fbpx
วิกิพีเดีย

ปรากฏการณ์คนมุง

ปรากฏการณ์คนมุง (อังกฤษ: bystander effect) หรือความเฉยชาของคนมุง (อังกฤษ: bystander apathy) เป็นทฤษฎีจิตวิทยาสังคมซึ่งระบุว่าปัจเจกบุคคลมีโอกาสเสนอความช่วยเหลือผู้เสียหายลดลงหากมีผู้อื่นอยู่ด้วย ทฤษฎีนี้มีการเสนอครั้งแรกในปี 1964 และการวิจัยโดยเฉพาะในห้องปฏิบัติการพบปัจจัยหลากหลายเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เช่น จำนวนคนมุง ความกำกวม ความเป็นปึกแผ่นของกลุ่ม และการซึมผ่านของความรับผิดชอบที่ส่งเสริมการปฏิเสธร่วมกัน ทฤษฎีนี้เกิดขึ้นจากการฆ่าคิตตี จีโนวีสซึ่งมีรายงานข่าวไม่ถูกต้องว่ามีคนมุงอยู่ 38 คนโดยไม่เข้าสอด การวิจัยสมัยหลังสนใจเหตุการณ์ "โลกความเป็นจริง" ที่จับได้ในกล้องนิรภัย และมีการตั้งคำถามถึงความคงทนและผลไปในทางเดียวกันของปรากฏการณ์นี้ การศึกษาใหม่ ๆ ยังแสดงให้เห็นว่าปรากฎการณ์นี้ยังสามารถวางนัยทั่วไปถึงสถานที่ทำงานด้วย โดยผู้ใต้บังคังบัญชามักละเลยไม่แจ้งความคิด ความกังวลและความเห็นต่อผู้บังคับบัญชา

อ้างอิง

  1. Philpot, Richard; Liebst, Lasse Suonperä; Levine, Mark; Bernasco, Wim; Lindegaard, Marie Rosenkrantz (2020). "Would I be helped? Cross-national CCTV footage shows that intervention is the norm in public conflicts" (PDF). American Psychologist (ภาษาอังกฤษ). 75 (1): 66–75. doi:10.1037/amp0000469. hdl:10871/37604. ISSN 1935-990X. PMID 31157529.
  2. Hussain, Insiya; Shu, Rui; Tangirala, Subrahmaniam; Ekkirala, Srinivas (2019). "The Voice Bystander Effect: How Information Redundancy Inhibits Employee Voice". Academy of Management Journal. 62 (3): 828–849. doi:10.5465/amj.2017.0245. ISSN 0001-4273.

ปรากฏการณ, คนม, งกฤษ, bystander, effect, หร, อความเฉยชาของคนม, งกฤษ, bystander, apathy, เป, นทฤษฎ, ตว, ทยาส, งคมซ, งระบ, าป, จเจกบ, คคลม, โอกาสเสนอความช, วยเหล, อผ, เส, ยหายลดลงหากม, นอย, วย, ทฤษฎ, การเสนอคร, งแรกในป, 1964, และการว, ยโดยเฉพาะในห, องปฏ, การพบป,. praktkarnkhnmung xngkvs bystander effect hruxkhwamechychakhxngkhnmung xngkvs bystander apathy epnthvsdicitwithyasngkhmsungrabuwapceckbukhkhlmioxkasesnxkhwamchwyehluxphuesiyhayldlnghakmiphuxunxyudwy thvsdinimikaresnxkhrngaerkinpi 1964 aelakarwicyodyechphaainhxngptibtikarphbpccyhlakhlayephimkhuneruxy echn canwnkhnmung khwamkakwm khwamepnpukaephnkhxngklum aelakarsumphankhxngkhwamrbphidchxbthisngesrimkarptiesthrwmkn thvsdiniekidkhuncakkarkhakhitti cionwissungmirayngankhawimthuktxngwamikhnmungxyu 38 khnodyimekhasxd karwicysmyhlngsnicehtukarn olkkhwamepncring thicbidinklxngnirphy aelamikartngkhathamthungkhwamkhngthnaelaphlipinthangediywknkhxngpraktkarnni 1 karsuksaihm yngaesdngihehnwaprakdkarnniyngsamarthwangnythwipthungsthanthithangandwy odyphuitbngkhngbychamklaelyimaecngkhwamkhid khwamkngwlaelakhwamehntxphubngkhbbycha 2 xangxing aekikh Philpot Richard Liebst Lasse Suonpera Levine Mark Bernasco Wim Lindegaard Marie Rosenkrantz 2020 Would I be helped Cross national CCTV footage shows that intervention is the norm in public conflicts PDF American Psychologist phasaxngkvs 75 1 66 75 doi 10 1037 amp0000469 hdl 10871 37604 ISSN 1935 990X PMID 31157529 Hussain Insiya Shu Rui Tangirala Subrahmaniam Ekkirala Srinivas 2019 The Voice Bystander Effect How Information Redundancy Inhibits Employee Voice Academy of Management Journal 62 3 828 849 doi 10 5465 amj 2017 0245 ISSN 0001 4273 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title praktkarnkhnmung amp oldid 9480355, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม