fbpx
วิกิพีเดีย

พลวัตกลุ่ม

พลวัตกลุ่ม เป็นระบบพฤติกรรมและกระบวนการทางจิตวิทยาที่เกิดขึ้นภายในกลุ่มสังคมหรือระหว่างกลุ่มสังคม การศึกษาพลวัตกลุ่มเป็นประโยชน์ต่อการเข้าใจการตัดสินใจ การติดตามการระบาดของโรคภัยในสังคม การคิดค้นวิธีบำบัดรักษาที่มีประสิทธิภาพ และการอุบัติและความนิยมของแนวคิดเทคโนโลยีใหม่ ๆ พลวัตกลุ่มเป็นหัวใจสำคัญในการทำความเข้าใจคตินิยมเชื้อชาติ ลัทธิกีดกันทางเพศ และอคติทางสังคมอื่น ๆ และเป็นหัวข้อที่ศึกษาในหลายสาขาวิชา เช่น จิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยา รัฐศาสตร์ และวิทยาการระบาด

เบื้องหลัง

การศึกษาพลวัตกลุ่มมีรากฐานมาจากวิชาจิตวิทยาและสังคมวิทยา วิลเฮ็ล์ม วุนต์ นักจิตวิทยาชาวเยอรมันที่ได้รับการยกย่องให้เป็น "บิดาแห่งจิตวิทยาทดลอง" สนใจจิตวิทยาในกลุ่มคน วุนต์มีความเชื่อว่าปรากฏการณ์ที่ถูกครอบงำ เช่น ภาษา ธรรมเนียมปฏิบัติ และศาสนา ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยการศึกษารายบุคคล ด้านกุสตาฟว์ เลอ บง นักจิตวิทยาและนักสังคมวิทยาชาวฝรั่งเศสมีความเห็นว่าเมื่ออยู่ในกลุ่ม บุคลิกภาพของบุคคลจะถูกกดทับและอิทธิพลของกลุ่มจะมีอำนาจเหนือกว่าแทน ขณะที่วิลเลียม แมกดูกัล นักจิตวิทยาชาวบริติชเชื่อว่า "จิตกลุ่ม" ดำรงอยู่แยกจากปฏิสัมพันธ์ของบุคคล

อย่างไรก็ตาม คำว่าพลวัตกลุ่มถูกคิดค้นโดยเคิร์ต เลอวีน นักจิตวิทยาสังคมชาวเยอรมัน–อเมริกัน เพื่ออธิบายแรงด้านบวกและลบภายในกลุ่มคน ในปี ค.ศ. 1945 เลอวีนก่อตั้งศูนย์วิจัยพลวัตกลุ่มที่สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์เพื่อศึกษาเรื่องนี้โดยเฉพาะ การศึกษาพลวัตกลุ่มในยุคหลังมีการผสานจิตวิทยาวิวัฒนาการในการพยายามอธิบายการปรับตัวของกลุ่มในสังคมที่ซับซ้อนขึ้น เช่น การรับมือกับสถานภาพ การต่างตอบแทน ความเอื้ออาทร การขับออกจากกลุ่ม และภาวะผู้นำ

พลวัตภายในกลุ่ม

พลวัตภายในกลุ่ม (intragroup dynamics) เป็นกระบวนการพื้นฐานในการก่อเกิดบรรทัดฐาน บทบาท ความสัมพันธ์ทางสังคม และเป้าหมายที่บรรยายลักษณะของกลุ่ม โดยในกลุ่มจะมีภาวะพึ่งพาอาศัย หรือสมาชิกต่างได้รับอิทธิพลจากทัศนคติ ความคิดเห็น และประสบการณ์ของสมาชิกอื่น

การก่อตัวของกลุ่มสามารถเกิดได้ทั้งจาก social cohesion approach หรือเกิดจากความดึงดูดใจระหว่างบุคคล และ social identity approach หรือสมาชิกรู้สึกว่าตนเองแบ่งปันบทบาทเดียวกันในสังคมกับสมาชิกอื่น ก่อนจะใช้เวลาพัฒนาธรรมเนียม ค่านิยม และคติของกลุ่ม นอกจากนี้กลุ่มยังสามารถเกิดได้อย่างฉับพลัน เช่น กลุ่มที่รวมตัวช่วยเหลือในยามเกิดภัยธรรมชาติ ซึ่งกลุ่มลักษณะนี้จะไม่อิงบทบาทหรือประสบการณ์ร่วมกัน แต่ยังคงมีภาวะพึ่งพาอาศัยและความร่วมมือในการทำงานอย่างสูง

การเข้าร่วมกลุ่มกำหนดด้วยหลายปัจจัย เช่น อุปนิสัยของบุคคล สถานะเพศ หรือประสบการณ์ในกลุ่มก่อนหน้า เนื่องจากการเข้าร่วมกลุ่มต้องใช้เวลา ความสนใจ และความพยายาม ทฤษฎีการแลกเปลี่ยนทางสังคมของจอห์น ทิเบาต์ และแฮโรลด์ เคลลีย์อธิบายว่าบุคคลจะมีระดับการเปรียบเทียบเป็นมาตรฐานในการตัดสินใจเข้าร่วมกลุ่ม โดยระดับการเปรียบเทียบนี้ได้รับอิทธิพลจากความสัมพันธ์และความเป็นสมาชิกของกลุ่มก่อนหน้า ซึ่งสรุปได้ว่าบุคคลที่ได้รับผลตอบแทนมาก แต่เสียทุนน้อยจะมีระดับการเปรียบเทียบสูงกว่าบุคคลที่เสียทุนมาก แต่ได้ผลตอบแทนน้อย หรืออีกนัยหนึ่งคือ หากบุคคลได้รับประสบการณ์ที่ดีจากกลุ่มหรือความสัมพันธ์ก่อนหน้า บุคคลนั้นจะมีระดับการเปรียบเทียบสูงกว่าบุคคลที่มีประสบการณ์ไม่ดีต่อกลุ่มหรือความสัมพันธ์ที่ผ่านมา

พลวัตระหว่างกลุ่ม

พลวัตระหว่างกลุ่ม (intergroup dynamics) เป็นความสัมพันธ์ทางพฤติกรรมและจิตวิทยาระหว่างกลุ่ม แต่ละกลุ่มมีการรับรู้ ทัศนคติ และความคิดเห็นต่อกลุ่มตนเอง และกลุ่มอื่น ๆ ต่างกันไป พลวัตระหว่างกลุ่มก่อให้เกิดทั้งประโยชน์และความขัดแย้ง

ทฤษฎีอัตลักษณ์ทางสังคมเสนอว่าความขัดแย้งระหว่างกลุ่มเกิดขึ้นเมื่อมีการเปรียบเทียบระหว่างสมาชิกในกลุ่มตนกับสมาชิกกลุ่มอื่น การเปรียบเทียบนี้เป็นกลไกหนึ่งที่เพิ่มความภูมิใจแห่งตน ในช่วงการเปรียบเทียบนี้ บุคคลมีแนวโน้มที่จะชื่นชมกลุ่มตนเองมากกว่ากลุ่มอื่น, ขยายความแตกต่างระหว่างกลุ่มให้เกินจริงเพื่อแยกกลุ่มตนกับกลุ่มอื่นอย่างชัดเจน, ลดความแตกต่างในหมู่สมาชิกกลุ่มตน, มุ่งสนใจข้อมูลแง่บวกของกลุ่มตนและข้อมูลแง่ลบของกลุ่มอื่น กระบวนการเหล่านี้นำไปสู่อคติ การเหมารวม และความรุนแรง อย่างไรก็ตามความขัดแย้งระหว่างกลุ่มไม่ได้นำไปสู่ความรุนแรงในบางกรณี เช่น การแข่งขันระหว่างนักเรียนต่างสถาบัน

มีการเสนอหลายกลวิธีในการลดความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม ในปี ค.ศ. 1954 กอร์ดอน ออลพอร์ตเสนอสมมติฐานการติดต่อ (Contact hypothesis) และเสนอสี่เงื่อนไขในการติดต่อ ได้แก่ ให้สถานะทั้งสองฝ่ายเท่าเทียมกัน, มีเป้าหมายเดียวกัน, มีความร่วมมือระหว่างกลุ่ม และได้รับการสนับสนุนจากผู้มีอำนาจและกฎหมาย นอกจากนี้มีการใช้อัตลักษณ์เหนือกว่าที่สมาชิกกลุ่มมีร่วมกัน เช่น หากเกิดความขัดแย้งในหมู่นักเรียนผิวขาว ผิวสี และเชื้อสายลาตินอเมริกา ทางโรงเรียนอาจใช้อัตลักษณ์ความเป็นนักเรียนร่วมสถาบันในการลดความขัดแย้ง รวมถึงให้กลุ่มพึ่งพาอาศัยกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน ดังเช่นในการทดลองรอบเบอส์เคฟของมุซาเฟอร์ เชอริฟที่ศึกษาความขัดแย้งระหว่างเด็กสองกลุ่ม เชอริฟใช้กลวิธีนี้ในการสลายความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม หรือวิธีการเรียนการสอนแบบจิกซอว์ที่เอลเลียต อารอนสันให้นักเรียนต่างเชื้อชาติช่วยกันเรียนเพื่อลดความขัดแย้งในโรงเรียน

อ้างอิง

  1. Backstrom, L.; Huttenlocher, D.; Kleinberg, J.; Lan, X. (2006). "Group formation in large social networks". Proceedings of the 12th ACM SIGKDD international conference on Knowledge discovery and data mining - KDD '06. p. 44. doi:10.1145/1150402.1150412. ISBN 978-1595933393. S2CID 7904289.
  2. Hogg, M. A.; Williams, K. D. (2000). "From I to we: Social identity and the collective self". Group Dynamics: Theory, Research, and Practice. 4: 81–97. doi:10.1037/1089-2699.4.1.81.
  3. "Gustave Le Bon". Britannica. สืบค้นเมื่อ December 10, 2020.
  4. Dion, K. L. (2000). "Group cohesion: From "field of forces" to multidimensional construct". Group Dynamics: Theory, Research, and Practice. 4: 7–26. doi:10.1037/1089-2699.4.1.7.
  5. gupta, niranjan (2013). "The Research Center for tcce pindra garhwa". Sociometry. 8 (2): 126–136. doi:10.2307/2785233. JSTOR 2785233.
  6. Van Vugt, M.; Schaller, M. (2008). "Evolutionary approaches to group dynamics: An introduction". Group Dynamics: Theory, Research, and Practice. 12: 1–6. doi:10.1037/1089-2699.12.1.1. S2CID 15306280.
  7. Wageman, R. (1995). "Interdependence and Group Effectiveness". Administrative Science Quarterly. 40 (1): 145–180. doi:10.2307/2393703. JSTOR 2393703.
  8. Majchrzak, A.; Jarvenpaa, S. L.; Hollingshead, A. B. (2007). "Coordinating Expertise Among Emergent Groups Responding to Disasters". Organization Science. 18: 147–161. doi:10.1287/orsc.1060.0228. S2CID 43354804.
  9. Lucas, Richard E.; Diener, Ed (2001). "Understanding extraverts' enjoyment of social situations: The importance of pleasantness". Journal of Personality and Social Psychology. 81 (2): 343–356. doi:10.1037/0022-3514.81.2.343. PMID 11519937.
  10. Gore, Jonathan S.; Cross, Susan E.; Morris, Michael L. (2006-03-01). "Let's be friends: Relational self-construal and the development of intimacy". Personal Relationships (ภาษาอังกฤษ). 13 (1): 83–102. doi:10.1111/j.1475-6811.2006.00106.x. ISSN 1475-6811.
  11. Bohrnstedt, George W.; Fisher, Gene A. (1986). "The Effects of Recalled Childhood and Adolescent Relationships Compared to Current Role Performances on Young Adults' Affective Functioning". Social Psychology Quarterly. 49 (1): 19–32. doi:10.2307/2786854. JSTOR 2786854.
  12. Hogg, Michael A.; Abrams, Dominic (1993). Group motivation : social psychological perspectives. New York: Harvester Wheatsheaf. ISBN 978-0745012391. OCLC 28963933.
  13. H., Kelley, Harold (1978). Interpersonal relations : a theory of interdependence. Thibaut, John W. New York: Wiley. ISBN 978-0471034735. OCLC 3627845.
  14. Cherry, Kendra (February 22, 2020). "Social Exchange Theory in Psychology". Verywell Mind. สืบค้นเมื่อ December 10, 2020.
  15. Turner, J. C. (1975). "Social comparison and social identity: Some prospects for intergroup behaviour". European Journal of Social Psychology. 5: 1–34. doi:10.1002/ejsp.2420050102.
  16. Gaertner, S. L.; Dovidio, J. F.; Banker, B. S.; Houlette, M.; Johnson, K. M.; McGlynn, E. A. (2000). "Reducing intergroup conflict: From superordinate goals to decategorization, recategorization, and mutual differentiation". Group Dynamics: Theory, Research, and Practice. 4: 98–114. doi:10.1037/1089-2699.4.1.98.
  17. Allport, Gordon (1979). The Nature of Prejudice. Reading: Addison-Wesley Pub. Co. ISBN 978-0-201-00179-2.
  18. Pettigrew, T. F.; Tropp, L. R. (2006). "A Meta-Analytic Test of Intergroup Contact Theory". Journal of Personality and Social Psychology. 90 (5): 751–783. doi:10.1037/0022-3514.90.5.751. PMID 16737372.
  19. Hornsey, M. J.; Hogg, M. A. (2000). "Subgroup Relations: A Comparison of Mutual Intergroup Differentiation and Common Ingroup Identity Models of Prejudice Reduction". Personality and Social Psychology Bulletin. 26 (2): 242–256. doi:10.1177/0146167200264010. S2CID 145116253.
  20. Hopper, Elizabeth (November 21, 2019). "What Was the Robbers Cave Experiment in Psychology?". ThoughtCo. สืบค้นเมื่อ December 10, 2020.
  21. Aronson, Elliot (1997). The Jigsaw Classroom. New York: Longman. ISBN 978-0-673-99383-0.

พลว, ตกล, เป, นระบบพฤต, กรรมและกระบวนการทางจ, ตว, ทยาท, เก, ดข, นภายในกล, มส, งคมหร, อระหว, างกล, มส, งคม, การศ, กษาเป, นประโยชน, อการเข, าใจการต, ดส, นใจ, การต, ดตามการระบาดของโรคภ, ยในส, งคม, การค, ดค, นว, บำบ, ดร, กษาท, ประส, ทธ, ภาพ, และการอ, และความน, ยมข. phlwtklum epnrabbphvtikrrmaelakrabwnkarthangcitwithyathiekidkhunphayinklumsngkhmhruxrahwangklumsngkhm karsuksaphlwtklumepnpraoychntxkarekhaickartdsinic kartidtamkarrabadkhxngorkhphyinsngkhm karkhidkhnwithibabdrksathimiprasiththiphaph aelakarxubtiaelakhwamniymkhxngaenwkhidethkhonolyiihm 1 phlwtklumepnhwicsakhyinkarthakhwamekhaickhtiniymechuxchati lththikidknthangephs aelaxkhtithangsngkhmxun aelaepnhwkhxthisuksainhlaysakhawicha echn citwithya sngkhmwithya manusywithya rthsastr aelawithyakarrabad enuxha 1 ebuxnghlng 2 phlwtphayinklum 3 phlwtrahwangklum 4 xangxingebuxnghlng aekikhkarsuksaphlwtklummirakthanmacakwichacitwithyaaelasngkhmwithya wilehlm wunt nkcitwithyachaweyxrmnthiidrbkarykyxngihepn bidaaehngcitwithyathdlxng sniccitwithyainklumkhn wuntmikhwamechuxwapraktkarnthithukkhrxbnga echn phasa thrrmeniymptibti aelasasna imsamarthxthibayiddwykarsuksaraybukhkhl 2 dankustafw elx bng nkcitwithyaaelanksngkhmwithyachawfrngessmikhwamehnwaemuxxyuinklum bukhlikphaphkhxngbukhkhlcathukkdthbaelaxiththiphlkhxngklumcamixanacehnuxkwaaethn 3 khnathiwileliym aemkdukl nkcitwithyachawbritichechuxwa citklum darngxyuaeykcakptismphnthkhxngbukhkhl 2 xyangirktam khawaphlwtklumthukkhidkhnodyekhirt elxwin nkcitwithyasngkhmchaweyxrmn xemrikn ephuxxthibayaerngdanbwkaelalbphayinklumkhn 4 inpi kh s 1945 elxwinkxtngsunywicyphlwtklumthisthabnethkhonolyiaemssachuestsephuxsuksaeruxngniodyechphaa 5 karsuksaphlwtkluminyukhhlngmikarphsancitwithyawiwthnakarinkarphyayamxthibaykarprbtwkhxngkluminsngkhmthisbsxnkhun echn karrbmuxkbsthanphaph kartangtxbaethn khwamexuxxathr karkhbxxkcakklum aelaphawaphuna 6 phlwtphayinklum aekikhphlwtphayinklum intragroup dynamics epnkrabwnkarphunthaninkarkxekidbrrthdthan bthbath khwamsmphnththangsngkhm aelaepahmaythibrryaylksnakhxngklum odyinklumcamiphawaphungphaxasy hruxsmachiktangidrbxiththiphlcakthsnkhti khwamkhidehn aelaprasbkarnkhxngsmachikxun 7 karkxtwkhxngklumsamarthekididthngcak social cohesion approach hruxekidcakkhwamdungdudicrahwangbukhkhl aela social identity approach hruxsmachikrusukwatnexngaebngpnbthbathediywkninsngkhmkbsmachikxun 2 kxncaichewlaphthnathrrmeniym khaniym aelakhtikhxngklum nxkcakniklumyngsamarthekididxyangchbphln echn klumthirwmtwchwyehluxinyamekidphythrrmchati sungklumlksnanicaimxingbthbathhruxprasbkarnrwmkn aetyngkhngmiphawaphungphaxasyaelakhwamrwmmuxinkarthanganxyangsung 8 karekharwmklumkahnddwyhlaypccy echn xupnisykhxngbukhkhl 9 sthanaephs 10 hruxprasbkarninklumkxnhna 11 enuxngcakkarekharwmklumtxngichewla khwamsnic aelakhwamphyayam 12 thvsdikaraelkepliynthangsngkhmkhxngcxhn thiebat aelaaehorld ekhlliyxthibaywabukhkhlcamiradbkarepriybethiybepnmatrthaninkartdsinicekharwmklum odyradbkarepriybethiybniidrbxiththiphlcakkhwamsmphnthaelakhwamepnsmachikkhxngklumkxnhna sungsrupidwabukhkhlthiidrbphltxbaethnmak aetesiythunnxycamiradbkarepriybethiybsungkwabukhkhlthiesiythunmak aetidphltxbaethnnxy 13 hruxxiknyhnungkhux hakbukhkhlidrbprasbkarnthidicakklumhruxkhwamsmphnthkxnhna bukhkhlnncamiradbkarepriybethiybsungkwabukhkhlthimiprasbkarnimditxklumhruxkhwamsmphnththiphanma 14 phlwtrahwangklum aekikhphlwtrahwangklum intergroup dynamics epnkhwamsmphnththangphvtikrrmaelacitwithyarahwangklum aetlaklummikarrbru thsnkhti aelakhwamkhidehntxklumtnexng aelaklumxun tangknip phlwtrahwangklumkxihekidthngpraoychnaelakhwamkhdaeyngthvsdixtlksnthangsngkhmesnxwakhwamkhdaeyngrahwangklumekidkhunemuxmikarepriybethiybrahwangsmachikinklumtnkbsmachikklumxun 15 karepriybethiybniepnklikhnungthiephimkhwamphumiicaehngtn 2 inchwngkarepriybethiybni bukhkhlmiaenwonmthicachunchmklumtnexngmakkwaklumxun khyaykhwamaetktangrahwangklumihekincringephuxaeykklumtnkbklumxunxyangchdecn ldkhwamaetktanginhmusmachikklumtn mungsnickhxmulaengbwkkhxngklumtnaelakhxmulaenglbkhxngklumxun 16 krabwnkarehlaninaipsuxkhti karehmarwm aelakhwamrunaerng xyangirktamkhwamkhdaeyngrahwangklumimidnaipsukhwamrunaernginbangkrni echn karaekhngkhnrahwangnkeriyntangsthabn 2 mikaresnxhlayklwithiinkarldkhwamkhdaeyngrahwangklum inpi kh s 1954 kxrdxn xxlphxrtesnxsmmtithankartidtx Contact hypothesis 17 aelaesnxsienguxnikhinkartidtx idaek ihsthanathngsxngfayethaethiymkn miepahmayediywkn mikhwamrwmmuxrahwangklum aelaidrbkarsnbsnuncakphumixanacaelakdhmay 18 nxkcaknimikarichxtlksnehnuxkwathismachikklummirwmkn echn hakekidkhwamkhdaeynginhmunkeriynphiwkhaw phiwsi aelaechuxsaylatinxemrika thangorngeriynxacichxtlksnkhwamepnnkeriynrwmsthabninkarldkhwamkhdaeyng 19 rwmthungihklumphungphaxasyknephuxihbrrluepahmayediywkn dngechninkarthdlxngrxbebxsekhfkhxngmusaefxr echxrifthisuksakhwamkhdaeyngrahwangedksxngklum echxrifichklwithiniinkarslaykhwamkhdaeyngrahwangklum 20 hruxwithikareriynkarsxnaebbciksxwthiexleliyt xarxnsnihnkeriyntangechuxchatichwykneriynephuxldkhwamkhdaeynginorngeriyn 21 xangxing aekikh Backstrom L Huttenlocher D Kleinberg J Lan X 2006 Group formation in large social networks Proceedings of the 12th ACM SIGKDD international conference on Knowledge discovery and data mining KDD 06 p 44 doi 10 1145 1150402 1150412 ISBN 978 1595933393 S2CID 7904289 2 0 2 1 2 2 2 3 2 4 Hogg M A Williams K D 2000 From I to we Social identity and the collective self Group Dynamics Theory Research and Practice 4 81 97 doi 10 1037 1089 2699 4 1 81 Gustave Le Bon Britannica subkhnemux December 10 2020 Dion K L 2000 Group cohesion From field of forces to multidimensional construct Group Dynamics Theory Research and Practice 4 7 26 doi 10 1037 1089 2699 4 1 7 gupta niranjan 2013 The Research Center for tcce pindra garhwa Sociometry 8 2 126 136 doi 10 2307 2785233 JSTOR 2785233 Van Vugt M Schaller M 2008 Evolutionary approaches to group dynamics An introduction Group Dynamics Theory Research and Practice 12 1 6 doi 10 1037 1089 2699 12 1 1 S2CID 15306280 Wageman R 1995 Interdependence and Group Effectiveness Administrative Science Quarterly 40 1 145 180 doi 10 2307 2393703 JSTOR 2393703 Majchrzak A Jarvenpaa S L Hollingshead A B 2007 Coordinating Expertise Among Emergent Groups Responding to Disasters Organization Science 18 147 161 doi 10 1287 orsc 1060 0228 S2CID 43354804 Lucas Richard E Diener Ed 2001 Understanding extraverts enjoyment of social situations The importance of pleasantness Journal of Personality and Social Psychology 81 2 343 356 doi 10 1037 0022 3514 81 2 343 PMID 11519937 Gore Jonathan S Cross Susan E Morris Michael L 2006 03 01 Let s be friends Relational self construal and the development of intimacy Personal Relationships phasaxngkvs 13 1 83 102 doi 10 1111 j 1475 6811 2006 00106 x ISSN 1475 6811 Bohrnstedt George W Fisher Gene A 1986 The Effects of Recalled Childhood and Adolescent Relationships Compared to Current Role Performances on Young Adults Affective Functioning Social Psychology Quarterly 49 1 19 32 doi 10 2307 2786854 JSTOR 2786854 Hogg Michael A Abrams Dominic 1993 Group motivation social psychological perspectives New York Harvester Wheatsheaf ISBN 978 0745012391 OCLC 28963933 H Kelley Harold 1978 Interpersonal relations a theory of interdependence Thibaut John W New York Wiley ISBN 978 0471034735 OCLC 3627845 Cherry Kendra February 22 2020 Social Exchange Theory in Psychology Verywell Mind subkhnemux December 10 2020 Turner J C 1975 Social comparison and social identity Some prospects for intergroup behaviour European Journal of Social Psychology 5 1 34 doi 10 1002 ejsp 2420050102 Gaertner S L Dovidio J F Banker B S Houlette M Johnson K M McGlynn E A 2000 Reducing intergroup conflict From superordinate goals to decategorization recategorization and mutual differentiation Group Dynamics Theory Research and Practice 4 98 114 doi 10 1037 1089 2699 4 1 98 Allport Gordon 1979 The Nature of Prejudice Reading Addison Wesley Pub Co ISBN 978 0 201 00179 2 Pettigrew T F Tropp L R 2006 A Meta Analytic Test of Intergroup Contact Theory Journal of Personality and Social Psychology 90 5 751 783 doi 10 1037 0022 3514 90 5 751 PMID 16737372 Hornsey M J Hogg M A 2000 Subgroup Relations A Comparison of Mutual Intergroup Differentiation and Common Ingroup Identity Models of Prejudice Reduction Personality and Social Psychology Bulletin 26 2 242 256 doi 10 1177 0146167200264010 S2CID 145116253 Hopper Elizabeth November 21 2019 What Was the Robbers Cave Experiment in Psychology ThoughtCo subkhnemux December 10 2020 Aronson Elliot 1997 The Jigsaw Classroom New York Longman ISBN 978 0 673 99383 0 bthkhwamekiywkbmnusy manusywithya aelaeruxngthiekiywkhxngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul bthkhwamekiywkbcitwithya xarmn hruxphvtikrrmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title phlwtklum amp oldid 9167068, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม