fbpx
วิกิพีเดีย

ยุทธนาวีที่พอร์ตอาเธอร์

ยุทธนาวีพอร์ตอาเธอร์ (ญี่ปุ่น: 旅順港海戦 / 旅順口海戦 เรียวจุงโก ไคเซ็ง หรือ 旅順港外海戦, เรียวจุงโกไง ไคเซ็ง) เป็นการรบกันทางทะเลเมื่อวันที่ 8-9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1904 ระหว่างฝ่าย จักรวรรดิญี่ปุ่น และ จักรวรรดิรัสเซีย ซึ่งถือเป็นการเปิดฉากสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น โดยคืนวันที่ 8 กุมภาพันธ์ กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นได้เป็นฝ่ายโจมตีกองเรือรัสเซียแบบไม่ทันตั้งตัว ที่น่านน้ำของพอร์ตอาเธอร์ ในดินแดนแมนจูเรีย ซึ่งรัสเซียกำลังเช่าบริหารจากจักรวรรดิชิง เป็นผลให้เรือรบบางส่วนของรัสเซียต้องอัปปางลง

ยุทธนาวีพอร์ตอาเธอร์
เป็นส่วนหนึ่งของ สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น

ภาพพิมพ์แสดงการโจมตีกองเรือรัสเซีย
วันที่ 8-9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1904
สถานที่ น่านน้ำทางตะวันออกของพอร์ตอาเธอร์ในแมนจูเรีย
ผลลัพธ์ ยุติการรบก่อน; เรือรบของรัสเซียถูกทำลาย
คู่ขัดแย้ง
จักรวรรดิญี่ปุ่น จักรวรรดิรัสเซีย
ผู้บัญชาการหรือผู้นำ
พล.ร.ท. โทโง เฮฮะชิโร
พล.ร.ท. ชิเงะโตะ เดะวะ
พล.ร.ท. ออสการ์ สตาร์ก
กำลัง
6 เรือประจัญบาน
9 เรือลาดตระเวนหนัก
7 เรือประจัญบาน
5 เรือลาดตระเวนป้องกัน
กำลังพลสูญเสีย
90 นายเสียชีวิต 150 นายเสียชีวิต
4 เรือรบอัปปาง

เบื้องหลัง

จากการเข้าไปตักตวงผลประโยชน์จากชาติตะวันตกบนดินแดนของจีน ก่อให้เกิดปฏิกิริยาต่อต้านจากชาวจีนผู้รักชาติ จนเกิดกบฏนักมวย ในปี ค.ศ. 1900 จนมหาอำนาจทั้งหลายรวมถึงอังกฤษ สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส รัสเซีย และญี่ปุ่น ส่งกำลังเข้าไปช่วยรักษาความสงบในปักกิ่ง จนเหตุการณ์สงบลง แต่รัสเซียกลับไม่ยอมถอนทหารออกจากแมนจูเรีย แสดงเจตนาอย่างชัดแจ้งว่าจะยึดครองแมนจูเรีย พร้อมทั้งยังเสนอให้ญี่ปุ่นยินยอมให้คาบสมุทรเกาหลีเป็นดินแดนที่เป็นกลาง ญี่ปุ่นปฏิเสธข้อเสนอดังกล่าว เพราะมองว่าจะเป็นการยอมรับการครอบครองแมนจูเรียของรัสเซียไปโดยปริยาย

ญี่ปุ่นประเมินว่าไม่สามารถขับไล่กำลังของรัสเซียออกจากแมนจูเรียได้ จึงมีแนวคิดที่จะยับยั้งไม่ให้รัสเซียรุกคืบเข้ามาในคาบสมุทรเกาหลีด้วยวิธีการทางการทูต แต่การเจรจาต่อรองกับรัสเซียไม่ประสบผลสำเร็จ ในปี ค.ศ. 1902 ญี่ปุ่นจึงหันไปผูกมิตรกับอังกฤษที่มีผลประโยชน์ขัดแย้งกับการขยายอิทธิพลของรัสเซียใน เอเซียตะวันออก และเร่งขยายขีดความสามารถทางทหาร โดยเฉพาะการเสริมสร้างกำลังทางเรือประเภทเรือรบหลักตามเป้าหมาย “กองเรือ 6 - 6“ (เรือประจัญบาน 6 ลำ เรือลาดตระเวนหนัก 6 ลำ) เพราะมองว่ารัสเซียกำลังเป็นภัยคุกคามที่ยากจะหลีกเลี่ยงได้อีกต่อไป

ญี่ปุ่นจึงได้เลือกพอร์ตอาเธอร์เป็นเป้าหมายแรกของสงคราม โดยประเมินว่าจำเป็นต้องทำลายกองเรือรัสเซียที่พอร์ตอาเธอร์ให้สิ้นซาก ก่อนที่กำลังทางเรือจากทะเลบอลติกของรัสเซียภายใต้บัญชาการของพลเรือตรีซีโนวี โรซเดสท์เวนสกี จะเดินทางมาสมทบ ซึ่งหากทำได้สำเร็จก็จะส่งผลต่อการรบทางบกอย่างใหญ่หลวง ทั้งยังเป็นเครื่องประกันความปลอดภัยของเส้นทางขนส่งลำเลียงทางทะเลที่จะช่วยในการสนับสนุนการส่งกำลังบำรุงแก่กำลังทางบกของญี่ปุ่นในแมนจูเรียด้วย

ยุทธศาสตร์ของญี่ปุ่น

 
เมืองพอร์ตอาเธอร์ในปี ค.ศ. 1903

ญี่ปุ่นมองว่าเหตุการณ์ความไม่สงบภายในของรัสเซียจากความเคลื่อนไหวของกลุ่มปฏิวัติต่อต้านรัฐบาลจักรพรรดินีคาไลที่ 2 นั้นส่งผลดีต่อญี่ปุ่น และญี่ปุ่นประเมินว่ารัสเซียจะไม่สามารถระดมกำลังมาที่แมนจูเรียได้อย่างเต็มที่ เพราะต้องแบ่งกำลังบางส่วนไว้ในพื้นที่ยุโรป เพื่อรับมือกับ จักรวรรดิออตโตมัน, จักรวรรดิเยอรมัน และ จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี กำลังรบทางบกจึงน่าจะมีกำลังใกล้เคียงกัน และด้วยกำลังรบทางทะเล ญี่ปุ่นประเมินว่าตนเองมีความได้เปรียบเหนือกองเรือภาคพื้นแปซิฟิกของรัสเซีย เนื่องจากการเสริมกำลังทางเรือจากยุโรปต้องเดินทางอ้อมแหลมกู๊ดโฮปและจะมีปัญหาในการส่งกำลังบำรุง เพราะเมืองท่าส่วนใหญ่เป็นอาณานิคมของอังกฤษที่เป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่น นอกจากนั้นกำลังทางเรือในแปซิฟิกเองยังแบ่งเป็น 2 พื้นที่ คือ ที่พอร์ตอาเธอร์ และวลาดีวอสตอค ญี่ปุ่นจึงน่าจะสามารถรวมกำลังและจัดการกับกำลังทางเรือของรัสเซียในแต่ละพื้นที่ได้ อันจะทำให้ญี่ปุ่นสามารถควบคุมเส้นทางคมนาคมทางทะเลที่มีความสำคัญยิ่งต่อการส่งกำลังบำรุงจากญี่ปุ่นไปยังกองทหารในแมนจูเรียได้

อีกอย่างที่ญี่ปุ่นมองว่าเป็นความได้เปรียบ คือ ทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรียของรัสเซียยังไม่เสร็จสมบูรณ์ การส่งกำลังบำรุงจากพื้นที่ยุโรปของรัสเซียมายังพื้นที่แมนจูเรียจะทำได้จำกัด ญี่ปุ่นจะต้องโจมตีทำลายกำลังของรัสเซียในแมนจูเรียให้ได้ ก่อนที่ระบบข่ายงานการส่งกำลังบำรุงของรัสเซียจะใช้งานได้อย่างเต็มที่ ในเรื่องการส่งกำลังบำรุงนี้ ฝ่ายญี่ปุ่นก็ตระหนักดีว่ามีปัญหาในทำนองเดียวกัน และมีแนวความคิดว่าจะไม่รุกคืบเข้าไปในแมนจูเรียลึกและเร็วเกินไป แม้จะเป็นฝ่ายได้เปรียบก็ตาม

และประการสุดท้ายที่ญี่ปุ่นมองว่าเป็นความได้เปรียบทางยุทธวิธี เนื่องจากกองทัพรัสเซียมีขนาดใหญ่เกินกว่าที่จะทำการรบในที่ราบของแมนจูเรียได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งกำลังพลก็ด้อยการฝึก และการสื่อสารก็ไม่ดี ทำให้ขาดความคล่องตัวในการดำเนินกลยุทธ์ ญี่ปุ่นจึงเชื่อว่าจะได้เปรียบจากการจัดกำลังรบให้มีขนาดย่อมลงและใช้ความคล่องตัวให้เป็นประโยชน์ พร้อมทั้งเน้นการฝึกกำลังพลให้พร้อมทำการรบในเวลากลางคืนอีกด้วย

แม้จะประเมินว่ามีความได้เปรียบต่าง ๆ ดังกล่าว ฝ่ายญี่ปุ่นเองก็ยังเห็นพ้องกันว่า คงไม่สามารถเอาชนะรัสเซียเด็ดขาดได้ เพียงแต่อาจสามารถยันเสมอหรือบรรลุความได้เปรียบเล็กน้อย จึงกำหนดเป้าหมายยุทธศาสตร์ให้มีการไกล่เกลี่ยในเงื่อนไข หกสิบ-สี่สิบ เป้าหมายนี้จะบรรลุได้ต่อเมื่อกองทัพญี่ปุ่นมีความได้เปรียบเหนือกว่ากองทัพรัสเซียในแมนจูเรีย ซึ่งเป็นเรื่องค่อนข้างยากเพราะกำลังสำรอง รวมทั้งอาวุธและกระสุนมีจำกัด

เหตุการณ์

 
ภาพวาดเรือรบรัสเซียส่องไฟและยิงปืนต่อต้านเรือรบญี่ปุ่น

เวลา 22.30 น. ของวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 1904 กองเรือญี่ปุ่นอันประกอบด้วยเรือตอร์ปิโด 10 ลำ ถูกพบโดยเรือประจัญบานของรัสเซีย กองเรือรัสเซียซึ่งรับคำสั่งที่จะไม่เปิดศึกได้เลือกที่จะรายงานไปยังศูนย์บัญชาการ จนกระทั่งเวลา 00.28 น. ของวันที่ 9 กุมภาพันธ์ เรือพิฆาต 4 ลำแรกของญี่ปุ่นได้เข้าหาพอร์ตอาเธอร์โดยไม่เป็นที่สังเกต และได้เปิดฉากโจมตีด้วยตอร์ปิโดไปยังเรือ พัลลาดา และ เร็ทวิซัน ในขณะที่เรือรบลำอื่นของญี่ปุ่นประสบความสำเร็จในการโจมตีน้อยมาก จากการที่ตอร์ปิโดจำนวนมากติดอยู่ในตาข่ายดักตอร์ปิโด ซึ่งกำลังเสริมของญี่ปุ่นนั้นมาสายเกินไปจนทำให้ทางฝ่ายรัสเซียเริ่มสามารถตั้งรับ และทำให้การโจมตีของญี่ปุ่นนั้นดูจะเป็นการโจมตีแบบเอกเทศแทนที่จะโจมตีแบบประสานงานกัน อย่างไรก็ตาม กองเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นก็สามารถทำให้เรือประจัญบานที่ใหญ่ที่สุดของรัสเซีย เทสซาเรวิช ได้รับความเสียหายจนไม่สามารถใช้ต่อสู้ได้ในเวลานั้น

เรือพิฆาตของญี่ปุ่น โอะโบะโระ ได้โจมตีครั้งสุดท้าย เมื่อเวลา 02.00 น. ซึ่งเป็นเวลาที่รัสเซียได้ตื่นตัวอย่างเต็มที่ และการส่องไฟพร้อมกับยิงปืนตอบโต้ที่แม่นยำของรัสเซียได้ปิดโอกาสในการโจมตีด้วยตอร์ปิโดของญี่ปุ่น

ผลลัพธ์

ถึงแม้ว่ากองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นได้ถูกรุกโดยการระดมยิงของเรือประจัญบานรัสเซียและการโจมตีจากชายฝั่ง แต่กระนั้นทางญี่ปุ่นก็ถือว่าเป็นชัยชนะเล็กน้อย ทหารรัสเซียได้รับบาดเจ็บประมาณ 150 นาย ในขณะที่ญี่ปุ่นได้รับบาดเจ็บราว 90 นาย หลังจากนั้นญี่ปุ่นมีการซ่อมแซมเรือและสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆในอู่ต่อเรือแห้งใน ซะเซะโบะ ในขณะที่กองทัพเรือรัสเซียมีความสามารถในการซ่อมแซมที่จำกัดในพอร์ตอาร์เธอร์

เป็นที่ชัดเจนว่า การลาดตระเวณของพลเรือโทชิเงะโตะนั้นเป็นที่ล้มเหลว จากการเข้าประชิดไม่เพียงพอ ในขณะที่พลเรือโทโทโงคัดค้านที่จะต่อสู้กับรัสเซียที่อยู่ภายใต้การโจมตีสนับสนุนจากชายฝั่ง

ข้อมูลเพิ่มเติม

  • สมาคมวิจัยสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น: ยุทธนาวีพอร์ตอาเธอร์
  • ประวัติศาสตร์สงครามของกองทัพเรือรัสเซีย

พิกัดภูมิศาสตร์: 38°46′48″N 121°15′28″E / 38.78005°N 121.25782°E / 38.78005; 121.25782

ทธนาว, พอร, ตอาเธอร, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, ทธนาว, พอร, ตอาเ. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir yuththnawiphxrtxaethxr yipun 旅順港海戦 旅順口海戦 eriywcungok ikhesng hrux 旅順港外海戦 eriywcungoking ikhesng epnkarrbknthangthaelemuxwnthi 8 9 kumphaphnth kh s 1904 rahwangfay ckrwrrdiyipun aela ckrwrrdirsesiy sungthuxepnkarepidchaksngkhramrsesiy yipun odykhunwnthi 8 kumphaphnth kxngthpheruxckrwrrdiyipunidepnfayocmtikxngeruxrsesiyaebbimthntngtw thinannakhxngphxrtxaethxr indinaednaemncueriy sungrsesiykalngechabriharcakckrwrrdiching epnphliheruxrbbangswnkhxngrsesiytxngxppanglngyuththnawiphxrtxaethxrepnswnhnungkhxng sngkhramrsesiy yipunphaphphimphaesdngkarocmtikxngeruxrsesiywnthi 8 9 kumphaphnth kh s 1904sthanthi nannathangtawnxxkkhxngphxrtxaethxrinaemncueriyphllphth yutikarrbkxn eruxrbkhxngrsesiythukthalaykhukhdaeyngckrwrrdiyipun ckrwrrdirsesiyphubychakarhruxphunaphl r th othong ehhachior phl r th chiengaota edawa phl r th xxskar starkkalng6 eruxpracyban 9 eruxladtraewnhnk 7 eruxpracyban 5 eruxladtraewnpxngknkalngphlsuyesiy90 nayesiychiwit 150 nayesiychiwit 4 eruxrbxppangbthkhwamniichrabbkhristskrach ephraaxangxingkhristskrachaelakhriststwrrs hruxxyangidxyanghnung enuxha 1 ebuxnghlng 1 1 yuththsastrkhxngyipun 2 ehtukarn 3 phllphth 4 khxmulephimetimebuxnghlng aekikhcakkarekhaiptktwngphlpraoychncakchatitawntkbndinaednkhxngcin kxihekidptikiriyatxtancakchawcinphurkchati cnekidkbtnkmwy inpi kh s 1900 cnmhaxanacthnghlayrwmthungxngkvs shrthxemrika frngess rsesiy aelayipun sngkalngekhaipchwyrksakhwamsngbinpkking cnehtukarnsngblng aetrsesiyklbimyxmthxnthharxxkcakaemncueriy aesdngectnaxyangchdaecngwacayudkhrxngaemncueriy phrxmthngyngesnxihyipunyinyxmihkhabsmuthrekahliepndinaednthiepnklang yipunptiesthkhxesnxdngklaw ephraamxngwacaepnkaryxmrbkarkhrxbkhrxngaemncueriykhxngrsesiyipodypriyayyipunpraeminwaimsamarthkhbilkalngkhxngrsesiyxxkcakaemncueriyid cungmiaenwkhidthicaybyngimihrsesiyrukkhubekhamainkhabsmuthrekahlidwywithikarthangkarthut aetkarecrcatxrxngkbrsesiyimprasbphlsaerc inpi kh s 1902 yipuncunghnipphukmitrkbxngkvsthimiphlpraoychnkhdaeyngkbkarkhyayxiththiphlkhxngrsesiyin exesiytawnxxk aelaerngkhyaykhidkhwamsamarththangthhar odyechphaakaresrimsrangkalngthangeruxpraephtheruxrbhlktamepahmay kxngerux 6 6 eruxpracyban 6 la eruxladtraewnhnk 6 la ephraamxngwarsesiykalngepnphykhukkhamthiyakcahlikeliyngidxiktxipyipuncungideluxkphxrtxaethxrepnepahmayaerkkhxngsngkhram odypraeminwacaepntxngthalaykxngeruxrsesiythiphxrtxaethxrihsinsak kxnthikalngthangeruxcakthaelbxltikkhxngrsesiyphayitbychakarkhxngphleruxtrisionwi orsedsthewnski caedinthangmasmthb sunghakthaidsaerckcasngphltxkarrbthangbkxyangihyhlwng thngyngepnekhruxngpraknkhwamplxdphykhxngesnthangkhnsnglaeliyngthangthaelthicachwyinkarsnbsnunkarsngkalngbarungaekkalngthangbkkhxngyipuninaemncueriydwy yuththsastrkhxngyipun aekikh emuxngphxrtxaethxrinpi kh s 1903 yipunmxngwaehtukarnkhwamimsngbphayinkhxngrsesiycakkhwamekhluxnihwkhxngklumptiwtitxtanrthbalckrphrrdinikhailthi 2 nnsngphlditxyipun aelayipunpraeminwarsesiycaimsamarthradmkalngmathiaemncueriyidxyangetmthi ephraatxngaebngkalngbangswniwinphunthiyuorp ephuxrbmuxkb ckrwrrdixxtotmn ckrwrrdieyxrmn aela ckrwrrdixxsetriy hngkari kalngrbthangbkcungnacamikalngiklekhiyngkn aeladwykalngrbthangthael yipunpraeminwatnexngmikhwamidepriybehnuxkxngeruxphakhphunaepsifikkhxngrsesiy enuxngcakkaresrimkalngthangeruxcakyuorptxngedinthangxxmaehlmkudohpaelacamipyhainkarsngkalngbarung ephraaemuxngthaswnihyepnxananikhmkhxngxngkvsthiepnphnthmitrkbyipun nxkcaknnkalngthangeruxinaepsifikexngyngaebngepn 2 phunthi khux thiphxrtxaethxr aelawladiwxstxkh yipuncungnacasamarthrwmkalngaelacdkarkbkalngthangeruxkhxngrsesiyinaetlaphunthiid xncathaihyipunsamarthkhwbkhumesnthangkhmnakhmthangthaelthimikhwamsakhyyingtxkarsngkalngbarungcakyipunipyngkxngthharinaemncueriyidxikxyangthiyipunmxngwaepnkhwamidepriyb khux thangrthifsaythrans isbieriykhxngrsesiyyngimesrcsmburn karsngkalngbarungcakphunthiyuorpkhxngrsesiymayngphunthiaemncueriycathaidcakd yipuncatxngocmtithalaykalngkhxngrsesiyinaemncueriyihid kxnthirabbkhayngankarsngkalngbarungkhxngrsesiycaichnganidxyangetmthi ineruxngkarsngkalngbarungni fayyipunktrahnkdiwamipyhainthanxngediywkn aelamiaenwkhwamkhidwacaimrukkhubekhaipinaemncueriylukaelaerwekinip aemcaepnfayidepriybktamaelaprakarsudthaythiyipunmxngwaepnkhwamidepriybthangyuththwithi enuxngcakkxngthphrsesiymikhnadihyekinkwathicathakarrbinthirabkhxngaemncueriyidxyangmiprasiththiphaph thngkalngphlkdxykarfuk aelakarsuxsarkimdi thaihkhadkhwamkhlxngtwinkardaeninklyuthth yipuncungechuxwacaidepriybcakkarcdkalngrbihmikhnadyxmlngaelaichkhwamkhlxngtwihepnpraoychn phrxmthngennkarfukkalngphlihphrxmthakarrbinewlaklangkhunxikdwyaemcapraeminwamikhwamidepriybtang dngklaw fayyipunexngkyngehnphxngknwa khngimsamarthexachnarsesiyeddkhadid ephiyngaetxacsamarthynesmxhruxbrrlukhwamidepriybelknxy cungkahndepahmayyuththsastrihmikariklekliyinenguxnikh hksib sisib epahmaynicabrrluidtxemuxkxngthphyipunmikhwamidepriybehnuxkwakxngthphrsesiyinaemncueriy sungepneruxngkhxnkhangyakephraakalngsarxng rwmthngxawuthaelakrasunmicakdehtukarn aekikh phaphwaderuxrbrsesiysxngifaelayingpuntxtaneruxrbyipun ewla 22 30 n khxngwnthi 8 kumphaphnth 1904 kxngeruxyipunxnprakxbdwyeruxtxrpiod 10 la thukphbodyeruxpracybankhxngrsesiy kxngeruxrsesiysungrbkhasngthicaimepidsukideluxkthicaraynganipyngsunybychakar cnkrathngewla 00 28 n khxngwnthi 9 kumphaphnth eruxphikhat 4 laaerkkhxngyipunidekhahaphxrtxaethxrodyimepnthisngekt aelaidepidchakocmtidwytxrpiodipyngerux phllada aela erthwisn inkhnathieruxrblaxunkhxngyipunprasbkhwamsaercinkarocmtinxymak cakkarthitxrpiodcanwnmaktidxyuintakhaydktxrpiod sungkalngesrimkhxngyipunnnmasayekinipcnthaihthangfayrsesiyerimsamarthtngrb aelathaihkarocmtikhxngyipunnnducaepnkarocmtiaebbexkethsaethnthicaocmtiaebbprasanngankn xyangirktam kxngeruxckrwrrdiyipunksamarththaiheruxpracybanthiihythisudkhxngrsesiy ethssaerwich idrbkhwamesiyhaycnimsamarthichtxsuidinewlanneruxphikhatkhxngyipun oxaobaora idocmtikhrngsudthay emuxewla 02 00 n sungepnewlathirsesiyidtuntwxyangetmthi aelakarsxngifphrxmkbyingpuntxbotthiaemnyakhxngrsesiyidpidoxkasinkarocmtidwytxrpiodkhxngyipunphllphth aekikhthungaemwakxngthpheruxckrwrrdiyipunidthukrukodykarradmyingkhxngeruxpracybanrsesiyaelakarocmticakchayfng aetkrannthangyipunkthuxwaepnchychnaelknxy thharrsesiyidrbbadecbpraman 150 nay inkhnathiyipunidrbbadecbraw 90 nay hlngcaknnyipunmikarsxmaesmeruxaelasingxanwykhwamsadwktanginxutxeruxaehngin saesaoba inkhnathikxngthpheruxrsesiymikhwamsamarthinkarsxmaesmthicakdinphxrtxarethxrepnthichdecnwa karladtraewnkhxngphleruxothchiengaotannepnthilmehlw cakkarekhaprachidimephiyngphx inkhnathiphleruxothothongkhdkhanthicatxsukbrsesiythixyuphayitkarocmtisnbsnuncakchayfngkhxmulephimetim aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb yuththnawithiphxrtxaethxrsmakhmwicysngkhramrsesiy yipun yuththnawiphxrtxaethxr prawtisastrsngkhramkhxngkxngthpheruxrsesiyphikdphumisastr 38 46 48 N 121 15 28 E 38 78005 N 121 25782 E 38 78005 121 25782 bthkhwamekiywkbprawtisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy prawtisastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title yuththnawithiphxrtxaethxr amp oldid 9489665, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม