fbpx
วิกิพีเดีย

ระบบหายใจ

ระบบทางเดินหายใจมีหน้าที่แลกเปลี่ยนก๊าซให้กับสิ่งมีชีวิต ในมนุษย์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมระบบทางเดินหายใจประกอบไปด้วย จมูกหลอดลม ปอด และกล้ามเนื้อระบบทางเดินหายใจ ออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์จะถูกแลกเปลี่ยนที่ปอดด้วยกระบวนการแพร่ โดยนำออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายและคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกาย

ระบบทางเดินหายใจของมนุษย์

สัตว์ประเภทอื่น ๆ เช่น แมลงมีระบบทางเดินหายใจที่คล้ายคลึงกับมนุษย์แต่มีลักษณะทางกายวิภาคที่ง่ายกว่า ในสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำผิวหนังของสัตว์ก็ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนก๊าซได้ด้วย พืชก็มีระบบทางเดินหายใจเช่นกัน แต่ทิศทางการแลกเปลี่ยนก๊าซเป็นไปในทางตรงกันข้ามกับสัตว์ ระบบแลกเปลี่ยนก๊าซของพืชประกอบไปด้วยรูเล็ก ๆ ใต้ใบที่เรียกว่าปากใบ

ระบบทางเดินหายใจแบ่งตามโครงสร้าง

  1. ระบบทางเดินหายใจส่วนบน (upper respiratory tract, URI) : ประกอบด้วยอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการหายใจเหนือกล่องเสียงขึ้นไป ได้แก่ จมูก, คอหอย เป็นต้น โรคที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินหายใจส่วนบนเช่น URI infection หรือการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนบน
  2. ระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง (lower respiratory tract, LRI) : ประกอบด้วย กะบังลม, หลอดลม, ซี่โครง และปอด

ระบบทางเดินหายใจแบ่งตามหน้าที่

  1. หลอดลมทำหน้าที่เป็นการลำเลียงอากาศ : มีหน้าที่นำอากาศจากภายนอกเข้าสู่ปอด เป็นทางผ่านเข้าออกของอากาศเท่านั้น ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนแก๊ส ได้แก่ จมูก, คอหอย, กล่องเสียง, หลอดคอ, หลอดลมใหญ่, หลอดลมฝอย และปลายหลอดลมฝอย
  2. หน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊ส : เป็นบริเวณที่แลกเปลี่ยนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สออกซิเจนกับเนื้อเยื่อ ได้แก่ หลอดลมฝอยแลกเปลี่ยนแก๊ส, ท่อลม, ถุงลม, ถุงลมเล็ก

กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจ

กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจของมนุษย์ เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่รอบผนังทรวงอก โดยเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของระบบทางเดินหายใจ เนื่องจากตามปกติแล้วปอดไม่ให้สามารถขยายขนาดเพื่อรับอากาศจากการหายใจได้เอง แต่จะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยแรงของกล้ามเนื้อเหล่านี้เพื่อขยายผนังของทรวงอกให้กว้างมากขึ้น และเกิดการลดลงของความดันภายในทรวงอกมากพอจนทำให้อากาศจากภายนอกไหลเข้าสู่ปอดได้ โครงสร้างหลักของผนังทรวงอกได้แก่

  1. ซี่โครง
  2. กล้ามเนื้อที่ยึดระหว่างซี่โครง (intercostal muscles) ซึ่งมี 3 ชั้นคือ ชั้นนอก (External) ชั้นใน (Internal) และชั้นในสุด (innermost)
  3. กล้ามเนื้อกะบังลม และปอด กับ ถุงลม
  4. เนื้อเยื่อที่ห่อหุ้มด้านในของผนังทรวงอก เรียกว่า เยื่อหุ้มปอด (Pleura) ซึ่งมีอยู่ 2 ชั้นคือ ชั้นนอก (Parietal pleura) และชั้นใน (Visceral pleura) กล้ามเนื้ออื่น ๆ ที่มีส่วนช่วยในกระบวนการหายใจ ได้แก่ กล้ามเนื้อท้อง กล้ามเนื้อรอบกระดูกหน้าอก กล้ามเนื้อบริเวณไหปลาร้าและต้นคอ (Sternocleidomastoid และ Scalenus)

กล้ามเนื้อยึดระหว่างซี่โครงชั้นนอก (External intercostal muscles) มีทั้งหมด 11 คู่ ซึ่งกล้ามเนื้อแต่ละมัด มีขอบเขตเริ่มจากบริเวณปุ่มกระดูกของซี่โครงจากทางด้านหลัง และสิ้นสุดที่รอยต่อระหว่างกระดูกซี่โครงกับกระดูกอ่อนของซี่โครงทางด้านหน้าโดยที่จุดสิ้นสุดส่วนที่เป็นเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อจะเปลี่ยนเป็นเยื่อหนา ๆ แทน ใยของกล้ามเนื้อมัดนี้จะมีลักษณะเฉียงจากทางด้านหลังมาด้านหน้า และจากบนลงล่าง โดยกล้ามเนื้อมีจุดยึดเกาะเริ่มต้นที่บริเวณขอบล่างของกระดูกซี่โครงชิ้นบน และเฉียงลงทางด้านหน้ามาเกาะยึดสิ้นสุดที่บริเวณขอบบนของกระดูกซี่โครงชั้นล่าง สำหรับกล้ามเนื้อมัดล่าง ๆ ของทรวงอก ซึ่งอยู่ติดกับผนังช่องท้อง กล้ามเนื้อนี้จะเชื่อมต่อเป็นเนื้อเดียวกับกล้ามเนื้อผนังช่องท้องชั้นนอก (External oblique) กล้ามเนื้อนี้จะทำงานโดยการหดตัวในระยะที่มีการหายใจเข้า

กล้ามเนื้อยึดระหว่างซี่โครงชั้นใน (Internal intercostal muscles) มีทั้งหมด 11 คู่เช่นกัน กล้ามเนื้อกลุ่มนี้อยู่ชั้นลึกใต้กล้ามเนื้อชั้นนอก และมีแนวกล้ามเนื้อตั้งฉากกับกล้ามเนื้อชั้นนอก โดยมีแนวการเกาะยึดจากร่องของกระดูกซี่โครงชิ้นบน เฉียงลงทางด้านหลังมาเกาะยึดอยู่ที่บริเวณขอบบนของกระดูกซี่โครงชิ้นล่าง

ระบบการหายใจของมนุษย์

มนุษย์ทุกคนต้องหายใจเพื่อมีชีวิตอยู่ โดยอากาศผ่านอวัยวะส่วนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

โดยความจุอากาศของปอดจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับ

  • เพศ
  • สภาพร่างกาย
  • อายุ
  • โรคที่เกิดกับปอด

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. https://ngthai.com/science/17617/respirstorysystem/
  2. https://meded.psu.ac.th/binla/class02/B4_311_241/Intro2Respiration/index.html
  3. http://www.bwc.ac.th/e-learning/virachai02/haijai.htm

ระบบหายใจ, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, ระบบทางเด, นหายใจม, หน, าท. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir rabbthangedinhayicmihnathiaelkepliynkasihkbsingmichiwit inmnusyaelastweliynglukdwynmrabbthangedinhayicprakxbipdwy cmukhlxdlm pxd aelaklamenuxrabbthangedinhayic xxksiecnaelakharbxnidxxkisdcathukaelkepliynthipxddwykrabwnkaraephr odynaxxksiecnekhasurangkayaelakharbxnidxxkisdxxkcakrangkay 1 2 rabbthangedinhayickhxngmnusy stwpraephthxun echn aemlngmirabbthangedinhayicthikhlaykhlungkbmnusyaetmilksnathangkaywiphakhthingaykwa instwkhrungbkkhrungnaphiwhnngkhxngstwkthahnathiaelkepliynkasiddwy phuchkmirabbthangedinhayicechnkn aetthisthangkaraelkepliynkasepnipinthangtrngknkhamkbstw rabbaelkepliynkaskhxngphuchprakxbipdwyruelk itibthieriykwapakib enuxha 1 rabbthangedinhayicaebngtamokhrngsrang 2 rabbthangedinhayicaebngtamhnathi 3 klamenuxthiichinkarhayic 4 rabbkarhayickhxngmnusy 5 duephim 6 xangxingrabbthangedinhayicaebngtamokhrngsrang aekikhrabbthangedinhayicswnbn upper respiratory tract URI prakxbdwyxwywathiekiywkhxngkbkarhayicehnuxklxngesiyngkhunip idaek cmuk khxhxy epntn orkhthiekiywkhxngkbrabbthangedinhayicswnbnechn URI infection hruxkartidechuxinrabbthangedinhayicswnbn rabbthangedinhayicswnlang lower respiratory tract LRI prakxbdwy kabnglm hlxdlm siokhrng aelapxdrabbthangedinhayicaebngtamhnathi aekikhhlxdlmthahnathiepnkarlaeliyngxakas mihnathinaxakascakphaynxkekhasupxd epnthangphanekhaxxkkhxngxakasethann immihnathiekiywkhxngkbkaraelkepliynaeks idaek cmuk khxhxy klxngesiyng hlxdkhx hlxdlmihy hlxdlmfxy aelaplayhlxdlmfxy hnathiaelkepliynaeks epnbriewnthiaelkepliynaekskharbxnidxxkisdaelaaeksxxksiecnkbenuxeyux idaek hlxdlmfxyaelkepliynaeks thxlm thunglm thunglmelkklamenuxthiichinkarhayic aekikhklamenuxthiichinkarhayickhxngmnusy epnklamenuxthixyurxbphnngthrwngxk odyepnswnprakxbthisakhykhxngrabbthangedinhayic enuxngcaktampktiaelwpxdimihsamarthkhyaykhnadephuxrbxakascakkarhayicidexng aetcaekidkhunidtxngxasyaerngkhxngklamenuxehlaniephuxkhyayphnngkhxngthrwngxkihkwangmakkhun aelaekidkarldlngkhxngkhwamdnphayinthrwngxkmakphxcnthaihxakascakphaynxkihlekhasupxdid okhrngsranghlkkhxngphnngthrwngxkidaek siokhrng klamenuxthiyudrahwangsiokhrng intercostal muscles sungmi 3 chnkhux chnnxk External chnin Internal aelachninsud innermost klamenuxkabnglm aelapxd kb thunglm enuxeyuxthihxhumdaninkhxngphnngthrwngxk eriykwa eyuxhumpxd Pleura sungmixyu 2 chnkhux chnnxk Parietal pleura aelachnin Visceral pleura klamenuxxun thimiswnchwyinkrabwnkarhayic idaek klamenuxthxng klamenuxrxbkradukhnaxk klamenuxbriewnihplaraaelatnkhx Sternocleidomastoid aela Scalenus klamenuxyudrahwangsiokhrngchnnxk External intercostal muscles mithnghmd 11 khu sungklamenuxaetlamd mikhxbekhterimcakbriewnpumkradukkhxngsiokhrngcakthangdanhlng aelasinsudthirxytxrahwangkraduksiokhrngkbkradukxxnkhxngsiokhrngthangdanhnaodythicudsinsudswnthiepnenuxeyuxklamenuxcaepliynepneyuxhna aethn iykhxngklamenuxmdnicamilksnaechiyngcakthangdanhlngmadanhna aelacakbnlnglang odyklamenuxmicudyudekaaerimtnthibriewnkhxblangkhxngkraduksiokhrngchinbn aelaechiynglngthangdanhnamaekaayudsinsudthibriewnkhxbbnkhxngkraduksiokhrngchnlang sahrbklamenuxmdlang khxngthrwngxk sungxyutidkbphnngchxngthxng klamenuxnicaechuxmtxepnenuxediywkbklamenuxphnngchxngthxngchnnxk External oblique klamenuxnicathanganodykarhdtwinrayathimikarhayicekhaklamenuxyudrahwangsiokhrngchnin Internal intercostal muscles mithnghmd 11 khuechnkn klamenuxklumnixyuchnlukitklamenuxchnnxk aelamiaenwklamenuxtngchakkbklamenuxchnnxk odymiaenwkarekaayudcakrxngkhxngkraduksiokhrngchinbn echiynglngthangdanhlngmaekaayudxyuthibriewnkhxbbnkhxngkraduksiokhrngchinlangrabbkarhayickhxngmnusy aekikhmnusythukkhntxnghayicephuxmichiwitxyu odyxakasphanxwywaswntang dngtxipni 3 cmuk hlxdkhx hlxdesiyng hlxdlm pxd eyuxhumpxdodykhwamcuxakaskhxngpxdcaaetktangknkhunxyukb ephs sphaphrangkay xayu orkhthiekidkbpxdduephim aekikhkarhayicxangxing aekikh https ngthai com science 17617 respirstorysystem https meded psu ac th binla class02 B4 311 241 Intro2Respiration index html http www bwc ac th e learning virachai02 haijai htm bthkhwamekiywkbkaywiphakhsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi okhrngkarwikikaywiphakhsastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title rabbhayic amp oldid 9032764, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม