fbpx
วิกิพีเดีย

ลิมิตของฟังก์ชัน

ในวิชาคณิตศาสตร์ ลิมิตของฟังก์ชัน เป็นแนวคิดพื้นฐานของ คณิตวิเคราะห์ (ภาคทฤษฎีของแคลคูลัส)

ถ้าเราพูดว่า ฟังก์ชัน f มีลิมิต L ที่จุด p หมายความว่า ผลลัพธ์ของ f จะเข้าใกล้ L ที่จุดใกล้จุด p สำหรับนิยามอย่างเป็นทางการนั้น มีการกำหนดขึ้นครั้งแรก ช่วงปลายของคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีรายละเอียดอยู่ข้างล่าง

ดูที่ ข่ายลำดับ (topology) สำหรับนัยทั่วไปของแนวคิดของลิมิต

ประวัติ

ดูที่ คณิตวิเคราะห์

นิยามเป็นทางการ

ฟังก์ชันบนปริภูมิอิงระยะทาง

กำหนดให้ f : (M,dM) -> (N,dN) เป็นการส่งค่าระหว่าง (เป็นฟังก์ชันที่นิยามบน) ปริภูมิอิงระยะทาง สองปริภูมิ, และกำหนดให้ pM และ LN, เราจะกล่าวว่า "ลิมิตของ f ที่ p คือ L" และเขียนว่า: ก็ต่อเมื่อ สำหรับทุกค่าของ ε > 0 จะมี δ > 0 ที่ สำหรับทุกๆ xM และ dM(x, p) < δ แล้ว, dN(f(x), L) < ε

ฟังก์ชันค่าจริง

เซตของจำนวนจริงหรือเส้นจำนวนจริง โดยทั่วไปสามารถมองเป็นปริภูมิอิงระยะทางได้ โดยมี  . เช่นเดียวกับ เส้นจำนวนจริงขยาย (เส้นจำนวนจริงที่เพิ่ม +∞ และ -∞ เข้าไปด้วย) ก็สามารถมองเป็นปริภูมิอิงระยะทางได้ โดยมี  

ลิมิตของฟังก์ชันค่าจริงที่จุดใดจุดหนึ่ง

ให้ f เป็นฟังก์ชันค่าจริง แล้วเราจะเขียน   ก็ต่อเมื่อ สำหรับทุกค่าของ ε > 0 (ไม่ว่าจะเล็กเท่าใด) จะต้องมี δ > 0 อย่างน้อยหนึ่งค่า ที่ สำหรับทุกค่าของจำนวนจริง x ที่ 0 < |x-p| < δ, |f(x)-L| < ε

ซึ่งเป็นกรณีพิเศษของฟังก์ชันบนปริภูมิอิงระยะทาง ที่มีทั้ง M และ N เป็นเซตของจำนวนจริง และ d(x,y) = |x-y|.

หรือเราจะเขียน   ก็ต่อเมื่อ สำหรับทุกค่าของ R > 0 (ไม่ว่าจะใหญ่เท่าใด) จะต้องมี δ > 0 อย่างน้อยหนึ่งค่า ที่ สำหรับทุกค่าของจำนวนจริง x ที่ 0 < |x-p| < δ, f(x) > R;

หรือจะเขียนว่า   ก็ต่อเมื่อ สำหรับทุกค่าของ R < 0 จะต้องมี δ > 0 อย่างน้อยหนึ่งค่า ที่ สำหรับทุกค่าของจำนวนจริง x ที่ 0 < |x-p| < δ, f(x) < R.

ถ้าในนิยาม เราใช้ x-p แทน |x-p| เราก็จะได้ ลิมิตขวา เขียนแทนโดย :  และถ้าใช้ p-x แทน ก็จะได้ ลิมิตซ้าย เขียนแทนโดย : 

ลิมิตของฟังก์ชันค่าจริง ณ อนันต์

 
จะมีลิมิตของฟังก์ชัน ณ อนันต์ ถ้า สำหรับ ε > 0 ใดๆ มี S > 0 อย่างน้อยหนึ่งค่า ที่ทำให้ |f(x)-L| < ε สำหรับ x > S ใดๆ

ให้ f(x) เป็นฟังก์ชันค่าจริง เราจะพิจารณาลิมิตของฟังก์ชันเมื่อ x เพิ่มขึ้น หรือลดลงอย่างไม่มีที่สิ้นสุด

เราจะเขียน

 

ฟังก์ชันค่าเชิงซ้อน

ระนาบเชิงซ้อน ที่มีตัววัด (metric) เป็น   จะเป็นปริภูมิอิงระยะทาง (metric space) ด้วยเช่นกัน จะมีลิมิตสองประเภทเมื่อเราพูดถึงฟังก์ชันค่าเชิงซ้อน

ลิมิตของฟังก์ชันที่จุดใดจุดหนึ่ง

สมมติให้ f เป็นฟังก์ชันค่าเชิงซ้อน แล้วเราจะเขียนว่า

 

ได้ ก็ต่อเมื่อ

สำหรับ ε > 0 ใดๆ จะมี δ >0 อย่างน้อย 1 ค่า ซึ่งสำหรับจำนวนจริง x ใดๆ ซึ่ง 0<|x-p|<δ จะได้ |f(x)-L|<ε

นี่เป็นกรณีพิเศษของฟังก์ชันบนปริภูมิอิงระยะทางที่มีทั้ง M และ N เป็นระนาบเชิงซ้อน

ลิมิตของฟังก์ชัน ณ อนันต์

เราจะเขียน

 

ได้ ก็ต่อเมื่อ

สำหรับ ε > 0 ใดๆ จะมี S >0 ซึ่งสำหรับจำนวนเชิงซ้อน |x|>S ใดๆ เราจะได้ |f(x)-L|<ε

ตัวอย่าง

ฟังก์ชันค่าจริง

  ลิมิตของ x2 เมื่อ x เข้าใกล้ 3 คือ 9 ในกรณีนี้ ฟังก์ชันนั้นต่อเนื่อง และค่าของมันมีนิยามที่จุดนั้น ค่าลิมิตจึงเท่ากับการแทนค่าฟังก์ชัน
  ลิมิตของ xx เมื่อ x เข้าใกล้ 0 จากทางขวาคือ 1
 
 
ลิมิตสองด้านของ 1/x เมื่อ x เข้าใกล้ 0 นั้นไม่มีนิยาม
ลิมิตของ 1/x เมื่อ x เข้าใกล้ 0 จากทางขวาคือ +∞
 
 
ลิมิตด้านเดียวของ |x|/x เมื่อ x เข้าใกล้ 0 คือ 1 จากด้านบวกและคือ -1 จากด้านลบ สังเกตว่า |x|/x = -1 เมื่อ x เป็นลบ และ |x|/x = 1 เมื่อ x เป็นบวก
  ลิมิตของ x sin(1/x) เมื่อ x เข้าใกล้ 0 คือ 0
  ฟังก์ชันยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นลบใดๆ เข้าใกล้ 0 เมื่อขนาดของ x เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อย่างไม่มีขอบเขตจำกัด
  ฟังก์ชันยกกำลังใดๆ จะมีขนาดลดลงเป็นศูนย์ เทียบกับฟังก์ชันเลขชี้กำลังเพิ่มใดๆ เมื่อ x เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อย่างไม่มีขอบเขตจำกัด
  ฟังก์ชันลอการิทึมใดๆ จะมีขนาดลดลงเป็นศูนย์ เทียบกับฟังก์ชันยกกำลังที่เป็นบวกใดๆ เมื่อ x เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อย่างไม่มีขอบเขตจำกัด
  ฟังก์ชันเลขชี้กำลังใดๆ จะมีขนาดลดลงเป็นศูนย์ เทียบกับฟังก์ชันแฟกทอเรียลใดๆ เมื่อ x เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อย่างไม่มีขอบเขตจำกัด

ฟังก์ชันบนปริภูมิอิงระยะทาง

  • ถ้า z เป็นจำนวนเชิงซ้อน โดยที่ |z| < 1 แล้วลำดับ z, z2, z3, ... ของจำนวนเชิงซ้อนจะลู่เข้าโดยมีลิมิตเป็น 0 โดยเรขาคณิตแล้ว จำนวนเหล่านี้จะ "เวียนเป็นก้นหอย" เข้าสู่จุดกำเนิด ตามเส้นก้นหอยลอการิทึม
  • ในปริภูมิอิงระยะทาง C[a,b] ของฟังก์ชันต่อเนื่องใดๆ ที่นิยามบนช่วง [a,b] โดยมีระยะทางเพิ่มขึ้นจาก Supremum norm สมาชิกทุกตัวสามารถเขียนในรูปของลิมิตของลำดับของ ฟังก์ชันพหุนาม ได้ นี่คือเนื้อหาของ ทฤษฎีบทสโตน-ไวแยร์สตราสส์ (Stone-Weierstrass theorem)

คุณสมบัติ

ประโยค "ลิมิตของฟังก์ชัน f ที่ p คือ L" เหมือนกับประโยค

"สำหรับลำดับลู่เข้า (xn) ใน M ซึ่งมีลิมิตเท่ากับ pลำดับ (f(xn)) ลู่เข้าสู่ลิมิต L"

ในกรณีที่ f เป็นฟังก์ชันค่าจริง จะได้ว่า ประโยคนั้นเหมือนกับ "ทั้งลิมิตซ้ายและลิมิตขวาของ f ที่ p คือ L"

ฟังก์ชัน f ต่อเนื่อง ที่ p ก็ต่อเมื่อ เราสามารถหาค่าของลิมิตของ f(x) เมื่อ x เข้าใกล้ p และค่านั้นเท่ากับ f(p) หรืออีกนัยหนึ่ง ฟังก์ชัน f แปลงลำดับใดๆ ใน M ซึ่งสู่เข้าหา p ไปเป็นลำดับ N ซึ่งลู่เข้าหา f(p)

[[[nl:Limiet#Limiet van een functie]]]

ตของฟ, งก, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, ดในว, ชาคณ, ตศาสตร, เป, นแนวค, ดพ, นฐานของ, คณ, ตว, เคราะห, ภาคทฤษฎ, ของแคลค, า. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudinwichakhnitsastr limitkhxngfngkchn epnaenwkhidphunthankhxng khnitwiekhraah phakhthvsdikhxngaekhlkhuls thaeraphudwa fngkchn f milimit L thicud p hmaykhwamwa phllphthkhxng f caekhaikl L thicudiklcud p sahrbniyamxyangepnthangkarnn mikarkahndkhunkhrngaerk chwngplaykhxngkhriststwrrsthi 19 miraylaexiydxyukhanglangduthi khayladb topology sahrbnythwipkhxngaenwkhidkhxnglimit enuxha 1 prawti 2 niyamepnthangkar 2 1 fngkchnbnpriphumixingrayathang 2 2 fngkchnkhacring 2 2 1 limitkhxngfngkchnkhacringthicudidcudhnung 2 2 2 limitkhxngfngkchnkhacring n xnnt 2 3 fngkchnkhaechingsxn 2 3 1 limitkhxngfngkchnthicudidcudhnung 2 3 2 limitkhxngfngkchn n xnnt 3 twxyang 3 1 fngkchnkhacring 3 2 fngkchnbnpriphumixingrayathang 3 3 khunsmbtiprawti aekikhduthi khnitwiekhraahniyamepnthangkar aekikhfngkchnbnpriphumixingrayathang aekikh kahndih f M dM gt N dN epnkarsngkharahwang epnfngkchnthiniyambn priphumixingrayathang sxngpriphumi aelakahndih p M aela L N eracaklawwa limitkhxng f thi p khux L aelaekhiynwa lim x p f x L textstyle lim x to p f x L ktxemux sahrbthukkhakhxng e gt 0 cami d gt 0 thi sahrbthuk x M aela dM x p lt d aelw dN f x L lt e fngkchnkhacring aekikh estkhxngcanwncringhruxesncanwncring odythwipsamarthmxngepnpriphumixingrayathangid odymi d x y x y displaystyle d x y x y echnediywkb esncanwncringkhyay esncanwncringthiephim aela ekhaipdwy ksamarthmxngepnpriphumixingrayathangid odymi d x y a r c t a n x a r c t a n y displaystyle d x y arctan x arctan y limitkhxngfngkchnkhacringthicudidcudhnung aekikh ih f epnfngkchnkhacring aelweracaekhiyn lim x p f x L displaystyle lim x to p f x L ktxemux sahrbthukkhakhxng e gt 0 imwacaelkethaid catxngmi d gt 0 xyangnxyhnungkha thi sahrbthukkhakhxngcanwncring x thi 0 lt x p lt d f x L lt esungepnkrniphiesskhxngfngkchnbnpriphumixingrayathang thimithng M aela N epnestkhxngcanwncring aela d x y x y hruxeracaekhiyn lim x p f x displaystyle lim x to p f x infty ktxemux sahrbthukkhakhxng R gt 0 imwacaihyethaid catxngmi d gt 0 xyangnxyhnungkha thi sahrbthukkhakhxngcanwncring x thi 0 lt x p lt d f x gt R hruxcaekhiynwa lim x p f x displaystyle lim x to p f x infty ktxemux sahrbthukkhakhxng R lt 0 catxngmi d gt 0 xyangnxyhnungkha thi sahrbthukkhakhxngcanwncring x thi 0 lt x p lt d f x lt R thainniyam eraich x p aethn x p erakcaid limitkhwa ekhiynaethnody lim x p displaystyle lim x to p aelathaich p x aethn kcaid limitsay ekhiynaethnody lim x p displaystyle lim x to p limitkhxngfngkchnkhacring n xnnt aekikh camilimitkhxngfngkchn n xnnt tha sahrb e gt 0 id mi S gt 0 xyangnxyhnungkha thithaih f x L lt e sahrb x gt S id ih f x epnfngkchnkhacring eracaphicarnalimitkhxngfngkchnemux x ephimkhun hruxldlngxyangimmithisinsuderacaekhiyn lim x f x L displaystyle lim x to infty f x L fngkchnkhaechingsxn aekikh ranabechingsxn thimitwwd metric epn d x y x y displaystyle d x y x y caepnpriphumixingrayathang metric space dwyechnkn camilimitsxngpraephthemuxeraphudthungfngkchnkhaechingsxn limitkhxngfngkchnthicudidcudhnung aekikh smmtiih f epnfngkchnkhaechingsxn aelweracaekhiynwa lim x p f x L displaystyle lim x to p f x L id ktxemux sahrb e gt 0 id cami d gt 0 xyangnxy 1 kha sungsahrbcanwncring x id sung 0 lt x p lt d caid f x L lt eniepnkrniphiesskhxngfngkchnbnpriphumixingrayathangthimithng M aela N epnranabechingsxn limitkhxngfngkchn n xnnt aekikh eracaekhiyn lim x f x L displaystyle lim x to infty f x L id ktxemux sahrb e gt 0 id cami S gt 0 sungsahrbcanwnechingsxn x gt S id eracaid f x L lt etwxyang aekikhfngkchnkhacring aekikh lim x 3 x 2 9 displaystyle lim x to 3 x 2 9 limitkhxng x2 emux x ekhaikl 3 khux 9 inkrnini fngkchnnntxenuxng aelakhakhxngmnminiyamthicudnn khalimitcungethakbkaraethnkhafngkchnlim x 0 x x 1 displaystyle lim x to 0 x x 1 limitkhxng xx emux x ekhaikl 0 cakthangkhwakhux 1lim x 0 1 x Undefined displaystyle lim x to 0 1 over x mbox Undefined lim x 0 1 x displaystyle lim x to 0 1 over x infty limitsxngdankhxng 1 x emux x ekhaikl 0 nnimminiyamlimitkhxng 1 x emux x ekhaikl 0 cakthangkhwakhux lim x 0 x x 1 displaystyle lim x to 0 x over x 1 lim x 0 x x 1 displaystyle lim x to 0 x over x 1 limitdanediywkhxng x x emux x ekhaikl 0 khux 1 cakdanbwkaelakhux 1 cakdanlb sngektwa x x 1 emux x epnlb aela x x 1 emux x epnbwklim x 0 x sin 1 x 1 displaystyle lim x to 0 x sin 1 over x 1 limitkhxng x sin 1 x emux x ekhaikl 0 khux 0lim x x a 0 if a R a gt 0 x C displaystyle lim x to infty x a 0 mbox if a in mathbb R a gt 0 x in mathbb C fngkchnykkalngthimielkhchikalngepnlbid ekhaikl 0 emuxkhnadkhxng x ephimkhuneruxy xyangimmikhxbekhtcakdlim x x a b x 0 if a b R b gt 0 displaystyle lim x to infty x a over b x 0 mbox if a b in mathbb R b gt 0 fngkchnykkalngid camikhnadldlngepnsuny ethiybkbfngkchnelkhchikalngephimid emux x ephimkhuneruxy xyangimmikhxbekhtcakdlim x log b x x a 0 if a b R a gt 0 b gt 0 displaystyle lim x to infty log b x over x a 0 mbox if a b in mathbb R a gt 0 b gt 0 fngkchnlxkarithumid camikhnadldlngepnsuny ethiybkbfngkchnykkalngthiepnbwkid emux x ephimkhuneruxy xyangimmikhxbekhtcakdlim x a x x 0 if a R displaystyle lim x to infty a x over x 0 mbox if a in mathbb R fngkchnelkhchikalngid camikhnadldlngepnsuny ethiybkbfngkchnaefkthxeriylid emux x ephimkhuneruxy xyangimmikhxbekhtcakdfngkchnbnpriphumixingrayathang aekikh tha z epncanwnechingsxn odythi z lt 1 aelwladb z z2 z3 khxngcanwnechingsxncaluekhaodymilimitepn 0 odyerkhakhnitaelw canwnehlanica ewiynepnknhxy ekhasucudkaenid tamesnknhxylxkarithum inpriphumixingrayathang C a b khxngfngkchntxenuxngid thiniyambnchwng a b odymirayathangephimkhuncak Supremum norm smachikthuktwsamarthekhiyninrupkhxnglimitkhxngladbkhxng fngkchnphhunam id nikhuxenuxhakhxng thvsdibthsotn iwaeyrstrass Stone Weierstrass theorem khunsmbti aekikh praoykh limitkhxngfngkchn f thi p khux L ehmuxnkbpraoykh sahrbladbluekha xn in M sungmilimitethakb pladb f xn luekhasulimit L inkrnithi f epnfngkchnkhacring caidwa praoykhnnehmuxnkb thnglimitsayaelalimitkhwakhxng f thi p khux L fngkchn f txenuxng thi p ktxemux erasamarthhakhakhxnglimitkhxng f x emux x ekhaikl p aelakhannethakb f p hruxxiknyhnung fngkchn f aeplngladbid in M sungsuekhaha p ipepnladb N sungluekhaha f p nl Limiet Limiet van een functie ekhathungcak https th wikipedia org w index php title limitkhxngfngkchn amp oldid 9348014, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม