fbpx
วิกิพีเดีย

ปลาร้า

ปลาร้า หรือ ปลาแดก (ปาแดก) ปลาน้อย ในภาษาอีสาน เป็นอาหารท้องถิ่นที่สำคัญในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะในภาคอีสานของไทย และประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชนลาว รวมถึงบางส่วนของเวียดนามและพม่า โดยแต่ละท้องถิ่นจะมีการทำปลาร้าเป็นเอกลักษณ์ของตน ปัจจุบัน ปลาร้าได้พัฒนาขึ้นไปสู่ระดับสากลมากขึ้น มีปลาร้าพาสเจอร์ไรซ์เพื่อฆ่าเชื้อโรคก่อนด้วย หรือปลาร้าอนามัย แต่ส่วนใหญ่ ปลาร้าก็ยังนิยมทำแบบเดิม โดยตักขายตามน้ำหนักตามตลาดสดต่างๆ ในวรรณกรรมลาวโบราณบางเรื่องเรียกปลาร้าว่า ปลาแดกฮ้า หรือปลาแดกร้า ในลาวและอีสานมีวรรณกรรมที่กล่าวถึงเรื่องราวเกี่ยวกับปลาร้าโดยตรงคือวรรณกรรมเรื่อง ปลาแดกปลาสมอ หรือลำบุษบา หรือท้าวกำพร้า คนไทยทางภาคเหนือนิยมเรียกปลาร้าว่า ฮ้า ดังนั้นคำว่าปลาร้าจึงเป็นภาษาลาวที่ชาวไทยภาคกลางและภาคเหนือรับอิทธิพลทางภาษามาจากชนชาติลาว

สภาพของปลาร้าขณะหมัก

ปลาร้าอีสาน

ปลาร้า หรือปลาแดก เป็นอาหารหลัก และเครื่องปรุงรสที่สำคัญที่สุดในวัฒนธรรมของภาคอีสาน จนถือเป็นหนึ่งในวิญญาณห้าของความเป็นอีสาน ได้แก่ ข้าวเหนียว ลาบ ส้มตำ หมอลำ และปลาร้า ชีวิตชาวอีสานก่อนปี พ.ศ. 2500 ครอบครัวชาวนาทุกครอบครัวจะทำปลาร้ากินเอง โดยหมักปลาร้าไว้มากหรือน้อยบ้าง ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำฝนและความอุดมสมบูรณ์ของปลา

ลักษณะของปลาร้าอีสานคือมักทำจากปลาน้ำจืดขนาดเล็ก เช่น ปลาสร้อยขาว ปลากระดี่มาหมักกับรำข้าวและเกลือ แล้วบรรจุใส่ไห จะหมักไว้ประมาณ 7-8 เดือน แล้วนำมารับประทานได้ ในบางท้องที่มีค่านิยมว่า หมักให้เกิดหนอนจะยิ่งเพิ่มรสชาติยิ่งขึ้น ปลาร้าเป็นการถนอมปลาโดยการหมักไว้เป็นอาหารนอกฤดูกาล โดยมีข้อมูลเชิงสถิติระบุไว้ว่า กำลังการผลิตปลาร้าทั่วประเทศ 20,000-40,000 ตัน/ปี ครัวเรือนอีสานผลิตปลาร้าเฉลี่ย 27.09 กิโลกรัม/ปี อัตราการบริโภคปลาร้าโดยเฉลี่ยประมาณ 15-40 กรัม/คน/วัน ปริมาณการซื้อขายปลาร้าทั่วประเทศคิดเป็นมูลค่าประมาณ 9 ล้านบาทต่อวัน

ปลาร้านำไปปรุงอาหารได้หลายชนิด ตั้งแต่ น้ำพริก หลน จนถึงนำไปทอด นึ่ง เผา แล้วแต่ขนาดของปลาร้า นำปลาร้าไปต้มกับน้ำแล้วกรองเอาแต่น้ำเป็นน้ำปลาร้าเป็นเครื่องปรุงรสที่สำคัญของอาหารอีสาน อาหารที่ปรุงด้วยปลาร้าที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปคือส้มตำโดยส้มตำที่ใส่ปลาร้านั้นจะเรียกว่า ส้มตำลาว หรือ ส้มตำปลาร้า เพื่อให้ต่างจากส้มตำใส่กุ้งแห้งที่เรียกส้มตำไทย ปลาร้าที่นิยมใส่ในส้มตำมี 3 แบบคือ

  • ปลาร้าต่วงหรือปลาแดกน้อย ทำจากปลาตัวเล็ก หมักกับเกลือ รสเค็มกลมกล่อม
  • ปลาร้าโหน่ง รสจืดกว่าปลาร้าต่วง โดยหมักปลากับเกลือและรำข้าว รำข้าวจะช่วยเร่งให้ปลาร้าเป็นเร็ว สีออกแดงและหอม
  • ปลาร้าขี้ปลาทู ทำจากไส้ปลาทู มีกลิ่นหอมที่เป็นเอกลักษณ์ นิยมนำมาทำเป็นน้ำปลาร้าไว้ปรุงรสส้มตำ

คุณภาพของปลาร้า

สิ่งที่บ่งชี้คุณภาพของปลาร้า คือ คุณค่าด้านสารอาหาร รส กลิ่น สี นักโภชนาการยอมรับกันว่า เมื่อเปรียบเทียบปลาร้ากับอาหารหมักดองประเภทอื่น เช่น ปลาจ่อม ปลาส้มฟัก กะปิ ปลาร้าให้คุณค่าด้านสารอาหารค่อนข้างสูง คือ ให้โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ โดยเฉพาะปลาร้าที่ทำมาจากปลาช่อน

ส่วนรสชาติ กลิ่น สีของปลาร้านั้นขึ้นอยู่กับปลาร้าที่ได้สัดส่วนระหว่างปลา เกลือและอุณหภูมิ หากปลาร้าไม่เน่า เพราะเกลือได้สัดส่วน และเป็นเกลือสินเธาว์ตัวปลาจะแข็ง มีสีแดง ส่วนกลิ่นที่หอมและรสที่ไม่เค็มเกินไปขึ้นอยู่กับการใช้ข้าวคั่วและรำใหม่ ที่มีคุณภาพดี ชาวอีสานจะเรียกปลาร้าตามคุณภาพของรสและกลิ่น เช่น ปลาแดกหอม ปลาแดกนัวหรือปลาแดกต่วง และปลาแดกโหน่ง

ปลาแดกหอม เป็นปลาร้าที่มีกลิ่นหอมสีแดงน่ารับประทาน ทำจากปลาตัวโตเช่น ปลาช่อนและปลาดุก ส่วนประกอบในการหมักใช้เกลือมากกว่าสูตรทั่วไป คือ ปลาสี่ส่วน เกลือสองส่วนและข้าวคั่วหรือรำหนึ่งส่วน

ปลาแดกนัวหรือปลาแดกต่วง เป็นปลาร้าที่หมักให้มีกลิ่นนุ่มนวล ปลาที่ใช้ทำจะเลือกปลาขนาดกลางและขนาดเล็ก ส่วนผสมประกอบด้วย ปลาสี่ส่วน เกลือหนึ่งส่วนครึ่ง และรำหนึ่งส่วน

ปลาแดกโหน่ง เป็นปลาร้าที่มีกลิ่นอันร้ายกาจ ส่งกลิ่นฟุ้งได้ไกล รสชาติแปลกประหลาด สีออกดำคล้ำ นิยมใช้ปรุงส้มตำ ปลาร้าชนิดนี้จะทำมาจากปลาขนาดเล็ก เช่น ปลาซิว ปลาสร้อย ปลาขาวนา ส่วนผสมที่ใช้ ปลาสี่ส่วน เกลือหนึ่งส่วน รำหนึ่งส่วน

ปลาร้าที่หมักนานกว่าสามเดือนขึ้นไปจะให้รสชาติที่ดี ถ้าปลาช่อนตัวใหญ่อาจต้องใช้เวลาถึงหนึ่งปี ไม่ต้องพะวงกับเชื้อโรคในปลาร้า เพราะนักโภชนาการเชื่อว่า เกลือในปริมาณที่พอเหมาะมากพอจะทำให้ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ที่ ทำให้อาหารบูดเน่าได้ ดังนั้นถ้าปลาร้าที่ทำจากปลาที่ล้างสะอาด สด ใช้เกลือสินเธาว์และภาชนะบรรจุที่เหมาะสมจะทำให้ได้ปลาร้าที่มีคุณภาพดี จากการศึกษาวิจัยยังพบอีกว่า ปลาร้าที่หมักนานกว่าสามเดือนขึ้นไป พยาธิใบไม้ตับ จะตายหมดไม่สามารถติดต่อมายังคนได้ไม่ว่าจะรับประทานปลาร้าดิบหรือสุกก็ตาม

ปลาร้าเลสาบ

นอกจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือแล้ว ทางภาคใต้มีปลาร้าที่เป็นเอกลักษณ์ของตนโดยเฉพาะเรียกปลาร้าเลสาบ นิยมทำในบริเวณทะเลสาบสงขลา ปลาที่นิยมทำคือปลาดุก การทำปลาร้าแบบภาคใต้นี้ จะหมักปลากับเกลือและน้ำตาลโตนด 1 คืน แล้วนำไปตากแดด 2-3 วัน จึงรับประทานได้

ปลาร้ามอญ

ปลาร้าแบบมอญต่างจากปลาร้าแบบอีสาน นิยมทำจากปลากระดี่ นำมาเคล้ากับเกลือ ผึ่งให้แห้ง นำมาโขลกกับเกลือและข้าวสุกให้เกลือเข้าเนื้อแล้วหมักในไห ใช้เวลาหมักเป็นปี ไม่ใส่ข้าวคั่วแบบปลาร้าอีสาน และใช้เวลาหมักนานกว่า ปลาร้าแบบนี้ ชาวมอญนิยมนำไปทำปลาร้าทรงเครื่องหรือกะเซียก ซึ่งมีลักษณะคล้ายปลาร้าหลน

อ้างอิง

วิกิตำรา มีคู่มือ ตำรา หรือวิธีการเกี่ยวกับ:
ปลาร้า
  1. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2015-05-14. สืบค้นเมื่อ 2015-03-12.
  2. ส้มตำเป็นอาชีพ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กทม. แสงแดด. 2552.
  3. ส้มตำเป็นอาชีพ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กทม. แสงแดด. 2552.หน้า 22
  4. อาหารการกินแห่งลุ่มทะเลสาบ. สงขลา: เครือข่ายสตรีรอบทะเลสาบ. 2551. หน้า 32-33
  5. องค์ บรรจุน. ข้างสำรับมอญ. กรุงเทพฯ: มติชน. 2557

ปลาร, หร, ปลาแดก, ปาแดก, ปลาน, อย, ในภาษาอ, สาน, เป, นอาหารท, องถ, นท, สำค, ญในเอเช, ยตะว, นออกเฉ, ยงใต, โดยเฉพาะในภาคอ, สานของไทย, และประเทศสาธารณร, ฐประชาธ, ปไตยประชนลาว, รวมถ, งบางส, วนของเว, ยดนามและพม, โดยแต, ละท, องถ, นจะม, การทำเป, นเอกล, กษณ, ของตน, จจ. plara hrux plaaedk paaedk planxy inphasaxisan epnxaharthxngthinthisakhyinexechiytawnxxkechiyngit odyechphaainphakhxisankhxngithy aelapraethssatharnrthprachathipityprachnlaw rwmthungbangswnkhxngewiydnamaelaphma odyaetlathxngthincamikarthaplaraepnexklksnkhxngtn pccubn plaraidphthnakhunipsuradbsaklmakkhun miplaraphasecxrirsephuxkhaechuxorkhkxndwy hruxplaraxnamy aetswnihy plarakyngniymthaaebbedim odytkkhaytamnahnktamtladsdtang inwrrnkrrmlawobranbangeruxngeriykplarawa plaaedkha hruxplaaedkra inlawaelaxisanmiwrrnkrrmthiklawthungeruxngrawekiywkbplaraodytrngkhuxwrrnkrrmeruxng plaaedkplasmx hruxlabusba hruxthawkaphra khnithythangphakhehnuxniymeriykplarawa ha dngnnkhawaplaracungepnphasalawthichawithyphakhklangaelaphakhehnuxrbxiththiphlthangphasamacakchnchatilawsphaphkhxngplarakhnahmk enuxha 1 plaraxisan 2 khunphaphkhxngplara 3 plaraelsab 4 plaramxy 5 xangxingplaraxisan aekikhplara hruxplaaedk epnxaharhlk aelaekhruxngprungrsthisakhythisudinwthnthrrmkhxngphakhxisan cnthuxepnhnunginwiyyanhakhxngkhwamepnxisan idaek khawehniyw lab smta hmxla aelaplara chiwitchawxisankxnpi ph s 2500 khrxbkhrwchawnathukkhrxbkhrwcathaplarakinexng odyhmkplaraiwmakhruxnxybang khunxyukbprimannafnaelakhwamxudmsmburnkhxngplalksnakhxngplaraxisankhuxmkthacakplanacudkhnadelk echn plasrxykhaw plakradimahmkkbrakhawaelaeklux aelwbrrcuisih cahmkiwpraman 7 8 eduxn aelwnamarbprathanid inbangthxngthimikhaniymwa hmkihekidhnxncayingephimrschatiyingkhun plaraepnkarthnxmplaodykarhmkiwepnxaharnxkvdukal odymikhxmulechingsthitirabuiwwa kalngkarphlitplarathwpraeths 20 000 40 000 tn pi khrweruxnxisanphlitplaraechliy 27 09 kiolkrm pi xtrakarbriophkhplaraodyechliypraman 15 40 krm khn wn primankarsuxkhayplarathwpraethskhidepnmulkhapraman 9 lanbathtxwn 1 plaranaipprungxaharidhlaychnid tngaet naphrik hln cnthungnaipthxd nung epha aelwaetkhnadkhxngplara naplaraiptmkbnaaelwkrxngexaaetnaepnnaplaraepnekhruxngprungrsthisakhykhxngxaharxisan xaharthiprungdwyplarathiepnthiruckodythwipkhuxsmtaodysmtathiisplaranncaeriykwa smtalaw hrux smtaplara ephuxihtangcaksmtaiskungaehngthieriyksmtaithy 2 plarathiniymisinsmtami 3 aebbkhux 3 plaratwnghruxplaaedknxy thacakplatwelk hmkkbeklux rsekhmklmklxm plaraohnng rscudkwaplaratwng odyhmkplakbekluxaelarakhaw rakhawcachwyerngihplaraepnerw sixxkaedngaelahxm plarakhiplathu thacakisplathu miklinhxmthiepnexklksn niymnamathaepnnaplaraiwprungrssmtakhunphaphkhxngplara aekikhsingthibngchikhunphaphkhxngplara khux khunkhadansarxahar rs klin si nkophchnakaryxmrbknwa emuxepriybethiybplarakbxaharhmkdxngpraephthxun echn placxm plasmfk kapi plaraihkhunkhadansarxaharkhxnkhangsung khux ihoprtin ikhmn ekluxaer odyechphaaplarathithamacakplachxnswnrschati klin sikhxngplarannkhunxyukbplarathiidsdswnrahwangpla ekluxaelaxunhphumi hakplaraimena ephraaekluxidsdswn aelaepnekluxsinethawtwplacaaekhng misiaedng swnklinthihxmaelarsthiimekhmekinipkhunxyukbkarichkhawkhwaelaraihm thimikhunphaphdi chawxisancaeriykplaratamkhunphaphkhxngrsaelaklin echn plaaedkhxm plaaedknwhruxplaaedktwng aelaplaaedkohnngplaaedkhxm epnplarathimiklinhxmsiaedngnarbprathan thacakplatwotechn plachxnaelapladuk swnprakxbinkarhmkichekluxmakkwasutrthwip khux plasiswn ekluxsxngswnaelakhawkhwhruxrahnungswnplaaedknwhruxplaaedktwng epnplarathihmkihmiklinnumnwl plathiichthacaeluxkplakhnadklangaelakhnadelk swnphsmprakxbdwy plasiswn ekluxhnungswnkhrung aelarahnungswnplaaedkohnng epnplarathimiklinxnraykac sngklinfungidikl rschatiaeplkprahlad sixxkdakhla niymichprungsmta plarachnidnicathamacakplakhnadelk echn plasiw plasrxy plakhawna swnphsmthiich plasiswn ekluxhnungswn rahnungswnplarathihmknankwasameduxnkhunipcaihrschatithidi thaplachxntwihyxactxngichewlathunghnungpi imtxngphawngkbechuxorkhinplara ephraankophchnakarechuxwa ekluxinprimanthiphxehmaamakphxcathaihybyngkarecriyetibotkhxngculinthriythi thaihxaharbudenaid dngnnthaplarathithacakplathilangsaxad sd ichekluxsinethawaelaphachnabrrcuthiehmaasmcathaihidplarathimikhunphaphdi cakkarsuksawicyyngphbxikwa plarathihmknankwasameduxnkhunip phyathiibimtb catayhmdimsamarthtidtxmayngkhnidimwacarbprathanplaradibhruxsukktamplaraelsab aekikhnxkcakphakhtawnxxkechiyngehnuxaelw thangphakhitmiplarathiepnexklksnkhxngtnodyechphaaeriykplaraelsab niymthainbriewnthaelsabsngkhla plathiniymthakhuxpladuk karthaplaraaebbphakhitni cahmkplakbekluxaelanatalotnd 1 khun aelwnaiptakaedd 2 3 wn cungrbprathanid 4 plaramxy aekikhplaraaebbmxytangcakplaraaebbxisan niymthacakplakradi namaekhlakbeklux phungihaehng namaokhlkkbekluxaelakhawsukihekluxekhaenuxaelwhmkinih ichewlahmkepnpi imiskhawkhwaebbplaraxisan aelaichewlahmknankwa plaraaebbni chawmxyniymnaipthaplarathrngekhruxnghruxkaesiyk sungmilksnakhlayplarahln 5 xangxing aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb plara wikitara mikhumux tara hruxwithikarekiywkb plara saenathiekbthawr khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2015 05 14 subkhnemux 2015 03 12 smtaepnxachiph phimphkhrngthi 3 kthm aesngaedd 2552 smtaepnxachiph phimphkhrngthi 3 kthm aesngaedd 2552 hna 22 xaharkarkinaehnglumthaelsab sngkhla ekhruxkhaystrirxbthaelsab 2551 hna 32 33 xngkh brrcun khangsarbmxy krungethph mtichn 2557 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title plara amp oldid 9730183, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม