fbpx
วิกิพีเดีย

วัตถุอาร์โรคอท

วัตถุอาร์โรคอท (อังกฤษ: Arrokoth) หรือ 486958 อาร์โรคอท (486958 Arrokoth) มีชื่อในระบบว่า 2014 MU69 เป็นวัตถุพ้นดาวเนปจูนในแถบไคเปอร์ วัตถุนี้มีลักษณะเป็นซากของดาวเคราะห์สองชิ้นที่เชื่อมติดกัน แบ่งเป็นซากดาวก้อนใหญ่ยาว 21 กม. และซากดาวก้อนเล็กยาว 15 กม. ทำให้มีเส้นผ่านศูนย์กลางตามแกนรวมกันอยู่ที่ 36 กม. ซากดาวก้อนใหญ่มีลักษณะแบนกว่าซากดาวก้อนเล็ก เมื่อยานนิวฮอไรซันส์เดินทางไปถึงวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2019 เมื่อ 05:33 น. ตามเวลา UTC มันจึงเป็นวัตถุอวกาศที่ไกลและเก่าแก่ที่สุดที่ยานอวกาศเดินทางไปถึง และได้รับชื่อเล่นว่า อัลติมา ทูเล (Ultima Thule) ในเวลาต่อมา

อาร์โรคอท
การค้นพบ
ค้นพบโดย:Marc William Buie
ยานนิวฮอไรซันส์
ค้นพบเมื่อ:14 มิถุนายน 2557
ชื่ออื่น ๆ:Ultima Thule (อัลติมา ทูเล)
ชนิดของดาวเคราะห์น้อย:วัตถุพ้นดาวเนปจูน
วัตถุในแถบไคเปอร์
ลักษณะของวงโคจร
ระยะจุดไกล
ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
46.442 หน่วยดาราศาสตร์
ระยะจุดใกล้
ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
42.721 หน่วยดาราศาสตร์
ความเยื้องศูนย์กลาง:0.04172
คาบดาราคติ:297.67 ปี
ลองจิจูด
ของจุดโหนดขึ้น
:
158.998°

ถูกค้นพบเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน ค.ศ. 2014 โดย มาร์ค บิว นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกัน และทีมงานผู้สร้างยานนิวฮอไรซันส์จากการใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสังเกตวัตถุในแถบไคเปอร์ของภารกิจยานนิวฮอไรซันส์ วัตถุอาร์โรคอทนี้มีคาบดาราคติ (ความเร็วในการโคจรรอบดวงอาทิตย์) 298 ปี จากการสำรวจของยานนิวฮอไรซันส์พบว่าวัตถุอาร์โรคอทนี้แบนกว่าที่คิดไว้ ซึ่งเดิมทีนักดาราศาสตร์คาดว่ามีลักษณะกลมคล้ายตุ๊กตาหิมะ ด้วยลักษณะที่มีโค้งเว้าตรงกลางและพื้นผิวที่เรียบนี้ทำให้นักวิทยาศาสตร์เข้าใจการเกิดดาวเคราะห์มากขึ้น โดยจากการสำรวจครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าดาวเคราะห์ไม่ได้เกิดจากการชนกันของอุกกาบาต แต่เกิดจากการค่อย ๆ เกาะกันของเศษฝุ่นขนาดเล็ก ซึ่งหักล้างความแนวคิดเดิมที่ว่าดาวเคราะห์เกิดจากการชนกันของอุกกาบาต

อ้างอิง

  1. "New Horizons Successfully Explores Ultima Thule". pluto.jhuapl.edu. Applied Physics Laboratory. 1 January 2019. จากแหล่งเดิมเมื่อ 1 January 2019. สืบค้นเมื่อ 1 January 2019.
  2. "About Arrokoth". pluto.jhuapl.edu. Applied Physics Laboratory. จากแหล่งเดิมเมื่อ 6 November 2019.
  3. Porter, S. B.; Bierson, C. J.; Umurhan, O.; Beyer, R. A.; Lauer, T. A.; Buie, M. W.; และคณะ (March 2019). A Contact Binary in the Kuiper Belt: The Shape and Pole of (486958) 2014 MU69 (PDF). 50th Lunar and Planetary Science Conference 2019. Lunar and Planetary Institute. Bibcode:2019LPI....50.1611P.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ยานนิวฮอไรซันส์ให้ข้อมูลใหม่ ปฏิวัติแนวคิดเรื่องการก่อตัวของดาวเคราะห์,BBC News, สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564
  • Far, Far Away in the Sky: New Horizons Kuiper Belt Flyby Object Officially Named 'Arrokoth', NASA, สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2564
  • Arrokoth (2014 MU69): Most Distant Object Explored Up Close at NASA Solar System Exploration
  • About Arrokoth (2014 MU69)
  • LORRI Images from the Arrokoth Flyby

ตถ, อาร, โรคอท, งกฤษ, arrokoth, หร, 486958, อาร, โรคอท, 486958, arrokoth, อในระบบว, 2014, mu69, เป, นว, ตถ, นดาวเนปจ, นในแถบไคเปอร, ตถ, กษณะเป, นซากของดาวเคราะห, สองช, นท, เช, อมต, ดก, แบ, งเป, นซากดาวก, อนใหญ, ยาว, กม, และซากดาวก, อนเล, กยาว, กม, ทำให, เส, นผ. wtthuxarorkhxth xngkvs Arrokoth hrux 486958 xarorkhxth 486958 Arrokoth michuxinrabbwa 2014 MU69 epnwtthuphndawenpcuninaethbikhepxr wtthunimilksnaepnsakkhxngdawekhraahsxngchinthiechuxmtidkn aebngepnsakdawkxnihyyaw 21 km aelasakdawkxnelkyaw 15 km thaihmiesnphansunyklangtamaeknrwmknxyuthi 36 km sakdawkxnihymilksnaaebnkwasakdawkxnelk emuxyanniwhxirsnsedinthangipthungwnthi 1 mkrakhm kh s 2019 emux 05 33 n tamewla UTC 1 2 3 mncungepnwtthuxwkasthiiklaelaekaaekthisudthiyanxwkasedinthangipthung aelaidrbchuxelnwa xltima thuel Ultima Thule inewlatxmaxarorkhxthkarkhnphbkhnphbody Marc William Buieyanniwhxirsnskhnphbemux 14 mithunayn 2557chuxxun Ultima Thule xltima thuel chnidkhxngdawekhraahnxy wtthuphndawenpcunwtthuinaethbikhepxrlksnakhxngwngokhcrrayacudikldwngxathitythisud 46 442 hnwydarasastrrayacudikldwngxathitythisud 42 721 hnwydarasastrkhwameyuxngsunyklang 0 04172khabdarakhti 297 67 pilxngcicudkhxngcudohndkhun 158 998 thukkhnphbemuxwnthi 26 mithunayn kh s 2014 ody markh biw nkdarasastrchawxemrikn aelathimnganphusrangyanniwhxirsnscakkarichklxngothrthrrsnxwkashbebilsungepnswnhnungkhxngkarsngektwtthuinaethbikhepxrkhxngpharkicyanniwhxirsns wtthuxarorkhxthnimikhabdarakhti khwamerwinkarokhcrrxbdwngxathity 298 pi cakkarsarwckhxngyanniwhxirsnsphbwawtthuxarorkhxthniaebnkwathikhidiw sungedimthinkdarasastrkhadwamilksnaklmkhlaytuktahima dwylksnathimiokhngewatrngklangaelaphunphiwthieriybnithaihnkwithyasastrekhaickarekiddawekhraahmakkhun odycakkarsarwckhrngniaesdngihehnwadawekhraahimidekidcakkarchnknkhxngxukkabat aetekidcakkarkhxy ekaaknkhxngessfunkhnadelk sunghklangkhwamaenwkhidedimthiwadawekhraahekidcakkarchnknkhxngxukkabatxangxing aekikh New Horizons Successfully Explores Ultima Thule pluto jhuapl edu Applied Physics Laboratory 1 January 2019 ekb cakaehlngedimemux 1 January 2019 subkhnemux 1 January 2019 About Arrokoth pluto jhuapl edu Applied Physics Laboratory ekb cakaehlngedimemux 6 November 2019 Porter S B Bierson C J Umurhan O Beyer R A Lauer T A Buie M W aelakhna March 2019 A Contact Binary in the Kuiper Belt The Shape and Pole of 486958 2014 MU69 PDF 50th Lunar and Planetary Science Conference 2019 Lunar and Planetary Institute Bibcode 2019LPI 50 1611P aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb wtthuxarorkhxthyanniwhxirsnsihkhxmulihm ptiwtiaenwkhideruxngkarkxtwkhxngdawekhraah BBC News subkhnemux 3 kumphaphnth ph s 2564 Far Far Away in the Sky New Horizons Kuiper Belt Flyby Object Officially Named Arrokoth NASA subkhnemux 3 kumphaphnth 2564 Arrokoth 2014 MU69 Most Distant Object Explored Up Close at NASA Solar System Exploration About Arrokoth 2014 MU69 LORRI Images from the Arrokoth Flybyekhathungcak https th wikipedia org w index php title wtthuxarorkhxth amp oldid 9268252, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม