fbpx
วิกิพีเดีย

สถาปัตยกรรมวิชัยนคร

สถาปัตยกรรมวิชัยนคร (กันนาดา: ವಿಜಯನಗರ ವಾಸ್ತುಶಿಲ್ಪ) พบสร้างในช่วงปี ค.ศ. 1336–1565 เป็นวลีทางสถาปัตยกรรมที่ใช้เรียกสิ่งก่อสร้างที่สร้างขึ้นในยุคจักรวรรดิวิชัยนคร ในบริเวณอินเดียใต้ มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองหลวงวิชัยนครบนลุ่มแม่น้ำตุงคพาทรา หมู่โบราณสถานที่ฮัมปีถือเป็นหลักฐานชิ้นำคัญของสถาปัตยกรรมวิชัยนคร และได้รับการยกย่องเป็นแหล่งมรดกโลกของยูเนสโก นอกจากการสร้างโบสถ์พราหมณ์ขึ้นใหม่ในอาณาจักร ยังมีการปรับปรุงและซ่อมแซมโบสถ์พราหมณ์เก่าจากยุคก่อนวิชัยนคร เช่น หมู่โบสถ์พราหมณ์ที่เขามหากุตะ เป็นสิ่งก่อสร้างดั้งเดิมจากอาณาจักรจลุกยะตะวันตก ในขณะที่หมู่โบสถ์พราหมณ์แห่งฮัมปีนั้นสร้างมาตั้งแต่ก่อนยุควิชัยนคร สมัยที่เรียกหมู่ศาสนสถานนี้ว่า ปัมปาตีรถะ ราวปี ค.ศ. 689

รายโคปุระของวิรูปักษะมณเทียร ในฮัมปี รัฐกรณาฏกะ

ในเมืองหลวงวิชัยคร มีหมู่โบราณสถานหลายร้อยแห่ง ในจำนวนนี้ 56 แห่งได้รับสถานะการคุ้มครองโดยยูเนสโก, 654 แห่งได้รับการคุ้มครองโดยรัฐบาลของรัฐกรณาฏกะ และอีก 300 แห่งนังไม่ได้รับสถานะการคุ้มครองจากหน่วยงานใด ๆ

สถาปัตยกรรมวิชัยนครสามารถจัดแบ่งกว้าง ๆ ออกเป็นเชิงศาสนา, เชิงการปกครอง และ เชิงที่อยู่อาศัย รูปแบบของวิชัยนครเป็นการผสมผสานกันของรูปแบบจากอาณาจักรก่อนหน้า คือ จลุกยะ, ฮอยศาลา, ปันทยะ และ โจฬะ

ศาสนถาน

 
โบสถ์พราหมณ์ยุคกลางศตวรรษที่ 14 ที่ศรีนครี หนึ่งในโบสถ์พราหมณ์ที่เก่าแก่ที่สุดที่สร้างโดยจักรพรรดิแห่งวิชัยนคร

โบสถ์พราหมณ์ยุควิชัยนครมักมีโครงสร้างปกคลุมที่แข็งแรง ในโบสถ์พราหมณ์เล็ก ๆ จะมีเพียง ครรภคฤห์ (ห้องประดิษฐานเทวรูป) และระเบียง ส่วนในโบสถ์พราหมณ์ขนาดกลางประกอบด้วยครรภคฤห์, ศุกันสี, นวรังคะ หรือ อันตรละ ที่เชื่อมโถงด้านในกับมณฑป และรังคมณฑปด้านนอก และในโบสถ์พราหมณ์ขนาดใหญ่จะมี รายโคปุระ เป็นหอทางเข้า (คำว่า “ราย” ด้านหน้าเพื่อระบุว่าสร้างโดย “รายะ” แห่งจักรวรรดิวิชัยนคร) สร้างขึ้นแบบโจฬะ บนยอดของโคปุระมี ศลศิขร รูปแบบที่ได้รับอิทธิพลทมิฬ-ทราวิฑนี้ เป็นที่นิยมในรัชสมัยของกฤษณเทวราย และสืบเนื่องมาในอีก 200 ปี ตามเทวสถานในแถบอินเดียใต้ ตัวอย่าง รายโคปุรัม เช่นที่ เจนนเกสวะมณเทียร ในเบลูร์, กรณาฏกะ และหมู่โบสถ์พราหมณ์ที่ศรีไสลัมและศรีรังคัม นอกจากองค์ประกอบหลัก ๆ เหล่านี้แล้ว ยังทีองค์ประกอบอื่น ๆ ที่อาจพบ เช่น โถงปิดสำหรับเวียนเทียน (ปรทักษิณปฐา) รอบครรภคฤห์, มหามณฑป (โถงใหญ่), กัลยณมณฑป (โถงพิธี) และอ่างเก็บน้ำ

เสาของอาคารต่าง ๆ ฝั่งที่หันออกด้านนอกอาคารมักมีงานแกะสลักแสดงภาพของม้า หรือ สิ่งมีชีวิตในตำนานที่มีหน้าตาคล้ายกับกริฟฟินในตำนานตะวันตก เรียกว่า “ยัลลิ” อีกด้านหนึ่งของเสาทีหันหน้าเข้าในอาคารมีกแกะสลักเรื่องราวจากตำนานฮินดู เสาที่ไม่มีงานแกะสลักม้าหรือยัลลี มักตกแต่งด้วยเรื่องราวจากตำนานฮินดูโดยรอบอย่างเดียว เสาบางเสามีเสาขนาดเล็ก ๆ ล้อมเสาหลักตรงกลาง ลักษณะความประดิดประดอยในงานแกะสลักนี้ แสดงให้เห็นถึงฝีมือและความวิจิตรของช่างแกะสลักในยุคสมัยนั้น ๆ อย่างชัดเจน

คำศัพท์

  • มณฑป – โถงที่มีเสา
  • มหามณฑป – โถงเปิดที่มีเสา
  • รังคมณฑป – โถงปิดที่มีเสา
  • กัลยณมณฑป – โถงสำหรับพิธีกรรมและเทศกาลพิเศษ
  • ครรภคฤห์ – ห้องภายในที่ประดิษฐานเทวรูปของเทพเจ้าองค์ประธาน
  • นวรังคะ หรือ อันตรละ – ทางเดินที่เชื่อมห้องต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
  • ศุกันสี – โถงนั่งคอย

อ้างอิง

  1. Global Heritage Fund 27 September 2006 at the Wayback Machine.
  2. Hampi – A Travel Guide, pp 36, Department of Tourism, India
  3. Art critic Percy Brown calls Vijayanagara architecture a blossoming of Dravidian style, A Concise History of Karnataka, pp 182, Dr. S.U. Kamath, History of Karnataka, Arthikaje
  4. The elaboration of ceremonial observances produced a corresponding elaboration in the temple system, says art critic Percy Brown, A Concise History of Karnataka, pp 183, Dr. S.U. Kamath
  5. The attached colonnettes and sculptured animals are a significant artistic innovation of the reign of king Krishnadevaraya, New Light on Hampi, Recent research in Vijayanagara, edited by John M. Fritz and George Michell, pp 8
  6. A Concise History of Karnataka, pp 183, Dr. S.U. Kamath

สถาป, ตยกรรมว, ยนคร, นนาดา, ಜಯನಗರ, พบสร, างในช, วงป, 1336, 1565, เป, นวล, ทางสถาป, ตยกรรมท, ใช, เร, ยกส, งก, อสร, างท, สร, างข, นในย, คจ, กรวรรด, ยนคร, ในบร, เวณอ, นเด, ยใต, นย, กลางอย, เม, องหลวงว, ยนครบนล, มแม, ำต, งคพาทรา, หม, โบราณสถานท, มป, อเป, นหล, กฐาน. sthaptykrrmwichynkhr knnada ವ ಜಯನಗರ ವ ಸ ತ ಶ ಲ ಪ phbsranginchwngpi kh s 1336 1565 epnwlithangsthaptykrrmthiicheriyksingkxsrangthisrangkhuninyukhckrwrrdiwichynkhr inbriewnxinediyit misunyklangxyuthiemuxnghlwngwichynkhrbnlumaemnatungkhphathra hmuobransthanthihmpithuxepnhlkthanchinakhykhxngsthaptykrrmwichynkhr aelaidrbkarykyxngepnaehlngmrdkolkkhxngyuensok nxkcakkarsrangobsthphrahmnkhunihminxanackr yngmikarprbprungaelasxmaesmobsthphrahmnekacakyukhkxnwichynkhr echn hmuobsthphrahmnthiekhamhakuta epnsingkxsrangdngedimcakxanackrclukyatawntk inkhnathihmuobsthphrahmnaehnghmpinnsrangmatngaetkxnyukhwichynkhr smythieriykhmusasnsthanniwa pmpatirtha rawpi kh s 689rayokhpurakhxngwirupksamnethiyr inhmpi rthkrnatka inemuxnghlwngwichykhr mihmuobransthanhlayrxyaehng incanwnni 56 aehngidrbsthanakarkhumkhrxngodyyuensok 654 aehngidrbkarkhumkhrxngodyrthbalkhxngrthkrnatka aelaxik 300 aehngnngimidrbsthanakarkhumkhrxngcakhnwynganid 1 sthaptykrrmwichynkhrsamarthcdaebngkwang xxkepnechingsasna echingkarpkkhrxng aela echingthixyuxasy 2 rupaebbkhxngwichynkhrepnkarphsmphsanknkhxngrupaebbcakxanackrkxnhna khux clukya hxysala pnthya aela ocla 3 sasnthan aekikh obsthphrahmnyukhklangstwrrsthi 14 thisrinkhri hnunginobsthphrahmnthiekaaekthisudthisrangodyckrphrrdiaehngwichynkhr obsthphrahmnyukhwichynkhrmkmiokhrngsrangpkkhlumthiaekhngaerng inobsthphrahmnelk camiephiyng khrrphkhvh hxngpradisthanethwrup aelaraebiyng swninobsthphrahmnkhnadklangprakxbdwykhrrphkhvh suknsi nwrngkha hrux xntrla thiechuxmothngdaninkbmnthp aelarngkhmnthpdannxk aelainobsthphrahmnkhnadihycami rayokhpura epnhxthangekha khawa ray danhnaephuxrabuwasrangody raya aehngckrwrrdiwichynkhr srangkhunaebbocla bnyxdkhxngokhpurami slsikhr rupaebbthiidrbxiththiphlthmil thrawithni epnthiniyminrchsmykhxngkvsnethwray aelasubenuxngmainxik 200 pi tamethwsthaninaethbxinediyit 4 twxyang rayokhpurm echnthi ecnnekswamnethiyr ineblur krnatka aelahmuobsthphrahmnthisriislmaelasrirngkhm nxkcakxngkhprakxbhlk ehlaniaelw yngthixngkhprakxbxun thixacphb echn othngpidsahrbewiynethiyn prthksinptha rxbkhrrphkhvh mhamnthp othngihy klynmnthp othngphithi aelaxangekbna 5 esakhxngxakhartang fngthihnxxkdannxkxakharmkminganaekaslkaesdngphaphkhxngma hrux singmichiwitintananthimihnatakhlaykbkriffinintanantawntk eriykwa ylli xikdanhnungkhxngesathihnhnaekhainxakharmikaekaslkeruxngrawcaktananhindu 6 esathiimminganaekaslkmahruxylli mktkaetngdwyeruxngrawcaktananhinduodyrxbxyangediyw esabangesamiesakhnadelk lxmesahlktrngklang lksnakhwampradidpradxyinnganaekaslkni aesdngihehnthungfimuxaelakhwamwicitrkhxngchangaekaslkinyukhsmynn xyangchdecn 7 khasphth aekikhmnthp othngthimiesa mhamnthp othngepidthimiesa rngkhmnthp othngpidthimiesa klynmnthp othngsahrbphithikrrmaelaethskalphiess khrrphkhvh hxngphayinthipradisthanethwrupkhxngethphecaxngkhprathan nwrngkha hrux xntrla thangedinthiechuxmhxngtang ekhadwykn suknsi othngnngkhxyxangxing aekikh Global Heritage Fund Archived 27 September 2006 at the Wayback Machine Hampi A Travel Guide pp 36 Department of Tourism India Art critic Percy Brown calls Vijayanagara architecture a blossoming of Dravidian style A Concise History of Karnataka pp 182 Dr S U Kamath History of Karnataka Arthikaje New Light on Hampi Recent research in Vijayanagara edited by John M Fritz and George Michell pp 9 The elaboration of ceremonial observances produced a corresponding elaboration in the temple system says art critic Percy Brown A Concise History of Karnataka pp 183 Dr S U Kamath The attached colonnettes and sculptured animals are a significant artistic innovation of the reign of king Krishnadevaraya New Light on Hampi Recent research in Vijayanagara edited by John M Fritz and George Michell pp 8 A Concise History of Karnataka pp 183 Dr S U Kamathekhathungcak https th wikipedia org w index php title sthaptykrrmwichynkhr amp oldid 9239520, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม