเทคโนโลยีระดับสูงจากเยอรมันและมีการค้าขายติดต่อกันเพื่อสร้างฐานะของประเทศ เนื่องจากอังกฤษ ฝรั่งเศส หยุดให้การช่วยเหลือนับตั้งแต่ปฏิวัติบอลเชวิก แต่ต่อมาเมื่อเห็นว่าภัยจากฟาสซิสต์-นาซี มีความรุนแรงเป็นปฏิปักษ์ต่อลัทธิคอมมิวนิสต์และลัทธิประชาธิปไตย
  • ดังนั้นสตาลินจึงหันมาเป็นมิตรไมตรีกับอังกฤษ ฝรั่งเศส และสหรัฐ เข้ามาเป็นสมาชิกสันนิบาตชาติในปี 1934 มีฐานะเป็นมหาอำนาจหนึ่งในคณะมนตรีถาวรด้วย
  • ในช่วงนี้โซเวียตและพรรคคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออกต่างๆได้ละทิ้งอุดมการณ์ชั่วคราว หันมาให้ความร่วมมือกับประเทศประชาธิปไตยตะวันตกและกลุ่มการเมืองอื่นๆปรากฏออกมาเป็นนโยบายที่เรียกว่า “แนวร่วมประชาชน”(Popular Front) ต่อต้านภัยจากลัทธิฟาสซิสต์-นาซี ซึ่งองค์การโคมินเทอร์นประกาศสนับสนุนอย่างเป็นทางการในปี 1935
  • สำหรับนโยบายของสตาลินที่เกี่ยวกับประเทศอาณานิคมนั้นเขาได้ใช้การปลุกระดมลัทธิชาตินิยมกับการปฏิวัติประชาธิปไตย เพื่อก้าวไปสู่การปฏิวัติประเทศเป็นสังคมนิยมต่อไป
  • ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 จะเกิดขึ้นเป็นทางการในปี 1939 โซเวียตได้มีสัญญาไม่รุกรานกับเยอรมัน โดยไม่ไว้วางใจฝ่ายฝรั่งเศสและอังกฤษ ในช่วงแรกที่สงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดขึ้น โซเวียตได้พยายามประวิงเวลาไม่ยอมร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร(อังกฤษ ฝรั่งเศส) ในการทำสงครามเพื่อรอจังหวะและฉวยโอกาสให้ทั้ง 2 ฝ่ายสู้รบกันจนหมดความสามารถไปทั้ง 2 ฝ่ายก่อน
  • จนกระทั่งในปี 1941 โซเวียตเข้าร่วมกับสัมพันธมิตรทำสงครามกับฝ่ายฝ่ายอักษะ(เยอรมัน อิตาลี ญี่ปุ่น) ทางสหรัฐได้ให้ความช่วยเหลือแก่โซเวียต และต่อมาสตาลินก็ประกาศยุบองค์การโคมินเทอร์นในปี 1943 เพื่อให้อังกฤษ ฝรั่งเศส และสหรัฐ ไว้วางใจโซเวียตมากขึ้นที่จะเป็นสหายร่วมสงคราม
  • แต่ในขณะที่สงครามโลกครั้งที่ 2 กำลังดำเนินอยู่นั้น โซเวียตก็เข้าไปมีอิทธิพลในยุโรปตะวันออกมากขึ้น เพราะฝ่ายสัมพันธมิตรไม่สามารถสกัดกั้นเยอรมันในบริเวณนี้ได้ เมื่อกองทัพเยอรมันถอย กองทัพแดงของโซเวียตก็เข้าไปตั้งมั่นอยู่ในบริเวณนี้ด้วย เพราะสตาลินมีแผนที่จะครองยุโรปตะวันออก ซึ่งเคยพูดไว้ว่า “สงครามโลกทั้ง 2 ครั้งเกิดขึ้นจากการกระทำของเยอรมันและแผ่อำนาจเข้ามาถึงรัสเซียโดยผ่านยุโรปตะวันออก”
  • เมื่อเยอรมันแพ้สงครามในเดือน พฤษภาคม 1945 โซเวียตรัสเซียก็ได้มีอิทธิพลครอบคลุมยุโรปตะวันออก เป็นการสืบทอดเจตนารมณ์ของนโยบายต่างประเทศของพระเจ้าซาร์ให้เป็นผลสำเร็จอีกด้วย
  • โซเวียตก้าวขึ้นสู่ความเป็นมหาอำนาจระดับโลกที่มีความแข็งแรงทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจ และทหาร มีศักดิ์ศรีเพิ่มขึ้นจากเดิมได้มีบทบาทร่วมกับมหาอำนาจตะวันตกในการประชุมร่างกฎบัตรสหประชาชาติ และได้หันมาพัฒนาโลกตามแนวอุดมการณ์ของลัทธิมาร์ก-เลนินต่อไป

นโยบายต, างประเทศของโซเว, ยตย, คเร, มต, บทความน, งหมดหร, อบางส, วน, เน, อหา, ปแบบ, หร, อล, กษณะการนำเสนอท, ไม, เหมาะสมสำหร, บสาราน, กรม, โปรดอภ, ปรายป, ญหาด, งกล, าวในหน, าอภ, ปราย, หากบทความน, เข, าก, นได, บโครงการพ, อง, โปรดทำการแจ, งย, ายแทน, เป, นส, วนหน, . bthkhwamnithnghmdhruxbangswn mienuxha rupaebb hruxlksnakarnaesnxthiimehmaasmsahrbsaranukrm oprdxphipraypyhadngklawinhnaxphipray hakbthkhwamniekhaknidkbokhrngkarphinxng oprdthakaraecngyayaethnnoybaytangpraethskhxngosewiytyukherimtn epnswnhnungkhxngnoybaytangpraethskhxngosewiyt thipraktinchwng kh s 1917 1945 inrahwangchwngplaysngkhramolkkhrngthi 1 aelasinsudsngkhramolkkhrngthi 2 inyuorp epnyukhthishphaphosewiytidphyayamkxrangsrangtw ephuxihepnrthsngkhmniymaebbkhxmmiwnisttamaenwlththimark elnin aelaephuxdarngxyuidodyimthukthalaycakmhaxanactawntk aelapxngknphycakthangtawnxxkikl khux yipun dngnnnoybaytangpraethsinchwngnicaxyuinsmykhxng elnin 1917 1924 aelaswnihykhxng stalin 1924 1953 mikarprbepliynnoybaytangpraethsbxykhrng inchwngaerkcaichwithikarprawingewla rxcnghwaaelachwyoxkastamsphaphkaremuxngrahwangpraeths ephuxsrangthankhxngosewiytihekhmaekhngthangkaremuxng esrsthkic aelakarthhar mirabbthiyudhyuninkarephyaephrlththikhxmmiwnistipsupraethstangrupkhxnekhiyw sylksnkhxnglththikhxmmiwnistinshphaphosewiytkarephyaephrlththikhxmmiwnist aekikhhlngcakthielninidptiwtikarpkkhrxngid inwnthi 7 ph y 1917 ekharibthasnthisyyasngbsuk ebrsth litxfsk kbeyxrmni emuxwnthi 3 minakhm 1918 ephuxihewlakbkarcdraebiybsngkhm aelaaekikhpyhaaelaxupsrrkhtangphayinpraeths snthisyyaebrsth litxfsk thaihsphawakhwamepnphakhikbkbxngkvsaelafrngesssinsudlng aelathaihkhwamsmphnthrahwangxngkvs frngess shrthxemrika aelaosewiythyudchangklngtamipdwy pi 1919 hlngcakthieyxrmnaephsngkhram osewiytprakasykelikphnthakbeyxrmn ykeliksnthisyya Brest Litovsk pi 1919 elninidcdtngxngkhkarkhxmmiwnistsakl emuxstalinkhunmamixanacsubtxcakelnin sungthungaekkrrminpi 1924 stalinidphthnaaenwnoybaykhxngelninxxkipephuxihosewiytrsesiymikhwamekhmaekhngmakkhun odyichhlksngkhmniympraethsediyw Socialism in one country khwbkhuipkbkardaeninnoybaykarxyurwmknodysnti Peaceful Co Existence odythiosewiytcatxngmikhwamekhmaekhngthangkaremuxng esrsthkic karthharesiykxnthicaephyaephrlththimark elnin ipsupraethsxun aelaxasycnghwathimhaxanacinyuorpaetkaeykkn enuxngmacakxitaliaelaeyxrmnphayitkarnakhxngrabbfassist nasi thimikhwamrawrunaerngmakkhun nbtngaetpi 1933 epntnma osewiytekrngwacatxngephchiykbstruthng 2 dan sungkxnhnaniosewiythnipepnmitrkbeyxrmn odysamarthsuxethkhonolyiradbsungcakeyxrmnaelamikarkhakhaytidtxknephuxsrangthanakhxngpraeths enuxngcakxngkvs frngess hyudihkarchwyehluxnbtngaetptiwtibxlechwik aettxmaemuxehnwaphycakfassist nasi mikhwamrunaerngepnptipkstxlththikhxmmiwnistaelalththiprachathipity dngnnstalincunghnmaepnmitrimtrikbxngkvs frngess aelashrth ekhamaepnsmachiksnnibatchatiinpi 1934 mithanaepnmhaxanachnunginkhnamntrithawrdwy inchwngniosewiytaelaphrrkhkhxmmiwnistinyuorptawnxxktangidlathingxudmkarnchwkhraw hnmaihkhwamrwmmuxkbpraethsprachathipitytawntkaelaklumkaremuxngxunpraktxxkmaepnnoybaythieriykwa aenwrwmprachachn Popular Front txtanphycaklththifassist nasi sungxngkhkarokhminethxrnprakassnbsnunxyangepnthangkarinpi 1935 sahrbnoybaykhxngstalinthiekiywkbpraethsxananikhmnnekhaidichkarplukradmlththichatiniymkbkarptiwtiprachathipity ephuxkawipsukarptiwtipraethsepnsngkhmniymtxip kxnsngkhramolkkhrngthi 2 caekidkhunepnthangkarinpi 1939 osewiytidmisyyaimrukrankbeyxrmn odyimiwwangicfayfrngessaelaxngkvs inchwngaerkthisngkhramolkkhrngthi 2 ekidkhun osewiytidphyayamprawingewlaimyxmrwmkbfaysmphnthmitr xngkvs frngess inkarthasngkhramephuxrxcnghwaaelachwyoxkasihthng 2 faysurbkncnhmdkhwamsamarthipthng 2 faykxn cnkrathnginpi 1941 osewiytekharwmkbsmphnthmitrthasngkhramkbfayfayxksa eyxrmn xitali yipun thangshrthidihkhwamchwyehluxaekosewiyt aelatxmastalinkprakasyubxngkhkarokhminethxrninpi 1943 ephuxihxngkvs frngess aelashrth iwwangicosewiytmakkhunthicaepnshayrwmsngkhram aetinkhnathisngkhramolkkhrngthi 2 kalngdaeninxyunn osewiytkekhaipmixiththiphlinyuorptawnxxkmakkhun ephraafaysmphnthmitrimsamarthskdkneyxrmninbriewnniid emuxkxngthpheyxrmnthxy kxngthphaedngkhxngosewiytkekhaiptngmnxyuinbriewnnidwy ephraastalinmiaephnthicakhrxngyuorptawnxxk sungekhyphudiwwa sngkhramolkthng 2 khrngekidkhuncakkarkrathakhxngeyxrmnaelaaephxanacekhamathungrsesiyodyphanyuorptawnxxk emuxeyxrmnaephsngkhramineduxn phvsphakhm 1945 osewiytrsesiykidmixiththiphlkhrxbkhlumyuorptawnxxk epnkarsubthxdectnarmnkhxngnoybaytangpraethskhxngphraecasarihepnphlsaercxikdwy osewiytkawkhunsukhwamepnmhaxanacradbolkthimikhwamaekhngaerngthngthangkaremuxngaelaesrsthkic aelathhar miskdisriephimkhuncakedimidmibthbathrwmkbmhaxanactawntkinkarprachumrangkdbtrshprachachati aelaidhnmaphthnaolktamaenwxudmkarnkhxnglththimark elnintxip bthkhwamekiywkbshphaphosewiytniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy shphaphosewiyt ekhathungcak https th wikipedia org w index php title noybaytangpraethskhxngosewiytyukherimtn amp oldid 9288911, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม