fbpx
วิกิพีเดีย

วิธีการแปรค่า (กลศาสตร์ควอนตัม)

ในกลศาสตร์ควอนตัม วิธีการแปรค่า (Variational method) เป็นวิธีหนึ่งในการหาค่าประมาณของสถานะที่พลังงานต่ำสุดหรือสถานะพื้น (Ground state) และสถานะกระตุ้น (Excited state) บางสถานะได้ วิธีการนี้จะช่วยในการประมาณฟังก์ชันคลื่น ได้ เช่น ระดับพลังงานย่อยของโมเลกุล (Molecular orbitals) โดยพื้นฐานสำหรับวิธีการนี้คือ หลักการแปรค่า (Variational principle)

วิธีการนี้เป็นวิธีการที่รู้ฮาร์มิลโตเนียน H แต่ไม่รู้ค่าไอเกน E (Eigenvalue) และ ค่าสถานะไอเกน (Eigenfunction) จึงต้องมีการเดา “ฟังก์ชันคลื่นทดสอบ” (trial wavefunction) ที่ขึ้นกับพารามิเตอร์อย่างน้อย 1 ตัวหรือมากกว่าและหาค่าพารามิเตอร์เหล่านี้ซึ่งเป็นค่าคาดหวังของพลังงานที่ต่ำที่สุด ฟังก์ชันคลื่นที่ได้จากการกำหนดค่าพารามิเตอร์ให้เป็นค่าหนึ่ง ๆ คือการประมาณฟังก์ชันคลื่นของสถานะพื้น และค่าคาดหวังของพลังงานในสถานะนั้น คือ ขีดจำกัดบนของพลังงานในสถานะพื้น

คำอธิบาย

สมมติว่า ใน Hilbert space มีเอร์มิทเทียนโอเปอร์เรเตอร์ ที่เรียกว่า ฮาร์มิลโตเนียน (Hamiltonian) H ที่อธิบายถึงระบบที่ต้องการศึกษา และฟังก์ชันคลื่นที่สามารถนอร์มอลไลซ์ได้ (normalizable function) ใด ๆ ที่ขึ้นกับอาร์กิวเมนต์ที่เหมาะสมสำหรับฟังก์ชันคลื่นที่ไม่ทราบค่าของระบบ ตามสมการ

 

และมีค่าคาดหวัง (Expectation value) เป็น

 

เนื่องจากไม่ทราบฟังก์ชันคลื่น จึงต้องเดาฟังก์ชันคลื่นทดสอบ (trial wavefunction) ขึ้นมาแล้วคำนวณหาค่าคาดหวัง ซึ่งฟังก์ชันคลื่นทดสอบที่ถูกต้องจะได้ค่าคาดหวัง เป็นไปตามหลักการแปรค่าที่กล่าวว่า 

  •   เมื่อ   คือ พลังงานที่ต่ำที่สุดของสถานะไอเกน (สถานะพื้น) ของฮาร์มิลโตเนียน 
  •   ก็ต่อเมื่อ  เท่ากับฟังก์ชันคลื่นของสถานะพื้นของระบบที่ต้องการศึกษาอย่างแม่นตรง

หลักการแปรค่าที่กล่าวข้างบนเป็นพื้นฐานของวิธีการแปรค่าที่ใช้ในกลศาสตร์ควอนตัมและเคมีควอนตัม เพื่อหาค่าประมาณของสถานะพื้น

แน่นอนว่า ถ้าเราพยายามเดาค่าฟังก์ชันคลื่นที่เป็นไปได้ทั้งหมดเพื่อที่จะให้ได้ค่าคาดหวังของ H ที่มีค่าน้อยที่สุดแล้วนั้นค่าที่น้อยที่สุดควรเป็น   และสถานะที่มีความเกี่ยวข้องควรเป็นสถานะไอเกน (eigenstate) ของ   ซึ่งการเดาหรือปรับเปลี่ยนค่าไปเรื่อย ๆ ในพื้นที่ทั้งหมดของ Hilbert space จะซับซ้อนยุ่งยากเกินไปสำหรับการคำนวณ จึงมีการกำหนดตัวแปรขึ้นมา แทนด้วยตัวแปร   ใด ๆ เมื่อ i = 1,2,3,…,N และอาจเรียกฟังก์ชันทดสอบที่มีตัวแปร   นี้ว่า Ansatz โดยบาง Ansatz นำไปสู่การประมาณค่าที่ดีกว่าตัวอื่น ๆ ดังนั้นการเลือก Ansatz จึงเป็นสิ่งสำคัญ เมื่อให้ฟังก์ชันคลื่นเป็นฟังก์ชันของ    ตามสมการ

 

ซึ่ง   จะมีกี่ตัวขึ้นกับองศาเสรีของปัญหาที่พิจารณา

ทำการนอร์มอล์ไลซ์และหาค่า   ตามสมการข้างล่าง

 

 

โดยจะหาค่า    ที่ทำให้ได้ค่า   น้อยที่สุด จากการหาอนุพันธ์ของ   เทียบกับ   แล้วให้เท่ากับศูนย์ 

 

 เมื่อได้ค่า   ที่ทำให้ได้ค่า   น้อยที่สุดแล้ว จะสามารถหาฟังก์ชันคลื่นและพลังงานในสถานะพื้นที่ต้องการได้ โดยการแทนค่า   นี้กลับเข้าไปในสมการ (3) และ (4)

ความสำเร็จของวิธีการนี้ยังคงขึ้นอยู่กับการใช้ฟังก์ชันคลื่นทดสอบที่มีพารามิเตอร์   ที่ดี นี่เป็นเหตุผลที่เรียกวิธีนี้ว่า วิธีการแปรค่า: เราจะต้องปรับเปลี่ยนพารามิเตอร์   ใน Ansatz และหาพารามิเตอร์   ที่ทำให้   ลดลงจนเป็นค่าที่น้อยที่สุด ถ้า Ansatz เป็นสถานะที่ใกล้เคียงกับสถานะพื้นที่แท้จริงแล้ว   จะมีค่าต่ำที่สุด และถ้า Ansatz มีรูปแบบฟังก์ชันที่ถูกต้องแล้วมันก็จะนำไปสู่สถานะพื้นที่แม่นตรง

การแปรค, กลศาสตร, ควอนต, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, ในกลศาสตร, ค. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir inklsastrkhwxntm withikaraeprkha Variational method epnwithihnunginkarhakhapramankhxngsthanathiphlngngantasudhruxsthanaphun Ground state aelasthanakratun Excited state bangsthanaid withikarnicachwyinkarpramanfngkchnkhlun id echn radbphlngnganyxykhxngomelkul Molecular orbitals odyphunthansahrbwithikarnikhux hlkkaraeprkha Variational principle withikarniepnwithikarthiruharmiloteniyn H aetimrukhaixekn E Eigenvalue aela khasthanaixekn Eigenfunction cungtxngmikareda fngkchnkhlunthdsxb trial wavefunction thikhunkbpharamietxrxyangnxy 1 twhruxmakkwaaelahakhapharamietxrehlanisungepnkhakhadhwngkhxngphlngnganthitathisud fngkchnkhlunthiidcakkarkahndkhapharamietxrihepnkhahnung khuxkarpramanfngkchnkhlunkhxngsthanaphun aelakhakhadhwngkhxngphlngnganinsthanann khux khidcakdbnkhxngphlngnganinsthanaphunkhaxthibay aekikhsmmtiwa in Hilbert space miexrmithethiynoxepxreretxr thieriykwa harmiloteniyn Hamiltonian H thixthibaythungrabbthitxngkarsuksa aelafngkchnkhlunthisamarthnxrmxlilsid normalizable function id thikhunkbxarkiwemntthiehmaasmsahrbfngkchnkhlunthiimthrabkhakhxngrabb tamsmkarH ps E ps displaystyle hat H left psi right rangle E left psi right rangle aelamikhakhadhwng Expectation value epne ps ps H ps ps ps displaystyle varepsilon left psi right frac left langle psi hat H psi right rangle left langle psi mid psi right rangle enuxngcakimthrabfngkchnkhlun cungtxngedafngkchnkhlunthdsxb trial wavefunction khunmaaelwkhanwnhakhakhadhwng sungfngkchnkhlunthdsxbthithuktxngcaidkhakhadhwng epniptamhlkkaraeprkhathiklawwa e E 0 displaystyle varepsilon geq E 0 emux E 0 displaystyle E 0 khux phlngnganthitathisudkhxngsthanaixekn sthanaphun khxngharmiloteniyn e E 0 displaystyle varepsilon E 0 ktxemux ethakbfngkchnkhlunkhxngsthanaphunkhxngrabbthitxngkarsuksaxyangaemntrnghlkkaraeprkhathiklawkhangbnepnphunthankhxngwithikaraeprkhathiichinklsastrkhwxntmaelaekhmikhwxntm ephuxhakhapramankhxngsthanaphunaennxnwa thaeraphyayamedakhafngkchnkhlunthiepnipidthnghmdephuxthicaihidkhakhadhwngkhxng H thimikhanxythisudaelwnnkhathinxythisudkhwrepn E 0 displaystyle E 0 aelasthanathimikhwamekiywkhxngkhwrepnsthanaixekn eigenstate khxng E 0 displaystyle E 0 sungkaredahruxprbepliynkhaiperuxy inphunthithnghmdkhxng Hilbert space casbsxnyungyakekinipsahrbkarkhanwn cungmikarkahndtwaeprkhunma aethndwytwaepr a i displaystyle alpha i id emux i 1 2 3 N aelaxaceriykfngkchnthdsxbthimitwaepr a i displaystyle alpha i niwa Ansatz odybang Ansatz naipsukarpramankhathidikwatwxun dngnnkareluxk Ansatz cungepnsingsakhy emuxihfngkchnkhlunepnfngkchnkhxng a i displaystyle alpha i tamsmkar ps 0 ps 0 a 1 a 2 3 displaystyle left psi 0 right rangle left psi 0 alpha 1 alpha 2 right rangle 3 sung a i displaystyle alpha i camikitwkhunkbxngsaesrikhxngpyhathiphicarnathakarnxrmxlilsaelahakha E 0 displaystyle E 0 tamsmkarkhanglang ps a i ps a i 1 displaystyle left langle psi alpha i mid psi alpha i right rangle 1 e a i ps a i H ps a i 4 displaystyle varepsilon alpha i left langle psi alpha i H psi alpha i right rangle 4 odycahakha a i displaystyle alpha i thithaihidkha E 0 displaystyle E 0 nxythisud cakkarhaxnuphnthkhxng E 0 a 1 a 2 displaystyle E 0 alpha 1 alpha 2 ethiybkb a i displaystyle alpha i aelwihethakbsuny E 0 a 1 a 2 a 1 0 displaystyle frac partial E 0 alpha 1 alpha 2 partial alpha 1 0 emuxidkha a i displaystyle alpha i thithaihidkha E 0 displaystyle E 0 nxythisudaelw casamarthhafngkchnkhlunaelaphlngnganinsthanaphunthitxngkarid odykaraethnkha a i displaystyle alpha i niklbekhaipinsmkar 3 aela 4 khwamsaerckhxngwithikarniyngkhngkhunxyukbkarichfngkchnkhlunthdsxbthimipharamietxr a i displaystyle alpha i thidi niepnehtuphlthieriykwithiniwa withikaraeprkha eracatxngprbepliynpharamietxr a i displaystyle alpha i in Ansatz aelahapharamietxr a i displaystyle alpha i thithaih E 0 displaystyle E 0 ldlngcnepnkhathinxythisud tha Ansatz epnsthanathiiklekhiyngkbsthanaphunthiaethcringaelw E 0 displaystyle E 0 camikhatathisud aelatha Ansatz mirupaebbfngkchnthithuktxngaelwmnkcanaipsusthanaphunthiaemntrngekhathungcak https th wikipedia org w index php title withikaraeprkha klsastrkhwxntm amp oldid 9211676, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม