fbpx
วิกิพีเดีย

พละ 5

บทความนี้เกี่ยวกับพุทธศาสนา สำหรับวิชาศึกษา ดูที่ พลศึกษา

พละ หรือ พละ 5 คือ กำลังห้าประการ ได้แก่

  1. ศรัทธาพละ ความเชื่อ กำลังการควบคุมความสงสัย ความวิตก
  2. วิริยะพละ ความเพียร กำลังการควบคุมความเกียจคร้าน
  3. สติพละ ความระลึกได้ กำลังการควบคุมความประมาท ความงมงาย
  4. สมาธิพละ ความตั้งใจมั่น กำลังการควบคุมการวอกแวกเขว่ไขว่ ฟุ้งซ่าน
  5. ปัญญาพละ ความรอบรู้ กำลังการควบคุม การทำเกินพอดี

เป็นหลักธรรมที่คู่กับอินทรีย์ 5 คือศรัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ โดยมีความเหมือนความแตกต่างและความเกี่ยวเนื่องคือ พละ 5 เป็นธรรมที่กำจัดแก้อกุศลนิวรณ์ อินทรีย์เป็นธรรมเสริมสร้างกุศลอิทธิบาท

พละ 5 กับนิวรณ์ 5

พละทั้งห้านี้ เป็นหลักธรรมที่ผู้เจริญวิปัสสนาพึงรู้ ศรัทธาปรับให้สมดุลกับปัญญา วิริยะต้องปรับให้สมดุลกับสมาธิ ส่วนสติพึงเจริญให้มากเนื่องเป็นหลักที่มีสภาวะปรับสมดุลของจิตภายในตัวเองอยู่แล้ว ถ้าพละห้า ไม่สมดุล ท่านว่าจะเกิดนิวรณ์ทั้งห้า

  • ศรัทธาพละมากกว่าปัญญาพละ จะทำให้มีโมหะได้ง่าย จนเกิดราคะ โทสะได้ง่าย ทำให้อาจเกิดกามฉันทะนิวรณ์หรือพยาบาทนิวรณ์
  • ปัญญาพละมากกว่าศรัทธาพละ จะเกิดวิจิกิจฉานิวรณ์ ความลังเลสงสัย
  • วิริยะพละมากกว่าสมาธิพละ จะเกิดอุทธัจจะกุกกุจจะนิวรณ์ ฟุ้งซ่านและรำคาญใจ
  • สมาธิพละมากกว่าวิริยะพละ จะเกิดถีนมิทธะนิวรณ์ ความง่วงและท้อแท้ เกียจคร้าน

พละ 5 กับสติปัฏฐาน

ตามหลักปฏิบัติสติปัฏฐานท่านว่าเป็นเหตุให้เกิด พละ5 ตามอารมณ์ของสติปัฏฐานที่ได้เจริญ

  • สติพละ สตินั้นท่านกล่าวว่ายิ่งมีมากยิ่งดี การเจริญวิปัสสนานั้น ท่านให้กำหนดสติรับรู้จากน้อยไปหามาก ยิ่งมีอารมณ์กำหนดน้อยก็จะเกิดสมาธิได้ง่าย ถ้ามีอารมณ์ให้กำหนดกว้างมากสมาธิจะน้อยจนไม่เป็นอันปฏิบัติ เพราะสมาธิคือความตั้งใจของจิต ถ้าสมาธิมีมากเกินไปจิตจะดิ่งนิ่งไม่มีสติ อุบายคือเมื่อสมาธิมีมากเกินไป เพราะเริ่มชำนาญต่ออารมณ์กรรมฐานที่กำหนด ให้เพิ่มการรับรู้ของสติให้มากขึ้นกว้างขึ้นละเอียดขึ้นทีละน้อย ด้วยการเพิ่มอารมณ์ที่ต้องกำหนดคืออิริยาบถย่อยและอารมณ์ทางประสาทสัมผัสทั้ง6 ให้มากขึ้นกว้างขึ้นละเอียดขึ้นทีล่ะน้อย ถ้าเพิ่มมากเกินไปในทีเดียว จะสูญเสียสมาธิที่ใช้ในการกำหนดอารมณ์กรรมฐานกลายเป็นฟุ้งซ่านหรือขี้เกียจไป เพราะถ้าจิตรับรู้น้อยอย่างจะเกิดสมาธิได้ง่าย ถ้าจิตรับรู้มากอย่างในอิริยาบถและสัมผัสทั้ง6จะเกิดสติมากแต่จะอ่อนสมาธิจนอาจไม่สนใจเจริญสติ เพราะไม่มีสมาธิรักษาอารมณ์ที่จดจ่อในการกำหนด จึงต้องค่อยๆเพิ่มอารมณ์ที่ใช้กำหนดทีล่ะน้อย เพราะเมื่อผู้ปฏิบัติชำนาญจนเคยชินจะกลายเป็นสมาธิมากขึ้นเอง จึงต้องค่อยๆเพิ่มการรับรู้ของสติไปเรื่อยๆทีล่ะขั้น เพื่อลดกำลังของสมาธิด้วยสติ, แต่แม้จะไม่เพิ่มการกำหนดของจิตให้มากขึ้นกว้างขึ้นละเอียดขึ้น เพื่อหวังให้สมาธิคงอยู่นาน แต่การกระทำเช่นนั้น ก็อาจทำให้สมาธิค่อยๆอ่อนกำลังได้เช่นกัน เหมือนการที่ทำอะไรจนเคยชินจนคล่องมาก จะเริ่มไม่มีสมาธิต่อสิ่งนั้นจนสามารถ เริ่มทำสิ่งนั้นไปพร้อมกับสิ่งอื่นได้ง่ายๆ ซึ่งการชำนาญมากไปอาจมีผลให้จิตเหม่อลอย ขี้เกียจจนเกิดถีนมิทธะได้ง่าย ดังนั้นการจะสร้างสมาธิเมื่อจิตเริ่มชำนาญต่ออารมณ์ที่มีอยู่ ก็คือการกำหนดสติให้มากขึ้นกว้างขึ้นละเอียดขึ้น จิตจึงจะกลับมีสมาธิต่ออารมณ์กรรมฐานได้ดีต่อไป การใช้สติลดกำลังสมาธิแบบนี้ สติจะกล้าแข็งกว่าสมาธิไปทีล่ะระดับขั้น
  • ศรัทธาพละ เกิดจากสมาธิอันเป็นตัวแทนแห่งสมถะที่มีอารมณ์ให้เกิดศรัทธาในพระรัตนตรัย ในทาน ศีล ความดี นิพพานฯลฯได้ง่าย มีอารมณ์อันเป็นฝักฝ่ายให้เกิดราคะเช่นวรรณะกสิน และอารมณ์ให้เกิดโทสะเช่นอสุภะ กายคตาสติ และอารมณ์ต่างๆเช่นมรณานุสสติ อัปปมัญญา เหล่านี้มีกำลังมากกว่าสติอันเป็นตัวแทนแห่งวิปัสสนานั่นคือปัญญา เมื่อสมาธิมีกำลังมากกว่าสติ ศรัทธาพละจึงมีกำลังมากกว่าปัญญาพละ เป็นเหตุให้เกิดกามฉันทะนิวรณ์และพยาบาทนิวรณ์ได้ง่าย การที่สมาธิมีกำลังมากกว่าสติ เพราะสมาธิเกิดขึ้นได้ง่ายในการจดจ่อ ตั้งใจมั่น ในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ย่อมทำให้สติที่เป็นสภาวะกำหนดครอบคลุมในอิริยาบถทั้งหลายในทุกประสาทสัมผัสทั้งหลาย อ่อนกำลังลงเพราะไม่สามารถกำหนดครอบคลุมได้
  • ปัญญาพละ เกิดจากสติอันเป็นตัวแทนแห่งวิปัสสนาคือปัญญามีกำลังมากกว่าสมาธิอันเป็นตัวแทนแห่งสมถะที่มีอารมณ์ให้เกิดศรัทธาในองค์ธรรมต่างๆ เพราะเหตุแห่งจิตมีปัญญาในพระไตรลักษณ์มาก เมื่อสติมีกำลังมากกว่าสมาธิ ทำให้ปัญญาพละมีกำลังมากกว่าศรัทธาพละ เป็นเหตุให้เกิดวิจิกิจฉานิวรณ์ได้ง่าย การที่สติมีกำลังมากกว่าสมาธิ เพราะสติคือการกำหนดแบบครอบคลุมทุกอิริยาบถทุกการรับรู้ทางประสาทสัมผัสยิ่งมากสติยิ่งมีกำลัง แต่จะเป็นเหตุให้สมาธิที่ชอบกำหนดจดจ่อในอารมณ์น้อยอย่าง สูญเสียอารมณ์สมาธิได้ง่าย
  • วิริยะพละ เกิดจากการกำหนดการเดินจงกรมและการกำหนดอิริยาบถย่อย ซึ่งถ้าทำมากไปจะทำให้จิตฟุ้งซ่าน
  • สมาธิพละ เกิดจากการกำหนดในอิริยาบถนั่ง ถ้ามากไปทำให้ขี้เกียจ ท้อแท้ ง่วง เบื่อ ได้

ดังนั้น ให้ศรัทธาพละสมดุลกับปัญญาพละด้วยการกำหนดอารมณ์ให้เหมาะสมแก่กำลังของสติสมาธิในขณะนั้น ให้วิริยะพละสมดุลกับสมาธิพละด้วยการสลับการเดินจงกรมและการนั่งสมาธิให้เหมาะสมแก่อินทรีย์ของตนเอง

อ้างอิง

  1. สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. นวโกวาท. กรุงเทพ: สำนักพืมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๐

พละ, บทความน, องการตรวจสอบความถ, กต, องจากผ, เช, ยวชาญ, โปรดด, รายละเอ, ยดเพ, มเต, มในหน, าอภ, ปราย, หากค, ณม, ความร, เก, ยวก, บเร, องน, ณสามารถช, วยปร, บปร, งเน, อหาได, นท, โดยการกดป, แก, ไข, านบน, งเม, อตรวจสอบและแก, ไขแล, วให, นำป, ายน, ออกบทความน, งต, องกา. bthkhwamnitxngkartrwcsxbkhwamthuktxngcakphuechiywchay oprdduraylaexiydephimetiminhnaxphipray hakkhunmikhwamruekiywkberuxngni khunsamarthchwyprbprungenuxhaidthnthi odykarkdpum aekikh danbn sungemuxtrwcsxbaelaaekikhaelwihnapaynixxkbthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng khunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxkbthkhwamniekiywkbphuththsasna sahrbwichasuksa duthi phlsuksa phla hrux phla 5 khux kalnghaprakar 1 idaek srththaphla khwamechux kalngkarkhwbkhumkhwamsngsy khwamwitk wiriyaphla khwamephiyr kalngkarkhwbkhumkhwamekiyckhran stiphla khwamralukid kalngkarkhwbkhumkhwampramath khwamngmngay smathiphla khwamtngicmn kalngkarkhwbkhumkarwxkaewkekhwikhw fungsan pyyaphla khwamrxbru kalngkarkhwbkhum karthaekinphxdiepnhlkthrrmthikhukbxinthriy 5 khuxsrththinthriy wiriyinthriy stinthriy smathinthriy pyyinthriy odymikhwamehmuxnkhwamaetktangaelakhwamekiywenuxngkhux phla 5 epnthrrmthikacdaekxkuslniwrn xinthriyepnthrrmesrimsrangkuslxiththibathphla 5 kbniwrn 5 aekikhphlathnghani epnhlkthrrmthiphuecriywipssnaphungru srththaprbihsmdulkbpyya wiriyatxngprbihsmdulkbsmathi swnstiphungecriyihmakenuxngepnhlkthimisphawaprbsmdulkhxngcitphayintwexngxyuaelw thaphlaha imsmdul thanwacaekidniwrnthngha srththaphlamakkwapyyaphla cathaihmiomhaidngay cnekidrakha othsaidngay thaihxacekidkamchnthaniwrnhruxphyabathniwrn pyyaphlamakkwasrththaphla caekidwicikicchaniwrn khwamlngelsngsy wiriyaphlamakkwasmathiphla caekidxuththccakukkuccaniwrn fungsanaelarakhayic smathiphlamakkwawiriyaphla caekidthinmiththaniwrn khwamngwngaelathxaeth ekiyckhranphla 5 kbstiptthan aekikhtamhlkptibtistiptthanthanwaepnehtuihekid phla5 tamxarmnkhxngstiptthanthiidecriy stiphla stinnthanklawwayingmimakyingdi karecriywipssnann thanihkahndstirbrucaknxyiphamak yingmixarmnkahndnxykcaekidsmathiidngay thamixarmnihkahndkwangmaksmathicanxycnimepnxnptibti ephraasmathikhuxkhwamtngickhxngcit thasmathimimakekinipcitcadingningimmisti xubaykhuxemuxsmathimimakekinip ephraaerimchanaytxxarmnkrrmthanthikahnd ihephimkarrbrukhxngstiihmakkhunkwangkhunlaexiydkhunthilanxy dwykarephimxarmnthitxngkahndkhuxxiriyabthyxyaelaxarmnthangprasathsmphsthng6 ihmakkhunkwangkhunlaexiydkhunthilanxy thaephimmakekinipinthiediyw casuyesiysmathithiichinkarkahndxarmnkrrmthanklayepnfungsanhruxkhiekiycip ephraathacitrbrunxyxyangcaekidsmathiidngay thacitrbrumakxyanginxiriyabthaelasmphsthng6caekidstimakaetcaxxnsmathicnxacimsnicecriysti ephraaimmismathirksaxarmnthicdcxinkarkahnd cungtxngkhxyephimxarmnthiichkahndthilanxy ephraaemuxphuptibtichanaycnekhychincaklayepnsmathimakkhunexng cungtxngkhxyephimkarrbrukhxngstiiperuxythilakhn ephuxldkalngkhxngsmathidwysti aetaemcaimephimkarkahndkhxngcitihmakkhunkwangkhunlaexiydkhun ephuxhwngihsmathikhngxyunan aetkarkrathaechnnn kxacthaihsmathikhxyxxnkalngidechnkn ehmuxnkarthithaxaircnekhychincnkhlxngmak caerimimmismathitxsingnncnsamarth erimthasingnnipphrxmkbsingxunidngay sungkarchanaymakipxacmiphlihcitehmxlxy khiekiyccnekidthinmiththaidngay dngnnkarcasrangsmathiemuxciterimchanaytxxarmnthimixyu kkhuxkarkahndstiihmakkhunkwangkhunlaexiydkhun citcungcaklbmismathitxxarmnkrrmthanidditxip karichstildkalngsmathiaebbni sticaklaaekhngkwasmathiipthilaradbkhnsrththaphla ekidcaksmathixnepntwaethnaehngsmthathimixarmnihekidsrththainphrartntry inthan sil khwamdi niphphanlidngay mixarmnxnepnfkfayihekidrakhaechnwrrnaksin aelaxarmnihekidothsaechnxsupha kaykhtasti aelaxarmntangechnmrnanussti xppmyya ehlanimikalngmakkwastixnepntwaethnaehngwipssnannkhuxpyya emuxsmathimikalngmakkwasti srththaphlacungmikalngmakkwapyyaphla epnehtuihekidkamchnthaniwrnaelaphyabathniwrnidngay karthismathimikalngmakkwasti ephraasmathiekidkhunidngayinkarcdcx tngicmn insingidsinghnung yxmthaihstithiepnsphawakahndkhrxbkhluminxiriyabththnghlayinthukprasathsmphsthnghlay xxnkalnglngephraaimsamarthkahndkhrxbkhlumidpyyaphla ekidcakstixnepntwaethnaehngwipssnakhuxpyyamikalngmakkwasmathixnepntwaethnaehngsmthathimixarmnihekidsrththainxngkhthrrmtang ephraaehtuaehngcitmipyyainphraitrlksnmak emuxstimikalngmakkwasmathi thaihpyyaphlamikalngmakkwasrththaphla epnehtuihekidwicikicchaniwrnidngay karthistimikalngmakkwasmathi ephraastikhuxkarkahndaebbkhrxbkhlumthukxiriyabththukkarrbruthangprasathsmphsyingmakstiyingmikalng aetcaepnehtuihsmathithichxbkahndcdcxinxarmnnxyxyang suyesiyxarmnsmathiidngaywiriyaphla ekidcakkarkahndkaredincngkrmaelakarkahndxiriyabthyxy sungthathamakipcathaihcitfungsansmathiphla ekidcakkarkahndinxiriyabthnng thamakipthaihkhiekiyc thxaeth ngwng ebux iddngnn ihsrththaphlasmdulkbpyyaphladwykarkahndxarmnihehmaasmaekkalngkhxngstismathiinkhnann ihwiriyaphlasmdulkbsmathiphladwykarslbkaredincngkrmaelakarnngsmathiihehmaasmaekxinthriykhxngtnexngxangxing aekikh smedcphramhasmneca krmphrayawchiryanworrs nwokwath krungethph sankphumphmhamkutrachwithyaly 2540 bthkhwamekiywkbsasnaphuththniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy phraphuththsasnaekhathungcak https th wikipedia org w index php title phla 5 amp oldid 9322071, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม