fbpx
วิกิพีเดีย

พระเจ้านาคทาสกะ

พระเจ้านาคทาสกะ (อักษรโรมัน: Nāgadāsaka) เป็นกษัตริย์ราชวงศ์หารยังกะพระองค์สุดท้าย ที่ปกครองแคว้นมคธ ในช่วงปี 437 และ 413 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์ทรงทำรัฐประหาร สังหารพระเจ้ามุณฑะ พระราชบิดาของพระองค์เพื่อขึ้นครองราชบัลลังก์ การสิ้นสุดของราชวงศ์หารยังกะเกิดจากอำมาตย์ศิศุนาคเห็นว่า ราชวงศ์หารยังกะเป็นราชวงศ์ปิตุฆาตโดยตลอด จึงทำรัฐประหารเพื่อมิให้เป็นเสนียดแก่อาณาจักรอีก เมื่อสิ้นพระเจ้านาคทาสกะ อำมาตย์ศิศุนาคได้ปราบดาภิเษกตนเองเป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งแคว้นมคธ เป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์ศิศุนาค

พระเจ้านาคทาสกะ
กษัตริย์ราชวงศ์หารยังกะพระองค์สุดท้าย
ครองราชย์ป. 437 –  413 BCE (24 ปี)
ก่อนหน้าพระเจ้ามุณฑะ
ถัดไปพระเจ้าศิศุนาค (ผู้ก่อตั้งราชวงศ์ ราชวงศ์ศิศุนาค)
ราชวงศ์ราชวงศ์หารยังกะ
พระราชบิดาMunda

การทำรัฐประหารทั้ง 5 รัชกาล

นับตั้งแต่ พระเจ้าพิมพิสาร ถูกพระเจ้าอชาตศัตรู สังหารอย่างโหดเหี้ยมเพื่อชิงราชสมบัติ กษัตริย์แห่งแคว้นมคธก็ได้ทำการรัฐประหารเช่นนี้มาโดยตลอด ดังนี้

  1. พระเจ้าพิมพิสาร ถูกพระเจ้าอชาตศัตรู พระราชโอรสสังหาร
  2. พระเจ้าอชาตศัตรู ถูกพระเจ้าอุทัยภัทร พระราชโอรสสังหาร
  3. พระเจ้าอุทัยภัทร ถูกพระเจ้าอนุรุทธะ พระราชโอรสสังหาร
  4. พระเจ้าอนุรุทธะ ถูกพระเจ้ามุณฑะ พระราชโอรสสังหาร
  5. พระเจ้ามุณฑะ ถูกพระเจ้านาคทาสกะ พระราชโอรสสังหาร เป็นรัชกาลสุดท้าย ด้วยอำมาตย์ศิศุนาคเห็นว่า ราชวงศ์หารยังกะเป็นราชวงศ์ปิตุฆาตโดยตลอด จึงทำรัฐประหารเพื่อมิให้เป็นเสนียดแก่อาณาจักรอีกต่อไป

อ้างอิง

  1. Hazra, Kanai Lal (1984), Royal patronage of Buddhism in ancient India, D.K. Publications, p. 39, OCLC 10590550
  2. Upinder Singh 2016, p. 273.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Singh, Upinder (2016), A History of Ancient and Early Medieval India: From the Stone Age to the 12th Century, Pearson PLC, ISBN 978-81-317-1677-9

พระเจ, านาคทาสกะ, กษรโรม, nāgadāsaka, เป, นกษ, ตร, ราชวงศ, หารย, งกะพระองค, ดท, าย, ปกครองแคว, นมคธ, ในช, วงป, และ, อนคร, สตกาล, พระองค, ทรงทำร, ฐประหาร, งหารพระเจ, าม, ณฑะ, พระราชบ, ดาของพระองค, เพ, อข, นครองราชบ, ลล, งก, การส, นส, ดของราชวงศ, หารย, งกะเก, ดจ. phraecanakhthaska xksrormn Nagadasaka epnkstriyrachwngsharyngkaphraxngkhsudthay thipkkhrxngaekhwnmkhth inchwngpi 437 aela 413 pikxnkhristkal phraxngkhthrngtharthprahar sngharphraecamuntha phrarachbidakhxngphraxngkhephuxkhunkhrxngrachbllngk karsinsudkhxngrachwngsharyngkaekidcakxamatysisunakhehnwa rachwngsharyngkaepnrachwngspitukhatodytlxd cungtharthpraharephuxmiihepnesniydaekxanackrxik emuxsinphraecanakhthaska xamatysisunakhidprabdaphiesktnexngepnphraecaaephndinaehngaekhwnmkhth epnpthmkstriyaehngrachwngssisunakh 1 2 phraecanakhthaskakstriyrachwngsharyngkaphraxngkhsudthaykhrxngrachyp 437 413 BCE 24 pi kxnhnaphraecamunthathdipphraecasisunakh phukxtngrachwngs rachwngssisunakh rachwngsrachwngsharyngkaphrarachbidaMundakartharthpraharthng 5 rchkal aekikhnbtngaet phraecaphimphisar thukphraecaxchatstru sngharxyangohdehiymephuxchingrachsmbti kstriyaehngaekhwnmkhthkidthakarrthpraharechnnimaodytlxd dngni phraecaphimphisar thukphraecaxchatstru phrarachoxrssnghar phraecaxchatstru thukphraecaxuthyphthr phrarachoxrssnghar phraecaxuthyphthr thukphraecaxnuruththa phrarachoxrssnghar phraecaxnuruththa thukphraecamuntha phrarachoxrssnghar phraecamuntha thukphraecanakhthaska phrarachoxrssnghar epnrchkalsudthay dwyxamatysisunakhehnwa rachwngsharyngkaepnrachwngspitukhatodytlxd cungtharthpraharephuxmiihepnesniydaekxanackrxiktxipxangxing aekikh Hazra Kanai Lal 1984 Royal patronage of Buddhism in ancient India D K Publications p 39 OCLC 10590550 Upinder Singh 2016 p 273 aehlngkhxmulxun aekikhSingh Upinder 2016 A History of Ancient and Early Medieval India From the Stone Age to the 12th Century Pearson PLC ISBN 978 81 317 1677 9ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phraecanakhthaska amp oldid 9418009, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม