fbpx
วิกิพีเดีย

สรีรวิทยาระบบนิเวศ

สรีรวิทยาระบบนิเวศ (อังกฤษ: Ecophysiology; มาจากภาษากรีก οἶκος, oikos,"บ้าน"; φύσις, physis,"ธรรมชาติ กำเนิด" และ λογία, logia ความรู้) หรือ สรีรวิทยาสิ่งแวดล้อม เป็นหัวข้อทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพซึ่งจากการศึกษาการปรับตัวทางสรีรวิทยาของสิ่งมีชีวิตกับสภาวะของสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องกับสรีรวิทยาวิวัฒนาการและสรีรวิทยาเปรียบเทียบ

สรีรวิทยาระบบนิเวศของพืช

สรีรวิทยาระบบนิเวศของพืชเป็นวิทยาศาสตร์เชิงทดลองที่พยายามอธิบายกลไกทางสรีรวิทยาพื้นฐานภายใต้ขอบเขตของการสังเกตภายในระบบนิเวศ นักวิทยาศาสตร์ทางด้านสรีรวิทยาระบบนิเวศจะตอบคำถามเกี่ยวกับการควบคุมการเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ การอยู่รอด ความอุดมสมบูรณ์และการกระจายทางภูมิศาสตร์ของพืชในฐานะที่กระบวนการเหล่านี้ได้รับผลจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างพืชกับสภาวะแวดล้อมทางกายภาพ ชีวภาพ และสารเคมี รูปแบบทางสรีรวิทยาระบบนิเวศเหล่านี้ ช่วยให้เราเข้าใจความสำคัญและหน้าที่ของลักษณะเฉพาะของพืชและวิวัฒนาการ คำถามทางสรีรวิทยาระบบนิเวศจะได้มาจากการบูรณาการในระดับสูง เช่น "ระบบนิเวศ"ในความหมายที่กว้างที่สุดซึ่งรวมถึงเกษตรกรรม พืชสวน การป่าไม้ และวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม อย่างไรก็ตามคำอธิบายของสรีรวิทยาระบบนิเวศมักต้องการความเข้าใจกลไกในระดับล่างของการบูรณาการ (สรีรวิทยา ชีวเคมี ชีวฟิสิกส์ ชีววิทยาโมเลกุล) นอกจากนี้ปัญหาสังคมจำนวนมากที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร การเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อมหรือการอนุรักษ์ธรรมชาติจะได้รับประโยชน์จากมุมมองของสรีรวิทยาระบบนิเวศ สรีรวิทยาระบบนิเวศสมัยใหม่จึงต้องมีความเข้าใจที่ดีทั้งทางด้านกลไกระดับโมเลกุลและกระบวนการทำงานของพืชทั้งต้นในบริบทของสิ่งแวดล้อม

ในหลายกรณีสัตว์สามารถที่จะหลบหนีสภาพแวดล้อมต่างๆที่เปลี่ยนแปลงหรือไม่เหมาะสม เช่นความร้อน ภัยแล้ง ความหนาวเย็นหรือน้ำท่วมในขณะที่พืชไม่สามารถที่จะเคลื่อนย้ายออกไปดังนั้นจึงต้องอดทนต่อสภาพแวดล้อมไม่พึงประสงค์หรือหายนภัย พืชจึงมียีนที่ช่วยในการปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม สิ่งนี้เป็นสมมติฐานที่ยีนจำนวนมากมีความจำเป็นต่อพืชเพื่อปรับให้เข้ากับสภาวะที่เปลี่ยนแปลงไปได้ในระดับกว้าง

อุณหภูมิ

เพื่อตอบสนองต่ออุณหภูมิที่สุดขั้ว พืชสามารถผลิตโปรตีนหลายชนิดที่ปกป้องตัวเองจากผลกระทบของการเกิดน้ำแข็งและลดลงของการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์ที่อุณหภูมิต่ำและ การเพิ่มการเสียสภาพของเอนไซม์และการหายใจแสง (photorespiration) ที่อุณหภูมิสูง ขณะที่อุณหภูมิลดลง การผลิตโปรตีนแอนติฟรีซและดีไฮดรินเพิ่มขึ้น ขณะที่อุณหภูมิเพิ่มขึ้นพืชจะผลิตโปรตีน heat shock พืชยังสามารถปรับรูปร่างเพื่อให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในระยะยาว ตัวอย่างเช่นเพื่อป้องกันการเกิดน้ำแข็ง พืชจะสร้างผนังเซลล์ที่หนาและแข็งแรง (โดยเพิ่ม lignification) เพื่อให้น้ำแข็งที่เกิดขึ้นค้างอยู่ในระหว่างเซลล์ (ใน apoplast) และไม่ได้อยู่ในเซลล์ (ในไซโทพลาซึม) เยื่อหุ้มเซลล์ยังได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิและอาจทำให้เยื้อหุ้มเกิดการสูญเสียสภาพการเป็นของเหลวและกลายเป็นเจลในสภาพเย็นหรือรั่วในสภาพอากาศร้อน สิ่งนี้จะมีผลต่อการเคลื่อนไหวของสารผ่านเยื่อหุ้ม พืชป้องกันสถานการณืนี้โดยเพิ่มกรดไขมันไม่อิ่มตัวในองค์ประกอบของเยื่อหุ้มในสภาพอากาศหนาวเย็นมากขึ้น ส่วนในสภาพอากาศร้อนจะเพิ่มกรดไขมันอิ่มตัวเข้าไปในเยื่อหุ้ม

ลม

ลมแรงอาจมีผลต่อพืชโดยการถอนรากถอนโคนหรือทำลายใบ ตัวอย่างของการปรับตัวของพืชเพื่อป้องกันความเสียหายจากลม เช่น สร้างใบที่มี คิวติเคิลหนาและระบบรากขนาดใหญ่ เหตุผลหนึ่งที่ต้นไม้ผลัดใบในฤดูใบไม้ร่วงคือการลดพื้นที่ผิวและทำให้มีโอกาสสัมผัสกับลมน้อยลง

น้ำ

การมีน้ำมากเกินไปหรือน้อยเกินไปสามารถทำลายพืชได้ ถ้ามีน้ำน้อยเกินไปเนื้อเยื่อจะคายน้ำและพืชอาจจะตาย ถ้าดินนั้นถูกน้ำท่วมขัง ดินจะขาดอากาศ สามารถฆ่ารากได้ หากเนื้อเยื่อสูญเสียน้ำมาก พืชจะสร้างกรดแอบไซซิก เพื่อปิดปากใบปิด ลดการสูญเสียน้ำและยังช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของรากเพื่อเพิ่มปริมาณน้ำ ข้าวโพดและข้าวสามารถผลิตแอเรนไคมา ซึ่งเป็นช่องกลวงในเนื้อเยื่อทำให้อากาศเข้าได้

ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์

 
The Keeling Curve ของความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศที่วัดที่ Mauna Loa Observatory

ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ ในบรรยากาศจะเพิ่มขึ้นเนื่องจากการตัดไม้ทำลายป่าและการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล พืชใช้คาร์บอนไดออกไซด์ เป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์ด้วยแสงเคยคิดว่าอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงเพิ่มขึ้นเมื่อความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้น และนำไปสู่การเจริญเติบโตเพิ่มขึ้น การศึกษาการใช้เพิ่มความเข้มข้นในสภาวะไม่มีอากาศ พบว่าผลผลิตพืชเพิ่มขึ้นเพียง 8%. การศึกษาชิ้นงานใน ตัวอย่างพืชแห้งได้แสดงให้เห็นว่าจำนวนของปากใบบนใบลดลงในช่วง 150 ปีที่ผ่านมาซึ่งมีความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้น ปากใบทำให้คาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่ใบ แต่จะปล่อยน้ำออกในเวลาเดียวกัน พืชจึงต้องเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ โดยมีปากใบน้อยลง ระดับของไนโตรเจนลดลงเมื่อพืชปลูกที่ที่มีคาร์บอนไดออกไซด์ สูง เนื่องจากพืชต้องการ rubisco น้อยกว่าในการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์จำนวนเท่าเดิม ระดับของจุลธาตุอื่น ๆ ลดลงเช่นกันซึ่งอาจมีผลในด้านโภชนาการของมนุษย์ในอนาคต

สรีรวิทยาระบบนิเวศของสัตว์

George A. Bartholomew (1919-2006) เป็นผู้ก่อตั้งสรีรวิทยาระบบนิเวศของสัตว์ เขาทำหน้าที่ในคณะที่ UCLA จากปี 1947 - 1989 Knut Schmidt - Nielsen (1915-2007) ยังเป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญในวิทยาศาสตร์สาขานี้รวมทั้งสรีรวิทยาเปรียบเทียบ

Hermann Rahn (1912-1990) เป็นผู้นำระดับเริ่มแรกในด้านสรีรวิทยาสิ่งแวดล้อม สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกสาขาสัตววิทยาจากมหาวิทยาลัยโรเชสเตอร์ (1933) Rahn เริ่มสอนสรีรวิทยาที่มหาวิทยาลัยโรเชสเตอร์ในปี 1941 เขาร่วมมือกับ Wallace O. Fenn เผยแพร่ผลงานเรื่องการวิเคราะห์ทางภาพของการแลกเปลี่ยนก๊าซในระบบทางเดินหายใจในปี 1955 บทความนี้รวมแผนภาพของ O2-CO2 และเป็นพื้นฐานของงานในอนาคตของ Rahn งานวิจัยของ Rahn นำแผนภาพที่ได้นี้ไปพัฒนาการแพทย์ด้านการบินและความก้าวหน้าในการหายใจที่ระดับความสูง Rahn เข้าร่วมงานกับ University at Buffalo ในปี 1956 และได้เป็นหัวหน้าภาควิชาสรีรวิทยาซึ่งเขาได้พัฒนาศูนย์การวิจัยระดับนานาชาติในด้านสรีรวิทยาสิ่งแวดล้อม

ดูเพิ่ม

  • Bennett, A. F. (2005). "The academic genealogy of George A. Bartholomew". Integrative and Comparative Biology. 45 (2): 231–233. doi:10.1093/icb/45.2.231. ISSN 1540-7063. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  • Bradshaw, Sidney Donald (2003). Vertebrate ecophysiology: an introduction to its principles and applications. Cambridge, U.K.: Cambridge University Press. p. xi + 287 pp. ISBN 0-521-81797-8.
  • Calow, P. (1987). Evolutionary physiological ecology. Cambridge: Cambridge University Press. p. 239 pp. ISBN 0-521-32058-5.
  • Karasov, W. H. (2007). Physiological ecology: how animals process energy, nutrients, and toxins. Princeton, NJ: Princeton University Press. p. xv + 741 pp. ISBN 978-0-691-07453-5. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  • Lambers, H. (1998). Plant physiological ecology. New York: Springer-Verlag. ISBN 0-387-98326-0.
  • Larcher, W. (2001). Physiological plant ecology (4th ed.). Springer. ISBN 3-540-43516-6.
  • McNab, B. K. (2002). The physiological ecology of vertebrates: a view from energetics. Ithaca and London: Comstock Publishing Associates. xxvii + 576 pp. ISBN 0-8014-3913-2.
  • Sibly, R. M. (1986). Physiological ecology of animals: an evolutionary approach. Oxford: Blackwell Scientific Publications. p. 179 pp. ISBN 0-632-01494-6. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  • Spicer, J. I., and K. J. Gaston. 1999. Physiological diversity and its ecological implications. Blackwell Science, Oxford, U.K. x + 241 pp.
  • Tracy, C. R. (1982). "What is physiological ecology?". Bulletin of the Ecological Society of America (Bull. Ecol. Soc. Am.). 63: 340–347. ISSN 0012-9623. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help). Definitions and Opinions by: G. A. Bartholomew, A. F. Bennett, W. D. Billings, B. F. Chabot, D. M. Gates, B. Heinrich, R. B. Huey, D. H. Janzen, J. R. King, P. A. McClure, B. K. McNab, P. C. Miller, P. S. Nobel, B. R. Strain.

อ้างอิง

  1. Ainsworth, Elizabeth (February 2005). "What Have We Learned from 15 Years of Free-Air [[:แม่แบบ:CO2]] Enrichment (FACE)?". New Phythologist. 165 (2): 351–371. doi:10.1111/j.1469-8137.2004.01224.x. PMID 15720649. สืบค้นเมื่อ 07/05/2009. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help); Check date values in: |accessdate= (help); URL–wikilink conflict (help)
  2. http://www.jstor.org/stable/2558897?cookieSet=1 F. Woodward and C. Kelly New Phytologist 1995 Vol 131 pages 311-327 The influence of แม่แบบ:CO2 concentration on stomatal density
  3. http://arjournals.annualreviews.org/doi/full/10.1146/annurev.arplant.48.1.609?amp;searchHistoryKey=%24{searchHistoryKey}Annual Review of Plant Physiology and Plant Molecular Biology Vol. 48: 609-639 June 1997 (doi:10.1146/annurev.arplant.48.1.609) MORE EFFICIENT PLANTS: A Consequence of Rising Atmospheric แม่แบบ:CO2?
  4. Irakli Loladze Trends in Ecology & Evolution Volume 17, Issue 10, 1 October 2002, Pages 457-461 Rising atmospheric แม่แบบ:CO2 and human nutrition: toward globally imbalanced plant stoichiometry? doi:10.1016/S0169-5347(02)02587-9
  5. BartGen Tree

สร, รว, ทยาระบบน, เวศ, งกฤษ, ecophysiology, มาจากภาษากร, οἶκος, oikos, าน, φύσις, physis, ธรรมชาต, กำเน, และ, λογία, logia, ความร, หร, สร, รว, ทยาส, งแวดล, อม, เป, นห, วข, อทางว, ทยาศาสตร, วภาพซ, งจากการศ, กษาการปร, บต, วทางสร, รว, ทยาของส, งม, ตก, บสภาวะของส,. srirwithyarabbniews xngkvs Ecophysiology macakphasakrik oἶkos oikos ban fysis physis thrrmchati kaenid aela logia logia khwamru hrux srirwithyasingaewdlxm epnhwkhxthangwithyasastrchiwphaphsungcakkarsuksakarprbtwthangsrirwithyakhxngsingmichiwitkbsphawakhxngsingaewdlxm mikhwamekiywkhxngkbsrirwithyawiwthnakaraelasrirwithyaepriybethiyb enuxha 1 srirwithyarabbniewskhxngphuch 1 1 xunhphumi 1 2 lm 1 3 na 1 4 khwamekhmkhnkhxngkharbxnidxxkisd 2 srirwithyarabbniewskhxngstw 3 duephim 4 xangxingsrirwithyarabbniewskhxngphuch aekikhsrirwithyarabbniewskhxngphuchepnwithyasastrechingthdlxngthiphyayamxthibayklikthangsrirwithyaphunthanphayitkhxbekhtkhxngkarsngektphayinrabbniews nkwithyasastrthangdansrirwithyarabbniewscatxbkhathamekiywkbkarkhwbkhumkarecriyetibot karsubphnthu karxyurxd khwamxudmsmburnaelakarkracaythangphumisastrkhxngphuchinthanathikrabwnkarehlaniidrbphlcakptismphnthrahwangphuchkbsphawaaewdlxmthangkayphaph chiwphaph aelasarekhmi rupaebbthangsrirwithyarabbniewsehlani chwyiheraekhaickhwamsakhyaelahnathikhxnglksnaechphaakhxngphuchaelawiwthnakar khathamthangsrirwithyarabbniewscaidmacakkarburnakarinradbsung echn rabbniews inkhwamhmaythikwangthisudsungrwmthungekstrkrrm phuchswn karpaim aelawithyasastrsingaewdlxm xyangirktamkhaxthibaykhxngsrirwithyarabbniewsmktxngkarkhwamekhaicklikinradblangkhxngkarburnakar srirwithya chiwekhmi chiwfisiks chiwwithyaomelkul nxkcaknipyhasngkhmcanwnmakthiekiywkhxngkbkarekstr karepliynaeplngdansingaewdlxmhruxkarxnurksthrrmchaticaidrbpraoychncakmummxngkhxngsrirwithyarabbniews srirwithyarabbniewssmyihmcungtxngmikhwamekhaicthidithngthangdanklikradbomelkulaelakrabwnkarthangankhxngphuchthngtninbribthkhxngsingaewdlxminhlaykrnistwsamarththicahlbhnisphaphaewdlxmtangthiepliynaeplnghruximehmaasm echnkhwamrxn phyaelng khwamhnaweynhruxnathwminkhnathiphuchimsamarththicaekhluxnyayxxkipdngnncungtxngxdthntxsphaphaewdlxmimphungprasngkhhruxhaynphy phuchcungmiyinthichwyinkarprbtwekhakbkarepliynaeplngsphaphaewdlxm singniepnsmmtithanthiyincanwnmakmikhwamcaepntxphuchephuxprbihekhakbsphawathiepliynaeplngipidinradbkwang xunhphumi aekikh ephuxtxbsnxngtxxunhphumithisudkhw phuchsamarthphlitoprtinhlaychnidthipkpxngtwexngcakphlkrathbkhxngkarekidnaaekhngaelaldlngkhxngkarerngptikiriyakhxngexnismthixunhphumitaaela karephimkaresiysphaphkhxngexnismaelakarhayicaesng photorespiration thixunhphumisung khnathixunhphumildlng karphlitoprtinaexntifrisaeladiihdrinephimkhun khnathixunhphumiephimkhunphuchcaphlitoprtin heat shock phuchyngsamarthprbruprangephuxihekhakbkarepliynaeplngkhxngxunhphumiinrayayaw twxyangechnephuxpxngknkarekidnaaekhng phuchcasrangphnngesllthihnaaelaaekhngaerng odyephim lignification ephuxihnaaekhngthiekidkhunkhangxyuinrahwangesll in apoplast aelaimidxyuinesll inisothphlasum eyuxhumesllyngidrbphlkrathbcakkarepliynaeplngkhxngxunhphumiaelaxacthaiheyuxhumekidkarsuyesiysphaphkarepnkhxngehlwaelaklayepneclinsphapheynhruxrwinsphaphxakasrxn singnicamiphltxkarekhluxnihwkhxngsarphaneyuxhum phuchpxngknsthankarnuniodyephimkrdikhmnimximtwinxngkhprakxbkhxngeyuxhuminsphaphxakashnaweynmakkhun swninsphaphxakasrxncaephimkrdikhmnximtwekhaipineyuxhum lm aekikh lmaerngxacmiphltxphuchodykarthxnrakthxnokhnhruxthalayib twxyangkhxngkarprbtwkhxngphuchephuxpxngknkhwamesiyhaycaklm echn srangibthimi khiwtiekhilhnaaelarabbrakkhnadihy ehtuphlhnungthitnimphldibinvduibimrwngkhuxkarldphunthiphiwaelathaihmioxkassmphskblmnxylng na aekikh karminamakekiniphruxnxyekinipsamarththalayphuchid thaminanxyekinipenuxeyuxcakhaynaaelaphuchxaccatay thadinnnthuknathwmkhng dincakhadxakas samarthkharakid hakenuxeyuxsuyesiynamak phuchcasrangkrdaexbissik ephuxpidpakibpid ldkarsuyesiynaaelayngchwykratunkarecriyetibotkhxngrakephuxephimprimanna khawophdaelakhawsamarthphlitaexernikhma sungepnchxngklwnginenuxeyuxthaihxakasekhaid khwamekhmkhnkhxngkharbxnidxxkisd aekikh The Keeling Curve khxngkhwamekhmkhnkhxngkharbxnidxxkisdinxakasthiwdthi Mauna Loa Observatory khwamekhmkhnkhxngkharbxnidxxkisd inbrryakascaephimkhunenuxngcakkartdimthalaypaaelakarephaihmechuxephlingfxssil phuchichkharbxnidxxkisd epnsartngtninkarsngekhraahdwyaesngekhykhidwaxtrakarsngekhraahdwyaesngephimkhunemuxkhwamekhmkhnkhxngkharbxnidxxkisdephimkhun aelanaipsukarecriyetibotephimkhun karsuksakarichephimkhwamekhmkhninsphawaimmixakas phbwaphlphlitphuchephimkhunephiyng 8 1 karsuksachinnganin twxyangphuchaehngidaesdngihehnwacanwnkhxngpakibbnibldlnginchwng 150 pithiphanmasungmikhwamekhmkhnkhxngkharbxnidxxkisdephimkhun 2 pakibthaihkharbxnidxxkisdekhasuib aetcaplxynaxxkinewlaediywkn phuchcungtxngephimkhwamekhmkhnkhxngkharbxnidxxkisd odymipakibnxylng 3 radbkhxnginotrecnldlngemuxphuchplukthithimikharbxnidxxkisd sung enuxngcakphuchtxngkar rubisco nxykwainkartrungkharbxnidxxkisdcanwnethaedim radbkhxngculthatuxun ldlngechnknsungxacmiphlindanophchnakarkhxngmnusyinxnakht 4 srirwithyarabbniewskhxngstw aekikhGeorge A Bartholomew 1919 2006 epnphukxtngsrirwithyarabbniewskhxngstw ekhathahnathiinkhnathi UCLA cakpi 1947 1989 5 Knut Schmidt Nielsen 1915 2007 yngepnphuihkhxmulsakhyinwithyasastrsakhanirwmthngsrirwithyaepriybethiybHermann Rahn 1912 1990 epnphunaradberimaerkindansrirwithyasingaewdlxm saerckarsuksaradbpriyyaexksakhastwwithyacakmhawithyalyorechsetxr 1933 Rahn erimsxnsrirwithyathimhawithyalyorechsetxrinpi 1941 ekharwmmuxkb Wallace O Fenn ephyaephrphlnganeruxngkarwiekhraahthangphaphkhxngkaraelkepliynkasinrabbthangedinhayicinpi 1955 bthkhwamnirwmaephnphaphkhxng O2 CO2 aelaepnphunthankhxngnganinxnakhtkhxng Rahn nganwicykhxng Rahn naaephnphaphthiidniipphthnakaraephthydankarbinaelakhwamkawhnainkarhayicthiradbkhwamsung Rahn ekharwmngankb University at Buffalo inpi 1956 aelaidepnhwhnaphakhwichasrirwithyasungekhaidphthnasunykarwicyradbnanachatiindansrirwithyasingaewdlxmduephim aekikhBennett A F 2005 The academic genealogy of George A Bartholomew Integrative and Comparative Biology 45 2 231 233 doi 10 1093 icb 45 2 231 ISSN 1540 7063 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help Bradshaw Sidney Donald 2003 Vertebrate ecophysiology an introduction to its principles and applications Cambridge U K Cambridge University Press p xi 287 pp ISBN 0 521 81797 8 Calow P 1987 Evolutionary physiological ecology Cambridge Cambridge University Press p 239 pp ISBN 0 521 32058 5 Karasov W H 2007 Physiological ecology how animals process energy nutrients and toxins Princeton NJ Princeton University Press p xv 741 pp ISBN 978 0 691 07453 5 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help Lambers H 1998 Plant physiological ecology New York Springer Verlag ISBN 0 387 98326 0 Larcher W 2001 Physiological plant ecology 4th ed Springer ISBN 3 540 43516 6 McNab B K 2002 The physiological ecology of vertebrates a view from energetics Ithaca and London Comstock Publishing Associates xxvii 576 pp ISBN 0 8014 3913 2 Sibly R M 1986 Physiological ecology of animals an evolutionary approach Oxford Blackwell Scientific Publications p 179 pp ISBN 0 632 01494 6 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help Spicer J I and K J Gaston 1999 Physiological diversity and its ecological implications Blackwell Science Oxford U K x 241 pp Tracy C R 1982 What is physiological ecology Bulletin of the Ecological Society of America Bull Ecol Soc Am 63 340 347 ISSN 0012 9623 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help Definitions and Opinions by G A Bartholomew A F Bennett W D Billings B F Chabot D M Gates B Heinrich R B Huey D H Janzen J R King P A McClure B K McNab P C Miller P S Nobel B R Strain xangxing aekikh Ainsworth Elizabeth February 2005 What Have We Learned from 15 Years of Free Air aemaebb CO2 Enrichment FACE New Phythologist 165 2 351 371 doi 10 1111 j 1469 8137 2004 01224 x PMID 15720649 subkhnemux 07 05 2009 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help Check date values in accessdate help URL wikilink conflict help http www jstor org stable 2558897 cookieSet 1 F Woodward and C Kelly New Phytologist 1995 Vol 131 pages 311 327 The influence of aemaebb CO2 concentration on stomatal density http arjournals annualreviews org doi full 10 1146 annurev arplant 48 1 609 amp searchHistoryKey 24 searchHistoryKey Annual Review of Plant Physiology and Plant Molecular Biology Vol 48 609 639 June 1997 doi 10 1146 annurev arplant 48 1 609 MORE EFFICIENT PLANTS A Consequence of Rising Atmospheric aemaebb CO2 Irakli Loladze Trends in Ecology amp Evolution Volume 17 Issue 10 1 October 2002 Pages 457 461 Rising atmospheric aemaebb CO2 and human nutrition toward globally imbalanced plant stoichiometry doi 10 1016 S0169 5347 02 02587 9 BartGen Treeekhathungcak https th wikipedia org w index php title srirwithyarabbniews amp oldid 7907825, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม