fbpx
วิกิพีเดีย

พลังงานยึดเหนี่ยว

พลังงานยึดเหนี่ยว (อังกฤษ: Binding energy) คือพลังงานที่ต้องใช้เพื่อแยกระบบสมบูรณ์หนึ่งให้เป็นชิ้นส่วนออกจากกัน ระบบที่ยึดเหนี่ยวเข้าด้วยกันโดยทั่วไปมีพลังงานศักย์ที่ต่ำกว่าผลรวมของชิ้นส่วนที่ประกอบมันขึ้นมา นี่คือพลังงานที่จะรักษาให้ระบบติดอยู่ด้วยกัน มักจะหมายความว่าพลังงานจะถูกปล่อยออกไปในการสร้างสภาวะการยึดเหนี่ยว คำจำกัดความนี้จะสอดคล้องกับพลังงานยึดเหนี่ยวเชิงบวก

หลักการทั่วไป

โดยทั่วไป พลังงานยึดเหนี่ยวหมายถึงงานเชิงกลที่ต้องใช้เพื่อต่อต้านกับแรงที่ยึดวัตถุหนึ่งไว้ด้วยกัน เป็นการแยกวัตถุออกเป็นชิ้นส่วนย่อยโดยมีระยะห่างระหว่างชิ้นส่วนที่มากพอจนการแยกส่วนเพิ่มเติมจะต้องการงานที่มากขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

ในระดับอะตอม พลังงานยึดเหนี่ยวอะตอม มาจากปฏิสัมพันธ์ทางแม่เหล็กไฟฟ้าและเป็นพลังงานที่ต้องใช้เพื่อแยกอะตอมออกเป็นอิเล็กตรอนอิสระและนิวเคลียส พลังงานยึดเหนี่ยวอิเล็กตรอน เป็นพลังงานที่ต้องใช้เพื่อปล่อยอิเล็กตรอนให้เป็นอิสระจากวงโคจรของอะตอม พลังงานนี้เรียกว่าพลังงานไอโอไนซ์ (อังกฤษ: ionization energy)

ในระดับโมเลกุล พลังงานยึดเหนี่ยวและพลังงานยึด-แยก (อังกฤษ: bond energy and bond-dissociation energy) เป็นพลังงานที่ยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมหนึ่งกับอีกอะตอมหนึ่งในการยึดเหนี่ยวทางเคมี

ในระดับนิวเคลียส พลังงานยึดเหนี่ยวก็เท่ากับพลังงานที่ถูกใช้ปลดปล่อยให้เป็นอืสระเมื่อนิวเคลียสหนึ่งถูกสร้างขึ้นจากนิวคลีออนหรือนิวเคลียสอื่น ๆ พลังงานยึดเหนี่ยวนิวเคลียส (อังกฤษ: nuclear binding energy) นี้(หมายถึงพลังงานยึดเหนี่ยวของนิวคลีออนทั้งหลายให้เป็นหนึ่งนิวไคลด์) ได้มาจาก'แรงนิวเคลียส' (ปฏิสัมพันธ์ที่เหลือค้างอย่างแรง)และเป็นพลังงานที่ต้องใช้เพื่อแยกนิวเคลียสหนึ่งให้แตกออกเป็นนิวตรอนและโปรตอนอิสระในจำนวนที่เท่ากันกับที่พวกมันถูกยึดเหนี่ยวกันไว้ โดยที่นิวคลีออนเหล่านั้นจะต้องมีระยะห่างจากกันเพียงพอที่จะไม่ทำให้แรงนิวเคลียร์สามารถทำให้อนุภาคเหล่านั้นมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันอีกต่อไป 'มวลส่วนเกิน' เป็นแนวคิดที่สัมพันธ์กันที่เปรียบเทียบเลขมวลของนิวเคลียสหนึ่งกับมวลที่วัดได้อย่างแท้จริงของมัน

ในฟิสิกส์ดาราศาสตร์ "พลังงานยึดเหนี่ยวโน้มถ่วง" ของเทหวัตถุในท้องฟ้าหรือในอวกาศเป็นพลังงานที่ต้องใช้เพื่อขยายสสารไปไม่มีที่สิ้นสุด อย่าสับสนกับพลังงานศักย์โน้มถ่วงซึ่งเป็นพลังงานที่ต้องการแยกวัตถุทั้งสองออกจากกัน เช่น ดาวเทียม เป็นระยะห่างอนันต์และวัตถุทั้งสองต้องไม่มีการเปลี่ยนแปลง (พลังงานอย่างหลังต่ำกว่า)

ในหลายระบบที่ยึดติดกัน ถ้าพลังงานยึดเหนื่ยวถูกถอดออกจากระบบ มันต้องถูกลบออกจากมวลของระบบที่แยกออกจากกัน เพียงเพราะพลังงานนี้ "มี" มวล ดังนั้น ถ้าพลังงานถูกถอด(หรือปลดปล่อย)ออกจากระบบในตอนที่ระบบถูกยึดติดกัน การสูญเสียพลังงานจากระบบจะเป็นผลเช่นกันในการสูญเสียของมวลของพลังงาน จากระบบ มวลของระบบจะไม่ถูกอนุรักษ์ในกระบวนการนี้เพราะระบบมัน "เปิด" (หรือไม่ใช่เป็นระบบแยกส่วนจากมวลหรือพลังงานที่ใส่เข้าไปหรือสูญเสียไป) ในระหว่างกระบวนการยึดติดกัน

แหล่งข้อมูลอื่น

  1. "Nuclear Power Binding Energy". Retrieved 16 May 2015.
  2. IUPAC, Compendium of Chemical Terminology, 2nd ed. (the "Gold Book") (1997). Online corrected version: (2006–) "Ionization energy".
  3. Britannica Online Encyclopaedia - "nuclear binding energy". Accessed 8 September 2010. http://www.britannica.com/EBchecked/topic/65615/binding-energy
  4. Nuclear Engineering - "Binding Energy". Bill Garland, McMaster University. Accessed 8 September 2010. http://www.nuceng.ca/igna/binding_energy.htm
  5. Atomic Alchemy: Nuclear Processes - "Binding Energy". About 2012-02-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Accessed 7 September 2010. http://library.thinkquest.org/17940/texts/binding_energy/binding_energy.html 2013-01-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  6. Krane, K. S (1987). Introductory Nuclear Physics. John Wiley & Sons. ISBN 0-471-80553-X.
  7. HyperPhysics - "Nuclear Binding Energy". C.R. Nave, Georgia State University. Accessed 7 September 2010. http://hyperphysics.phy-astr.gsu.edu/hbase/nucene/nucbin.html

พล, งงานย, ดเหน, ยว, งกฤษ, binding, energy, อพล, งงานท, องใช, เพ, อแยกระบบสมบ, รณ, หน, งให, เป, นช, นส, วนออกจากก, ระบบท, ดเหน, ยวเข, าด, วยก, นโดยท, วไปม, พล, งงานศ, กย, ำกว, าผลรวมของช, นส, วนท, ประกอบม, นข, นมา, อพล, งงานท, จะร, กษาให, ระบบต, ดอย, วยก, กจะห. phlngnganyudehniyw xngkvs Binding energy khuxphlngnganthitxngichephuxaeykrabbsmburnhnungihepnchinswnxxkcakkn rabbthiyudehniywekhadwyknodythwipmiphlngnganskythitakwaphlrwmkhxngchinswnthiprakxbmnkhunma nikhuxphlngnganthicarksaihrabbtidxyudwykn mkcahmaykhwamwaphlngngancathukplxyxxkipinkarsrangsphawakaryudehniyw khacakdkhwamnicasxdkhlxngkbphlngnganyudehniywechingbwkhlkkarthwip aekikhodythwip phlngnganyudehniywhmaythungnganechingklthitxngichephuxtxtankbaerngthiyudwtthuhnungiwdwykn epnkaraeykwtthuxxkepnchinswnyxyodymirayahangrahwangchinswnthimakphxcnkaraeykswnephimetimcatxngkarnganthimakkhunxyanghlikeliyngimidinradbxatxm phlngnganyudehniywxatxm macakptismphnththangaemehlkiffaaelaepnphlngnganthitxngichephuxaeykxatxmxxkepnxielktrxnxisraaelaniwekhliys 1 phlngnganyudehniywxielktrxn epnphlngnganthitxngichephuxplxyxielktrxnihepnxisracakwngokhcrkhxngxatxm phlngngannieriykwaphlngnganixoxins xngkvs ionization energy 2 inradbomelkul phlngnganyudehniywaelaphlngnganyud aeyk xngkvs bond energy and bond dissociation energy epnphlngnganthiyudehniywrahwangxatxmhnungkbxikxatxmhnunginkaryudehniywthangekhmiinradbniwekhliys phlngnganyudehniywkethakbphlngnganthithukichpldplxyihepnxusraemuxniwekhliyshnungthuksrangkhuncakniwkhlixxnhruxniwekhliysxun 3 4 phlngnganyudehniywniwekhliys xngkvs nuclear binding energy ni hmaythungphlngnganyudehniywkhxngniwkhlixxnthnghlayihepnhnungniwikhld idmacak aerngniwekhliys ptismphnththiehluxkhangxyangaerng aelaepnphlngnganthitxngichephuxaeykniwekhliyshnungihaetkxxkepnniwtrxnaelaoprtxnxisraincanwnthiethaknkbthiphwkmnthukyudehniywkniw odythiniwkhlixxnehlanncatxngmirayahangcakknephiyngphxthicaimthaihaerngniwekhliyrsamarththaihxnuphakhehlannmiptismphnthtxknxiktxip 5 mwlswnekin epnaenwkhidthismphnthknthiepriybethiybelkhmwlkhxngniwekhliyshnungkbmwlthiwdidxyangaethcringkhxngmn 6 infisiksdarasastr phlngnganyudehniywonmthwng khxngethhwtthuinthxngfahruxinxwkasepnphlngnganthitxngichephuxkhyayssaripimmithisinsud xyasbsnkbphlngnganskyonmthwngsungepnphlngnganthitxngkaraeykwtthuthngsxngxxkcakkn echn dawethiym epnrayahangxnntaelawtthuthngsxngtxngimmikarepliynaeplng phlngnganxyanghlngtakwa inhlayrabbthiyudtidkn thaphlngnganyudehnuywthukthxdxxkcakrabb mntxngthuklbxxkcakmwlkhxngrabbthiaeykxxkcakkn ephiyngephraaphlngnganni mi mwl dngnn thaphlngnganthukthxd hruxpldplxy xxkcakrabbintxnthirabbthukyudtidkn karsuyesiyphlngngancakrabbcaepnphlechnkninkarsuyesiykhxngmwlkhxngphlngngan cakrabb 7 mwlkhxngrabbcaimthukxnurksinkrabwnkarniephraarabbmn epid hruximichepnrabbaeykswncakmwlhruxphlngnganthiisekhaiphruxsuyesiyip inrahwangkrabwnkaryudtidknaehlngkhxmulxun aekikhGraph of Binding Energies of the elements Archived 2012 02 10 thi ewyaebkaemchchin Investigating Binding Energies and Mass Defect Archived 2009 02 20 thi ewyaebkaemchchin Excel Nuclear Binding energy Mass and Nuclide Stability Archived 2007 08 30 thi ewyaebkaemchchin Experimental atomic mass data compiled Nov 2003 bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul Nuclear Power Binding Energy Retrieved 16 May 2015 IUPAC Compendium of Chemical Terminology 2nd ed the Gold Book 1997 Online corrected version 2006 Ionization energy Britannica Online Encyclopaedia nuclear binding energy Accessed 8 September 2010 http www britannica com EBchecked topic 65615 binding energy Nuclear Engineering Binding Energy Bill Garland McMaster University Accessed 8 September 2010 http www nuceng ca igna binding energy htm Atomic Alchemy Nuclear Processes Binding Energy About Archived 2012 02 29 thi ewyaebkaemchchin Accessed 7 September 2010 http library thinkquest org 17940 texts binding energy binding energy html Archived 2013 01 21 thi ewyaebkaemchchin Krane K S 1987 Introductory Nuclear Physics John Wiley amp Sons ISBN 0 471 80553 X HyperPhysics Nuclear Binding Energy C R Nave Georgia State University Accessed 7 September 2010 http hyperphysics phy astr gsu edu hbase nucene nucbin htmlekhathungcak https th wikipedia org w index php title phlngnganyudehniyw amp oldid 9654063, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม