fbpx
วิกิพีเดีย

มานุษยวิทยา

มานุษยวิทยา (อังกฤษ: anthropology) คือ ศาสตร์ที่ศึกษามนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาเกี่ยวกับตัวมนุษย์ หรือ การศึกษาผลงานที่เกิดขึ้นจากการกระทำของมนุษย์ มานุษยวิทยาจึงสนใจประเด็นต่างๆที่สัมพันธ์กับมนุษย์อีกหลายเรื่อง ประเด็นที่มานุษยวิทยาสนใจในช่วงศตวรรษที่ผ่านมามีหลากหลายมาก เช่น โครงสร้างทางร่างกาย รูปร่างหน้าตา สีผิว เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ บรรพบุรุษของมนุษย์ พฤติกรรมทางสังคม พิธีกรรม การใช้ภาษา สัญลักษณ์ การผลิตเครื่องมือเครื่องใช้และวัตถุสิ่งของ เป็นต้น

มานุษยวิทยาเป็นศาสตร์ที่เกิดขึ้นการจัดระเบียบความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมของมนุษย์ให้เป็นระบบเพื่อสร้างเป็นองค์ความรู้หรือศาสตร์ สาขาวิชานี้เกิดขึ้นในยุโรปและได้แพร่หลายไปยังสหรัฐอเมริกาในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ประเด็นย่อยๆเหล่านี้ทำให้เกิดการจัดหมวดหมู่เป็นสาขาย่อยของมานุษยวิทยา โดยมานุษยวิทยาสายอังกฤษ แบ่งเป็น มานุษยวิทยากายภาพ (Physical Anthropology) และมานุษยวิทยาสังคม (Social Anthropology) ส่วนมานุษยวิทยาสายอเมริกัน ได้แยกเป็น 4 หมวด โดยรวมเอาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาวัฒนธรรมของมนุษย์ ทั่งที่เป็นสิ่งที่ไม่เป็นกายภาพหรือว่ามีช่วงเวลาที่เก่าแก่กว่ามนุษย์ยุคปัจจุบัน อีก 2 สาขาวิชา คือ มานุษยวิทยาภาษา (Linguistic Anthropology) และ โบราณคดี (Archaeology) เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของมานุษยวิทยา และสนใจมานุษยวิทยาสังคม ในแนวทางของ มานุษยวิทยาวัฒนธรรม (Cultural Anthropology) มากกว่า สาขาย่อยเหล่านี้จะมีระเบียบวิธีวิจัยและใช้ทฤษฎีที่แตกต่างกัน ซึ่งมีผลทำให้องค์ความรู้เกี่ยวกับความเป็นมนุษย์จากสาขาย่อยเหล่านี้มีลักษณะเฉพาะของตัวเอง

อย่างไรก็ตาม บางสำนักจัดมานุษยวิทยาเป็นสาย ปรัชญา ในขณะที่ฝั่งสำนักคิดทางยุโรป อาจมองว่า โบราณคดี (Archaeology) ซึ่งมีลักษณะของวิธีวิทยาและองค์ความรู้ที่ต่างออกไป จึงอาจจัดกลุ่มให้ไปอยู่รวมกับศาสตร์ที่ใกล้เคียงกันมากกว่า เช่น ประวัติศาสตร์ หรือ วิทยาศาสตร์ เป็นต้น

ความหมายของมานุษยวิทยา

คำว่ามานุษยวิทยาใน ภาษาอังกฤษ คือ คำว่า Anthropology คำนี้เป็นคำผสมในภาษากรีกสองคำคือ Anthropos แปลว่า มนุษย์หรือคน ส่วน logos แปลว่า การศึกษาหรือศาสตร์

ขอบเขตของมานุษยวิทยา

  • มานุษยวิทยากายภาพ ศึกษาสรีรวิทยาทางชีวภาพที่ประกอบกันขึ้นเป็นตัวมนุษย์ สาขานี้สนใจการก่อกำเนิดเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของขนาดรูปแบบโครงสร้างทางร่างกาย รูปร่างหน้าตาสีผิว และมันสมองที่มีผลต่อระดับสติปัญญาและการแสดงพฤติกรรม
  • มานุษยวิทยาภาษา หรือ ภาษาศาสตร์ ศึกษามนุษย์ผ่านภาษา ตัวอักษร พยัญชนะ การประดิษฐ์คำ การพูดการออกเสียง ระบบไวยกรณ์ และการใช้สัญลักษณ์ต่างๆในฐานะเป็นเครื่องมือสื่อสารทางสังคมและการให้ความหมายต่อสิ่งต่างๆในโลก 
  • โบราณคดี ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมของมนุษย์ในอดีต โดยวิเคราะห์จากหลักฐานทางวัตถุและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ซึ่งอาจเป็นวัตถุชิ้นเล็กๆไปจนถึงอาคารสถานที่ขนาดใหญ่ รวมไปถึง สภาพแวดล้อมในอดีต
  • มานุษยวิทยาสังคมหรือมานุษยวิทยาวัฒนธรรม ศึกษาชีวิตของมนุษย์ปัจจุบันที่ยังมีลมหายใจ โดยศึกษาความสัมพันธ์ทางสังคมที่ปรากฏอยู่ในชีวิตประจำวัน ในหมู่นักวิชาการชาวอเมริกันและเรียกองค์ความรู้ในสาขานี้ว่า "มนุษยวิทยาวัฒนธรรม (Cultural Anthropology)" แต่สำหรับนักวิชาการชาวอังกฤษ มักเน้นศึกษาเนื้อหาสาระด้านความสัมพันธ์ของคนในแต่ละสังคมที่ร่วมกันสร้างและประพฤติปฏิบัติต่อกันในกิจกรรมทางสังคมในแง่ครอบครัว เศรษฐกิจ การเมือง ศาสนาและความเชื่อ การศึกษาและฝึกฝนอบรมการเรียนรู้ทางสังคม และนันทนาการ โดยเรียกองค์ความรู้ในสาขานี้ว่า "มานุษยวิทยาสังคม (Social Anthropology)"

ถึงแม้ว่าสายาย่อยเหล่านี้จะมีโจทย์เฉพาะของตนเอง แต่จุดร่วมเดียกันก็คือความต้องการที่จะรู้ว่ามนุษย์ดำรงชีวิตอยู่ในโลกนี้อย่างไร  ดังนั้น “วัฒนธรรม” จึงเป็นกุญแจสำคัญที่ทำให้มนุษย์แตกต่างจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ นักมานุษยวิทยาที่ทำงานภายใต้สาขาย่อยจึงมิได้ตัดขาดออกจากกันอย่างสิ้นเชิง หากแต่จะทำงานภายใต้ร่มเดียวกันที่ต่างค้นหาความหมายของ “วัฒนธรรม” จากมุมมองที่หลากหลาย

วิธีการศึกษาทางมานุษยวิทยา

  นับตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา นักมานุษยวิทยาเริ่มมีแนวทางการศึกษาในแบบของตัวเองที่แตกต่างไปจากศาสตร์ทางสังคมแบบอื่นๆ จากความสนใจชีวิตมนุษย์ในดินแดนต่างๆ ทำให้นักมานุษยวิทยาต้องทำหน้าที่เก็บข้อมูลวัฒนธรรม หรือที่รู้จักในนาม “การทำงานภาคสนาม” (Fieldwork) โดยมีเป้าหมายที่จะเรียนรู้ความคิดและการปฏิบัติที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันของมนุษย์  ในการทำงานภาคสนาม นักมานุษยวิทยาจะต้องเรียนรู้ภาษาของกลุ่มคนที่เข้าไปศึกษาเพื่อที่จะพูดคุยและสัมภาษณ์ รวมทั้งสังเกตสิ่งต่างๆแบบมีส่วนร่วม (Participant-Observation) โดยเข้าไปคลุกคลีอยู่อาศัยกับคนในท้องถิ่นเป็นเวลานานเพื่อที่จะเข้าใจวิถีชีวิตของคนเหล่านั้นได้ราวกับเป็นคนในวัฒนธรรมเอง

มานุษยวิทยา ในฐานะเป็นศาสตร์ที่ศึกษา “วัฒนธรรม” ของมนุษย์เป็นหัวใจหลักของวิชามานุษยวิทยา แต่คำว่า “วัฒนธรรม” ในทางมานุษยวิทยามิใช่คุณสมบัติของสิ่งที่สวยงามหรือมีความคงที่ แต่วัฒนธรรมเป็น “แนวคิด” (Concept) ที่มีข้อถกเถียงมาอย่างต่อเนื่องและมีปฏิกิริยาโต้ตอบกับความรู้แบบวิทยาศาสตร์ของตะวันตก โดยอธิบายว่า “วัฒนธรรม” มีอยู่ในชุมชนของมนุษย์ทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นชุมชนที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีแบบตะวันตกหรือชุมชนพื้นเมืองเร่ร่อนในเขตทุรกันดาร ทุกชุมชนล้วนมีแบบแผนทางวัฒนธรรมเป็นของตัวเอง

มานุษยวิทยามิใช่การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ที่ต้องการแสวงหากฎเกณฑ์เพียงหนึ่งเดียว แต่มานุษยวิทยาต้องการศึกษาประสบการณ์ของมนุษย์ที่มีความคิดและความเชื่อแตกต่างกัน นักมานุษยวิทยาศึกษาแบบแผนทางวัฒนธรรมจากมุมมองของคนในวัฒนธรรมเอง หรือรู้จักในนาม the native’s point of view นักมานุษยวิทยาไม่สามารถตัดสินวัฒนธรรมของคนอื่นจากแนวคิดทฤษฎีหรือใช้ความคิดของตัวเองเป็นบรรทัดฐานได้ จากประเด็นนี้ได้นำไปสู่การทบทวนระเบียบวิธีวิจัยและทฤษฎีที่นักมานุษยวิทยาเคยใช้มาในอดีต เพื่อที่จะเข้าใจวัฒนธรรมของคนอื่นโดยผ่านสายตาของคนในวัฒนธรรมนั้น นอกจากนั้น ภายในวัฒนธรรมเดียวกัน สมาชิกของกลุ่มก็อาจให้คุณค่าและแสดงออกทางวัฒนธรรมไม่เหมือนกัน สิ่งเหล่านี้คือความซับซ้อนของวัฒนธรรมที่นักมานุษยวิทยาจะต้องไม่หยุดอยู่แค่การหากฎเกณฑ์หรือแบบแผนทางวัฒนธรรม แต่จะต้องค้นหาความไม่ลงรอยที่เกิดขึ้นในวัฒนธรรมนั้นด้วย

การศึกษาความคิดและประสบการณ์ของคนแต่ละกลุ่มจึงเริ่มมีความสำคัญ ความท้าทายที่นักมานุษยวิทยาต้องเผชิญต่อจากนี้ก็คือ ระเบียบวิธีวิจัยและแนวคิดทฤษฎีอาจจะไม่ได้เป็นเครื่องพิสูจน์ “ความจริง” ของวัฒนธรรมอีกต่อไป แต่อาจเป็นเพียง “แว่นตา” ที่ถูกสร้างขึ้นภายใต้กระบวนทัศน์และความเชื่อบางแบบ แว่นตาที่นักมานุษยวิทยาใช้จึงอาจทำให้เกิดความบิดเบือนหรือมายาคติเกี่ยวกับวัฒนธรรม ฉะนั้น จึงมีการเรียกร้องให้เกิดการตรวจสอบการทำงานภาคสนาม ระเบียบวิธีวิจัย แนวคิดทฤษฎี และชาติพันธุ์วรรณา (Ethnography) อยู่เสมอๆ พร้อมๆกับตรวจสอบวิธีการสร้างความรู้ของนักมานุษยวิทยา ศาสตร์ของมานุษยวิทยาเป็นศาสตร์ที่มีลักษณะเปิดกว้าง มานุษยวิทยาต้องการทำความเข้าใจวิถีชีวิตของมนุษย์ที่เป็นเรื่องที่ทำได้ยาก ดังนั้น มานุษยวิทยาจะเริ่มต้นจากประเด็นบางประเด็น เช่น พิธีกรรม ความเชื่อ ศาสนา ไสยศาสตร์ เศรษฐกิจ การเมือง ศิลปะ เพศภาวะ ชนชั้น เครือญาติ ฯลฯ เพื่อสำรวจเข้าไปในสนามที่กว้างใหญ่ขึ้นไป ในสนามดังกล่าวมีสิ่งต่างๆโยงใยกันอย่างซับซ้อน นักมานุษยวิทยาแต่ละคนจึงเลือกที่จะสร้างความเชี่ยวชาญของตนเองผ่านประเด็นเหล่านี้แต่มีปลายทางร่วมกันคือการทำความเข้าใจวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของมนุษย์ แม้ว่านักมานุษยวิทยาจะมีความสนใจในประเด็นที่ต่างกัน แต่ทุกคนล้วนเชื่อมโยงประเด็นที่ตนเองสนใจกับสถานการณ์ที่เป็นจริง เช่น สนใจเรื่องศาสนา นักมานุษยวิทยาก็จะทำงานวิจัยบนโจทย์ด้านศาสนาแต่ผลลัพธ์จะเป็นการทำความเข้าใจชีวิตมนุษย์ที่ขับเคลื่อนด้วยความเชื่อทางศาสนา และนักมานุษยวิทยายังชี้ให้เห็นว่าในมิติทางศาสนายังเต็มไปด้วยความสัมพันธ์ที่โยงใยถึงระบบเครือญาติ การทำมาหากิน ชนชั้น ฐานะทางสังคม เพศภาวะ และสุนทรียะ ศาสนาจึงไม่ได้ตัดขาดจากบริบทอื่นๆ สิ่งนี้คือคุณสมบัติของศาสตร์มานุษยวิทยาที่สามารถมองเห็นความเชื่อมโยงต่างๆที่เกิดขึ้นบนชีวิตมนุษย์ และยังทำให้ศาสตร์แบบนี้มองเห็นการเปลี่ยนแปลงที่เคลื่อนตัวและดำเนินไปข้างหน้าอย่างไม่มีที่สิ้นสุด

มานุษยวิทยา กับ ชาติพันธุ์วรรณา

ชาติพันธุ์วรรณา (บางสำนักเรียก ชาติพันธุ์นิพนธ์) เป็น การศึกษาวัฒนธรรมและสังคมของมนุษย์ในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง โดยผู้ศึกษาจะเข้าไปอยู่อาศัยในพื้นที่ เข้าไปพูดคุย และสังเกตอย่างมีส่วนร่วมในเหตุการณ์และกิจกรรมต่างๆของกลุ่มคนที่ศึกษาเป็นระยะเวลายาวนานและนำข้อมูลมาเขียนเรียบเรียงและอธิบายให้เห็นวิถีชีวิตของคนกลุ่มนั้น นอกจากนั้นยังหมายถึง  การศึกษาวัฒนธรรมในเชิงเปรียบเทียบและจัดระเบียบชนิดของวัฒนธรรม  ซึ่งต้องมีการพรรณนารายละเอียด งานเขียนทางชาติพันธุ์ถือว่าเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการศึกษามานุษยวิทยาวัฒนธรรม

แม้จากการทำงานภาคสนาม นักมานุษยวิทยาจะนำมาเขียนเรียบเรียง รู้จักในนาม “ชาติพันธุ์วรรณา” (Ethnography) บางทีเรียกว่า “งานเขียนทางชาติพันธุ์” ซึ่งเป็นการอธิบายถึงวัฒนธรรมของกลุ่มคนที่ศึกษาภายใต้การตีความและการวิเคราะห์ด้วยกรอบทฤษฎีบางอย่าง  คำว่า “ชาติพันธุ์” (Ethnic) เป็นคำดั้งเดิมก่อนที่วิชามานุษยวิทยาจะสถาปนาตนเองเป็นศาสตร์สมัยใหม่ เนื่องจากการศึกษาวัฒนธรรมและชีวิตของคนในท้องถิ่นต่างๆ ได้นำไปสู่การเปรียบเทียบทางวัฒนธรรม การเปรียบเทียบนี้รู้จักในนาม “ชาติพันธุ์วิทยา” (Ethnology) ซึ่งต้องการที่จะเข้าใจว่ามนุษย์ในดินแดนต่างๆมีประวัติศาสตร์และแบบแผนการดำเนินชีวิตที่เหมือนและต่างกันอย่างไร อาจกล่าวได้ว่ากลุ่มคนที่นักมานุษยวิทยาศึกษา เป็นกลุ่มทางชาติพันธุ์ทั้งที่เคยมีอยู่ในอดีตและกลุ่มที่มีชีวิตอยู่ในปัจจบัน ซึ่งกระบวนการทำงานที่กล่าวมาข้างต้นจะช่วยปะติดปะต่อเรื่องราวทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนเหล่านั้น

อ้างอิง

  1. https://www.sac.or.th/databases/anthropology-concepts/page/1
  2. Malinowski, Bronislaw. 1922. Argonauts of the Western Pacific. New York, E.P. Dutton & Co.
  3. Harris, Marvin. 1968. The Rise of Anthropological Theory. New York, Thomas Y. Crowell Company.
  4. https://www.sac.or.th/databases/anthropology-concepts/glossary/48

แหล่งข้อมูลอื่น

มาน, ษยว, ทยา, งกฤษ, anthropology, ศาสตร, กษามน, ษย, ไม, าจะเป, นการศ, กษาเก, ยวก, บต, วมน, ษย, หร, การศ, กษาผลงานท, เก, ดข, นจากการกระทำของมน, ษย, งสนใจประเด, นต, างๆท, มพ, นธ, บมน, ษย, กหลายเร, อง, ประเด, นท, สนใจในช, วงศตวรรษท, านมาม, หลากหลายมาก, เช, โครงส. manusywithya xngkvs anthropology khux sastrthisuksamnusy imwacaepnkarsuksaekiywkbtwmnusy hrux karsuksaphlnganthiekidkhuncakkarkrathakhxngmnusy manusywithyacungsnicpraedntangthismphnthkbmnusyxikhlayeruxng praednthimanusywithyasnicinchwngstwrrsthiphanmamihlakhlaymak echn okhrngsrangthangrangkay rupranghnata siphiw echuxchati ephaphnthu brrphburuskhxngmnusy phvtikrrmthangsngkhm phithikrrm karichphasa sylksn karphlitekhruxngmuxekhruxngichaelawtthusingkhxng epntnmanusywithyaepnsastrthiekidkhunkarcdraebiybkhwamruekiywkbwthnthrrmkhxngmnusyihepnrabbephuxsrangepnxngkhkhwamruhruxsastr sakhawichaniekidkhuninyuorpaelaidaephrhlayipyngshrthxemrikaintxnplaykhriststwrrsthi 19 praednyxyehlanithaihekidkarcdhmwdhmuepnsakhayxykhxngmanusywithya odymanusywithyasayxngkvs aebngepn manusywithyakayphaph Physical Anthropology aelamanusywithyasngkhm Social Anthropology swnmanusywithyasayxemrikn idaeykepn 4 hmwd odyrwmexasastrthiekiywkhxngkbkarsuksawthnthrrmkhxngmnusy thngthiepnsingthiimepnkayphaphhruxwamichwngewlathiekaaekkwamnusyyukhpccubn xik 2 sakhawicha khux manusywithyaphasa Linguistic Anthropology aela obrankhdi Archaeology ekhamaepnswnhnungkhxngmanusywithya aelasnicmanusywithyasngkhm inaenwthangkhxng manusywithyawthnthrrm Cultural Anthropology makkwa sakhayxyehlanicamiraebiybwithiwicyaelaichthvsdithiaetktangkn sungmiphlthaihxngkhkhwamruekiywkbkhwamepnmnusycaksakhayxyehlanimilksnaechphaakhxngtwexng 1 xyangirktam bangsankcdmanusywithyaepnsay prchya inkhnathifngsankkhidthangyuorp xacmxngwa obrankhdi Archaeology sungmilksnakhxngwithiwithyaaelaxngkhkhwamruthitangxxkip cungxaccdklumihipxyurwmkbsastrthiiklekhiyngknmakkwa echn prawtisastr hrux withyasastr epntn enuxha 1 khwamhmaykhxngmanusywithya 2 khxbekhtkhxngmanusywithya 3 withikarsuksathangmanusywithya 3 1 manusywithya kb chatiphnthuwrrna 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxunkhwamhmaykhxngmanusywithya aekikhkhawamanusywithyain phasaxngkvs khux khawa Anthropology khaniepnkhaphsminphasakriksxngkhakhux Anthropos aeplwa mnusyhruxkhn swn logos aeplwa karsuksahruxsastrkhxbekhtkhxngmanusywithya aekikhmanusywithyakayphaph suksasrirwithyathangchiwphaphthiprakxbknkhunepntwmnusy sakhanisnickarkxkaenidephaphnthukhxngmnusy suksakarepliynaeplngkhxngkhnadrupaebbokhrngsrangthangrangkay rupranghnatasiphiw aelamnsmxngthimiphltxradbstipyyaaelakaraesdngphvtikrrm manusywithyaphasa hrux phasasastr suksamnusyphanphasa twxksr phyychna karpradisthkha karphudkarxxkesiyng rabbiwykrn aelakarichsylksntanginthanaepnekhruxngmuxsuxsarthangsngkhmaelakarihkhwamhmaytxsingtanginolk obrankhdi suksasngkhmaelawthnthrrmkhxngmnusyinxdit odywiekhraahcakhlkthanthangwtthuaelasingthimnusysrangkhun sungxacepnwtthuchinelkipcnthungxakharsthanthikhnadihy rwmipthung sphaphaewdlxminxdit manusywithyasngkhmhruxmanusywithyawthnthrrm suksachiwitkhxngmnusypccubnthiyngmilmhayic odysuksakhwamsmphnththangsngkhmthipraktxyuinchiwitpracawn inhmunkwichakarchawxemriknaelaeriykxngkhkhwamruinsakhaniwa mnusywithyawthnthrrm Cultural Anthropology aetsahrbnkwichakarchawxngkvs mkennsuksaenuxhasaradankhwamsmphnthkhxngkhninaetlasngkhmthirwmknsrangaelapraphvtiptibtitxkninkickrrmthangsngkhminaengkhrxbkhrw esrsthkic karemuxng sasnaaelakhwamechux karsuksaaelafukfnxbrmkareriynruthangsngkhm aelannthnakar odyeriykxngkhkhwamruinsakhaniwa manusywithyasngkhm Social Anthropology thungaemwasayayxyehlanicamiocthyechphaakhxngtnexng aetcudrwmediyknkkhuxkhwamtxngkarthicaruwamnusydarngchiwitxyuinolknixyangir dngnn wthnthrrm cungepnkuyaecsakhythithaihmnusyaetktangcaksingmichiwitchnidxun nkmanusywithyathithanganphayitsakhayxycungmiidtdkhadxxkcakknxyangsineching hakaetcathanganphayitrmediywknthitangkhnhakhwamhmaykhxng wthnthrrm cakmummxngthihlakhlaywithikarsuksathangmanusywithya aekikh nbtngaetplaykhriststwrrsthi 19 epntnma nkmanusywithyaerimmiaenwthangkarsuksainaebbkhxngtwexngthiaetktangipcaksastrthangsngkhmaebbxun cakkhwamsnicchiwitmnusyindinaedntang thaihnkmanusywithyatxngthahnathiekbkhxmulwthnthrrm hruxthiruckinnam karthanganphakhsnam Fieldwork odymiepahmaythicaeriynrukhwamkhidaelakarptibtithiekidkhuninchiwitpracawnkhxngmnusy inkarthanganphakhsnam nkmanusywithyacatxngeriynruphasakhxngklumkhnthiekhaipsuksaephuxthicaphudkhuyaelasmphasn rwmthngsngektsingtangaebbmiswnrwm Participant Observation odyekhaipkhlukkhlixyuxasykbkhninthxngthinepnewlananephuxthicaekhaicwithichiwitkhxngkhnehlannidrawkbepnkhninwthnthrrmexngmanusywithya inthanaepnsastrthisuksa wthnthrrm khxngmnusyepnhwichlkkhxngwichamanusywithya aetkhawa wthnthrrm inthangmanusywithyamiichkhunsmbtikhxngsingthiswyngamhruxmikhwamkhngthi aetwthnthrrmepn aenwkhid Concept thimikhxthkethiyngmaxyangtxenuxngaelamiptikiriyaottxbkbkhwamruaebbwithyasastrkhxngtawntk odyxthibaywa wthnthrrm mixyuinchumchnkhxngmnusythukrupaebb imwacaepnchumchnthimikhwamkawhnathangethkhonolyiaebbtawntkhruxchumchnphunemuxngerrxninekhtthurkndar thukchumchnlwnmiaebbaephnthangwthnthrrmepnkhxngtwexngmanusywithyamiichkarsuksathangwithyasastrthitxngkaraeswnghakdeknthephiynghnungediyw aetmanusywithyatxngkarsuksaprasbkarnkhxngmnusythimikhwamkhidaelakhwamechuxaetktangkn nkmanusywithyasuksaaebbaephnthangwthnthrrmcakmummxngkhxngkhninwthnthrrmexng hruxruckinnam the native s point of view nkmanusywithyaimsamarthtdsinwthnthrrmkhxngkhnxuncakaenwkhidthvsdihruxichkhwamkhidkhxngtwexngepnbrrthdthanid 2 cakpraednniidnaipsukarthbthwnraebiybwithiwicyaelathvsdithinkmanusywithyaekhyichmainxdit ephuxthicaekhaicwthnthrrmkhxngkhnxunodyphansaytakhxngkhninwthnthrrmnn 3 nxkcaknn phayinwthnthrrmediywkn smachikkhxngklumkxacihkhunkhaaelaaesdngxxkthangwthnthrrmimehmuxnkn singehlanikhuxkhwamsbsxnkhxngwthnthrrmthinkmanusywithyacatxngimhyudxyuaekhkarhakdeknthhruxaebbaephnthangwthnthrrm aetcatxngkhnhakhwamimlngrxythiekidkhuninwthnthrrmnndwykarsuksakhwamkhidaelaprasbkarnkhxngkhnaetlaklumcungerimmikhwamsakhy khwamthathaythinkmanusywithyatxngephchiytxcaknikkhux raebiybwithiwicyaelaaenwkhidthvsdixaccaimidepnekhruxngphisucn khwamcring khxngwthnthrrmxiktxip aetxacepnephiyng aewnta thithuksrangkhunphayitkrabwnthsnaelakhwamechuxbangaebb aewntathinkmanusywithyaichcungxacthaihekidkhwambidebuxnhruxmayakhtiekiywkbwthnthrrm chann cungmikareriykrxngihekidkartrwcsxbkarthanganphakhsnam raebiybwithiwicy aenwkhidthvsdi aelachatiphnthuwrrna Ethnography xyuesmx phrxmkbtrwcsxbwithikarsrangkhwamrukhxngnkmanusywithya sastrkhxngmanusywithyaepnsastrthimilksnaepidkwang manusywithyatxngkarthakhwamekhaicwithichiwitkhxngmnusythiepneruxngthithaidyak dngnn manusywithyacaerimtncakpraednbangpraedn echn phithikrrm khwamechux sasna isysastr esrsthkic karemuxng silpa ephsphawa chnchn ekhruxyati l ephuxsarwcekhaipinsnamthikwangihykhunip insnamdngklawmisingtangoyngiyknxyangsbsxn nkmanusywithyaaetlakhncungeluxkthicasrangkhwamechiywchaykhxngtnexngphanpraednehlaniaetmiplaythangrwmknkhuxkarthakhwamekhaicwithichiwitaelawthnthrrmkhxngmnusy aemwankmanusywithyacamikhwamsnicinpraednthitangkn aetthukkhnlwnechuxmoyngpraednthitnexngsnickbsthankarnthiepncring echn sniceruxngsasna nkmanusywithyakcathanganwicybnocthydansasnaaetphllphthcaepnkarthakhwamekhaicchiwitmnusythikhbekhluxndwykhwamechuxthangsasna aelankmanusywithyayngchiihehnwainmitithangsasnayngetmipdwykhwamsmphnththioyngiythungrabbekhruxyati karthamahakin chnchn thanathangsngkhm ephsphawa aelasunthriya sasnacungimidtdkhadcakbribthxun singnikhuxkhunsmbtikhxngsastrmanusywithyathisamarthmxngehnkhwamechuxmoyngtangthiekidkhunbnchiwitmnusy aelayngthaihsastraebbnimxngehnkarepliynaeplngthiekhluxntwaeladaeninipkhanghnaxyangimmithisinsud manusywithya kb chatiphnthuwrrna aekikh chatiphnthuwrrna bangsankeriyk chatiphnthuniphnth epn karsuksawthnthrrmaelasngkhmkhxngmnusyinphunthiidphunthihnung odyphusuksacaekhaipxyuxasyinphunthi ekhaipphudkhuy aelasngektxyangmiswnrwminehtukarnaelakickrrmtangkhxngklumkhnthisuksaepnrayaewlayawnanaelanakhxmulmaekhiyneriyberiyngaelaxthibayihehnwithichiwitkhxngkhnklumnn nxkcaknnynghmaythung karsuksawthnthrrminechingepriybethiybaelacdraebiybchnidkhxngwthnthrrm sungtxngmikarphrrnnaraylaexiyd nganekhiynthangchatiphnthuthuxwaepnsingsakhysahrbkarsuksamanusywithyawthnthrrm 4 aemcakkarthanganphakhsnam nkmanusywithyacanamaekhiyneriyberiyng ruckinnam chatiphnthuwrrna Ethnography bangthieriykwa nganekhiynthangchatiphnthu sungepnkarxthibaythungwthnthrrmkhxngklumkhnthisuksaphayitkartikhwamaelakarwiekhraahdwykrxbthvsdibangxyang khawa chatiphnthu Ethnic epnkhadngedimkxnthiwichamanusywithyacasthapnatnexngepnsastrsmyihm enuxngcakkarsuksawthnthrrmaelachiwitkhxngkhninthxngthintang idnaipsukarepriybethiybthangwthnthrrm karepriybethiybniruckinnam chatiphnthuwithya Ethnology sungtxngkarthicaekhaicwamnusyindinaedntangmiprawtisastraelaaebbaephnkardaeninchiwitthiehmuxnaelatangknxyangir xacklawidwaklumkhnthinkmanusywithyasuksa epnklumthangchatiphnthuthngthiekhymixyuinxditaelaklumthimichiwitxyuinpccbn sungkrabwnkarthanganthiklawmakhangtncachwypatidpatxeruxngrawthangwthnthrrmkhxngklumkhnehlannxangxing aekikh https www sac or th databases anthropology concepts page 1 Malinowski Bronislaw 1922 Argonauts of the Western Pacific New York E P Dutton amp Co Harris Marvin 1968 The Rise of Anthropological Theory New York Thomas Y Crowell Company https www sac or th databases anthropology concepts glossary 48aehlngkhxmulxun aekikhsmakhmnksngkhmwithyaaelankmanusywithyasyam ewbistkhxngsunymanusywithyasirinthr xngkhkarmhachn hnwyngandanmanusywithyakhxngithy wikikhakhmphasaxngkvs English mikhakhmthiklawody hruxekiywkb Anthropology bthkhwamekiywkbwicha khwamru aelasastrtangniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul bthkhwamekiywkbmanusywithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title manusywithya amp oldid 9535394, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม