fbpx
วิกิพีเดีย

สัทธรรมปุณฑรีกสูตร

สัทธรรมปุณฑริกสูตร (สันสกฤต: सद्धर्मपुण्डरीकसूत्र, Saddharma Puṇḍarīka Sūtra) เป็นพระสูตรที่สำคัญในพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาในพุทธศาสนิกชนมหายานโดยเฉพาะในประเทศเอเชียตะวันออก เป็นสัทธรรมที่พระพุทธเจ้าเทศนาในช่วง 8 ปีสุดท้ายก่อนปรินิพพาน

สัทธรรมปุณฑรีกสูตร ฉบับอักษรฮันจา (อักษรจีนที่ใช้ในประเทศเกาหลี) สมัยราชวงศ์โครยอ เขียนขึ้นราว ค.ศ. 1340

สมัยแห่งการบันทึกพระสูตรเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นครั้งแรกนั้นไม่มีมติที่แน่นอน ซึ่งการค้นพบต้นฉบับของสัทธรรมปุณฑริกสูตรในหลายสถานที่จากหลากหลายภูมิภาค สัทธรรมปุณฑริกสูตรมีการแปลเป็นหลายภาษา และมีการคัดลอกต้นฉบับตลอดช่วงเวลาอันยาวนาน อันเป็นข้อพิสูจน์ว่าสัทธรรมปุณฑริกสูตรเป็นที่เคารพบูชาของประชาชนจำนวนมากในหลากหลายเชื้อชาติ โดยมีการค้นพบต้นฉบับภาษาต่าง ๆ อันได้แก่ สันสกฤต บาลี คานธารี โขตาน ซากา โตคาเรียน ซอกเดีย อุยกูร์เก่า ทิเบต จีน มองโกเลีย แมนจู ซีเซี่ย(ตันกัต) เกาหลี เวียดนาม เป็นต้น ตัวอย่างของสะสมจากสถาบันต้นฉบับภาษาตะวันออกแห่งสมาคมวิทยาศาสตร์รัสเซียมีต้นฉบับคัมภีร์ภาษาสันสกฤต คัดลอกด้วยตัวอักษรพราหมีเตอร์กีสถานใต้ ราวคริสต์ศตวรรษที่ 8-9 ต้นฉบับแปลภาษาจีน คัดลอกราวคริสต์ศตวรรษที่ 5 ต้นฉบับแปลภาษาอุยกูร์เก่า คัดลอกราวคริสต์ศตวรรษที่ 9

ในปัจจุบันมีการแปลเป็นภาษา อังกฤษ อิตาเลียน เกาหลี เยอรมัน ฝรั่งเศส ไทย ลาว กรีก สเปน เป็นต้น

วินเตอร์นิตซ์ได้เสนอความเห็นว่า พระนาคารชุนได้อ้างถึงข้อความจากสัทธรรมปุณฑรีกสูตรอยู่หลายตอน เพราะฉะนั้นต้นฉบับเดิมย่อมต้องมีอยู่แล้วใน พ.ศ. 693 จึงสันนิษฐานได้ว่าสัทธรรมปุณฑรีกสูตรน่าจะมีอายุไม่ต่ำกว่าพุทธศตวรรษที่ 6 ซึ่งเป็นช่วงระยะเวลาที่ความคิดแบบมหายานพัฒนาขึ้นอย่างสมบูรณ์แล้วในอินเดีย

ชื่อ

ชื่อดั้งเดิมของพระสูตรนี้ในภาษาสันสกฤตคือ "สัทธรรมปุณฑรีกสูตร" (สันสกฤต: सद्धर्मपुण्डरीकसूत्र; Saddharma Puṇḍarīka Sūtra; สทฺธรฺมปุณฺฑรีกสูตฺร) แปลว่า พระสูตรว่าด้วยบัวขาวแห่งธรรมอันล้ำเลิศ ("ปุณฑรีก" หมายถึง บัวขาว) ในภาษาอังกฤษเรียกตามความหมายว่า "Sūtra on the White Lotus of the Sublime Dharma" แต่นิยมเรียกทั่วไปโดยย่อว่า "Lotus Sūtra" (แปลว่า "พระสูตรบัวขาว") พระสูตรนี้ได้รับความนับเป็นอย่างมากในบรรดาประเทศที่นับถือศาสนาพุทธแบบมหายาน มีการแปลชื่อพระสูตรออกเป็นชื่อภาษาท้องถิ่นของประเทศต่างๆ ดังนี้

  • จีน: 妙法蓮華經 miàofǎ liánhuá jīng (เมี่ยวฝ่าเหลียนฮฺวาจิง) เรียกโดยย่อว่า 法華經 fǎhuá jīng (ฝ่าฮฺวาจิง)
  • ญี่ปุ่น: 妙法蓮華経 โรมาจิ: myōhō renge kyō (เมียวโฮเร็งเงเคียว) เรียกโดยย่อว่า 法華経 hōke kyō (โฮเคะเคียว)
  • เกาหลี: 묘법연화경 myobeop yeonhwa gyeong (มโยพ็อบย็อนฮวากยอง) เรียกโดยย่อว่า 법화경 beophwa gyeong (พ็อบฮวากยอง)
  • ทิเบต: དམ་ཆོས་པད་མ་དཀར་པོའི་མདོ dam chos pad-ma dkar po'i mdo
  • เวียดนาม: Diệu pháp liên hoa kinh (เซียวฟ้าบเลียนฮวากิญ) เรียกโดยย่อว่า Pháp hoa kinh (ฟ้าบฮวากิญ)

สาระสำคัญ

ในเอกสารสำหรับมัคคุเทศก์งานนิทรรศการ “สัทธรรมปุณฑริกสูตร สารแห่งสันติภาพและการอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียว” ในปี 2560 ได้บรรยายไว้ว่า พระศากยมุนีพุทธะ ทรงค้นพบว่ามี “จักรวาลภายใน” ที่กว้างใหญ่อยู่ในพระวรกายของพระองค์เอง ทรงก้าวข้ามตัวตนชีวิตภายใน และแผ่ขยายตัวตนชีวิตนี้ออกไป จนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับจักรวาลภายนอกที่ยิ่งใหญ่ ซึ่งก็คือพลังชีวิตของจักรวาล ที่พระองค์ทรงตรัสรู้ว่าคือธรรมะหรือกฎของชีวิต เมื่อทรงตรัสรู้แล้ว ปัญญาและความเมตตากรุณาของพระองค์มุ่งไปที่การช่วยให้ประชาชนหลุดพ้นจากความทุกข์ สิ่งนี้ปรากฏให้เห็นอยู่ในคัมภีร์ทางพุทธศาสนาจำนวนมาก

ในบรรดาคัมภีร์เหล่านี้ สัทธรรมปุณฑริกสูตรแสดงให้เห็นถึงความพยายามในการแสดงรูปธรรมของธรรมะที่พระพุทธองค์ทรงตรัสรู้และเป็นพระสูตรที่ผู้คนในซีกโลกตะวันออกยึดถืออย่างแพร่หลาย เนื่องด้วยคุณลักษณะของสัทธรรมปุณฑริกสูตร ภายใต้ 3 หัวข้อหลัก ดังต่อไปนี้

1. การอยู่ร่วมกันของชีวิตทุกรูปแบบ

ใน “บทกุศโลบาย” (บทที่ 2) ของสัทธรรมปุณฑริกสูตร ทรงเปิดเผยจุดมุ่งหมายที่ทรงปรากฏขึ้นมาในโลกนี้ โดยตรัสถึง “เหตุปัจจัยที่เป็นเรื่องยิ่งใหญ่อันดับหนึ่ง” คือเพื่อ “เปิดประตู” พุทธปัญญา “ชี้” พุทธปัญญา ทำให้ประชาชน “รู้แจ้ง” พุทธปัญญา และ “เข้าสู่” พุทธปัญญา พุทธปัญญาที่กล่าวถึง ก็คือ ปัญญาที่มีพร้อมอยู่ในพลังชีวิตของจักรวาลและส่องแสงออกมา เป็นความหมายเดียวกับคำว่า ธรรมชาติพุทธะ

บุคคลทั้งหลายมีพร้อมพุทธปัญญาที่เป็นส่วนหนึ่งภายในชีวิตของพวกเขา ดังนั้น จึงไม่เกี่ยวกับเชื้อชาติ เพศ อาชีพ หรือวัฒนธรรม เพราะธรรมชาติพุทธะมีพร้อมอยู่ในชีวิตของทุกคน และด้วยการตื่นรู้นี้ ประชาชนทุกคนก็จะสามารถเดินไปบนหนทางสู่ความสุขได้ ประชาชนล้วนเป็นมนุษย์ที่มีพร้อมความสามารถที่จะดำเนินชีวิตที่แสดงศักยภาพสูงสุดในชีวิตให้ปรากฏออกมาได้ นี่คือสิ่งที่สร้างวัฒนธรรมโลกของการอยู่ร่วมกันและความกลมเกลียวให้เป็นจริงได้

ใน “บทการเปรียบเทียบเรื่องยาสมุนไพร” (บทที่ 5) ของสัทธรรมปุณฑริกสูตร แนวคิดของการอยู่ร่วมกันและความกลมเกลียวนี้ถูกแสดงให้เห็นผ่านแนวคิดเรื่องการอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวของสมุนไพร 3 ชนิดและต้นไม้ 2 ชนิด สมุนไพรและต้นไม้ทั้งหมดเหล่านี้ ต่างกันทั้งความสูงและรูปร่าง แต่เมื่อฝนตก ทั้งหมดต่างก็ดูดซับสิ่งที่จำเป็นสำหรับการเจริญเติบโต ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการเฉพาะของพรรณไม้แต่ละชนิด ท้องฟ้าและฝนที่ตกลงมาคืออาหารหล่อเลี้ยงพลังชีวิตของจักรวาล ซึ่งก็คือคำสอนของพระพุทธะ และเป็นอาหารหล่อเลี้ยงสิ่งมีชีวิตนับล้าน ๆ ทั่วจักรวาล

2. การแสวงหาความเป็นนิรันดร์

บทที่ 11 ของสัทธรรมปุณฑริกสูตรเริ่มต้นด้วยการปรากฏออกมาของหอรัตนะ อันยิ่งใหญ่โผล่ขึ้นมาจากพื้นโลกและพระประภูตรัตนพุทธะจากอดีต ที่ประทับอยู่ในหอรัตนะ ทรงเป็นผู้ให้การรับรองว่า สิ่งที่พระศากยมุนีพุทธะกำลังเทศนาทั้งหมดล้วนถูกต้อง จากนั้น ใน “บทการปรากฏขึ้นมาจากพื้นโลก” (บทที่ 15) พื้นดินได้เปิดออกอีกครั้ง เหล่าโพธิสัตว์จำนวนมากมายได้ปรากฏขึ้นมาและทำความเคารพต่อที่ประชุมเทศนาสัทธรรมปุณฑริกสูตร พระเมตไตรยโพธิสัตว์เป็นตัวแทนในที่ประชุมถามว่า ผู้คนเหล่านี้ทั้งหมดคือใคร ในบทต่อมาคือ “บทการหยั่งอายุกาลของพระตถาคต” (บทที่ 16) พระศากยมุนีพุทธะทรงตอบคำถามของพระเมตไตรยโพธิสัตว์ โดยตรัสเกี่ยวกับพระพุทธะนิรันดร์ และให้ความกระจ่างว่าสถานะที่แท้จริงของพระองค์คือ พระพุทธะที่ทรงรู้แจ้งตั้งแต่สมัยกาลนาน

พระพุทธะนิรันดร์คือพระพุทธะที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับธรรมะนิรันดร์ เป็นพระพุทธะผู้ซึ่งแสดงให้เห็นถึงจังหวะพื้นฐานของจักรวาล “บทการหยั่งอายุกาลฯ” เปิดเผยการดำรงอยู่ตลอดกาลของพระพุทธะนิรันดร์ ที่ปรากฏขึ้นมาในโลกที่เราอาศัยอยู่ เพื่อช่วยเหลือสรรพสัตว์ให้พ้นทุกข์ ทั้งที่พระพุทธะเป็นผู้ที่หลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิดแล้ว

3. การเคลื่อนไหวเพื่อสร้างสันติภาพ

สัทธรรมปุณฑริกสูตรได้เปิดเผยเรื่องการเคลื่อนไหวเพื่อสันติภาพในรูปของโพธิสัตว์ทั้งหลายที่โลดแล่นขึ้นมาจากพื้นโลก แสดงถึงพลังชีวิตนิรันดร์ของจักรวาล และโพธิสัตว์อื่น ๆ ที่ปรากฏในบทท้าย ๆ ของสัทธรรมปุณฑริกสูตร บทเหล่านี้บรรยายถึงพระไภษัชยราชโพธิสัตว์ผู้เชี่ยวชาญด้านยาและการเยียวยาชีวิต พระคัทคัทสวรโพธิสัตว์ ผู้เป็นสัญลักษณ์การรังสรรค์ด้านศิลปะ เช่น ดนตรี พระสมันตภัทรโพธิสัตว์

ผู้แสดงคุณสมบัติของการเรียนรู้และความคิด และโพธิสัตว์ที่รู้จักกันในนาม พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ เป็นผู้ที่คอยรับฟังปัญหาและความกังวลใจของประชากรโลก โดยรีบรุดไปช่วยเหลือและทำให้ประชาชนเกิดความกล้าหาญและปราศจากความกลัว

ที่น่าสนใจเป็นพิเศษอันเนื่องจากสารัตถทางสันติภาพ คือ โพธิสัตว์องค์หนึ่งที่รู้จักกันในนามพระสทาปริภูตโพธิสัตว์ ชื่อนี้มาจากคำกล่าวที่ท่านกล่าวกับผู้คนเสมอว่า “ข้าพเจ้ามีความเคารพพวกท่านอย่างลึกซึ้ง ข้าพเจ้าไม่กล้าที่จะปฏิบัติต่อพวกท่านด้วยการดูถูกเหยียดหยามหรือความจองหอง” การปฏิบัติเช่นนี้แสดงถึงทัศนะที่ท่านมีต่อผู้คนทั้งหลาย กล่าวคือเป็นการแสดงความเคารพธรรมชาติพุทธะภายในชีวิตของพวกเขา สัทธรรมปุณฑริกสูตรกล่าวว่า ท่านจะโค้งคำนับด้วยความเคารพแก่พวกเขาทุกคน ซึ่งเป็นวิธีแสดงความเคารพคุณค่าและคุณธรรมที่มีพร้อมอยู่ในชีวิตของพวกเขา

สัทธรรมปุณฑริกสูตรสอนว่า ธรรมชาติพุทธะมีพร้อมอยู่ในปวงสรรพสัตว์และสามารถแสดงออกมาในความเป็นจริง บนพื้นฐานของความเท่าเทียมกันที่มีอยู่ภายในชีวิตของมนุษย์ทุกคน จึงทำให้แนวคิดของการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสามารถพัฒนาให้เกิดขึ้นได้

จากการเทศนาเรื่องพระพุทธะนิรันดร์และธรรมะนิรันดร์ว่าเป็นพลังชีวิตของจักรวาล สัทธรรมปุณฑริกสูตรสอนถึงวิธีที่พลเมืองโลกจะสามารถมีส่วนร่วมในการสร้างสันติภาพโลกได้ โดยแสดงเป็นเชิงสัญลักษณ์ด้วยคุณสมบัติพิเศษและการทำหน้าที่ของโพธิสัตว์ทั้งหลายที่ปรากฏในพระสูตรนี้

เนื้อหา

พระสูตรนี้มีสาระสำคัญกล่าวถึงยาน 3 อย่าง อันจะพาสรรพสัตว์ข้ามพ้นห้วงวัฏสงสารได้ ประกอบด้วย สาวกยาน (ศฺราวกยาน), ปัจเจกพุทธยาน (ปฺรตฺเยกพุทฺธยาน) และโพธิสัตวยาน (โพธิสตฺตฺวยาน) ยานทั้งสามนี้มิใช่หนทาง 3 สายที่แตกต่างกัน อันจะนำไปสู่เป้าหมาย 3 อย่างต่างกัน ทว่าเป็นหนทางหนึ่งเดียวที่จะนำไปสู่เป้าหมายหนึ่งเดียว

ภาษาต้นฉบับที่จารึกพระสูตรนั้นไม่ปราฏชัด มีข้อเสนอว่า อาจแต่งเป็นภาษาถิ่นปรากฤต จากนั้นจึงแปลเป็นภาษาสันสกฤต ทำให้พระสูตรนี้เป็นที่แพร่หลายมากขึ้น ต่อมามีการแปลเป็นภาษาจีนถึง 6 สำนวน แต่สามฉบับแรกต้นฉบับสาบสูญไปแล้ว เหลือเพียงสามฉบับหลัง คือ

  • ฉบับพระภิกษุธรรมรักษ์ แปลเมื่อ พ.ศ. 829 นับเป็นฉบับที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังหลงเหลือในปัจจุบัน
  • ฉบับพระกุมารชีพ ชาวเอเชียกลาง แปลเมื่อ พ.ศ. 934 กล่าวกันว่าเป็นฉบับที่แปลความได้สละสลวยที่สุด
  • ฉบับท่านชญานคุปตะและท่านธรรมคุปตะ แปลเมื่อ พ.ศ. 1144

เนื้อความของแต่ละฉบับมีใจความหลักเหมือนกัน แต่รายละเอียดปลีกย่อยมีความแตกต่างกันในบางส่วน

สัทธรรมปุณฑรีกสูตรถือเป็นคัมภีร์หลักอีกเล่มหนึ่งที่มีการแปลเป็นภาษาจีน ทั้งยังเป็นพระสูตรยุคแรกสุด ที่ระบุคำว่า "มหายาน"ด้วย

พระวสุพันทุได้รจนาอรรถกถาพระสูตรนี้เป็นฉบับย่อ ให้ชื่อว่า "สัทธรรมปุณฑรีกสูตรอุปเทศ" ในประเทศจีนได้มีคัมภีรชั้นฎีกาเกิดขึ้นมากมาย เช่น ของท่านเต้าเซิง, ฝ่าอวิ่น, จื้ออี, จี้จ้าง และกุยจี เป็นต้น แม้แต่ท่านจื้ออี (มหาคุรุเทียนไท้) ผู้สถาปนานิกายเทียนไท้ ก็ได้อาศัยพื้นฐานจากพระสูตรเล่มนี้ ในญี่ปุ่น เจ้าชายโชโตะกุได้ทรงแต่งอรรถาธิบายพระสูตรนี้ในชื่อว่า "ฮกเกกิโช" พระนิชิเรนผู้สถาปนานิกายนิชิเรนโชชูก็ได้อาศัยพระสูตรเล่มนี้และเชื่อว่าเป็นพระสูตรที่สามารถทำให้บรรลุพุทธภาวะได้ในอัตตภาพปัจจุบัน ซึ่งพระสูตรเล่มนี้มีอิทธิพลอย่างมาก จนเกิดเป็นองค์กรทางศาสนาและสวดท่องพระสูตรนี้ เช่น นิกายนิชิเรนโชชู สมาคมสร้างคุณค่า เป็นต้น

ฉบับแปลภาษาอื่นๆ

ดังที่ทราบกันในบรรดานักวิชาการทางพุทธศาสนาที่ประเทศอินเดียในสมัยพุทธกาล ยังไม่มีการบันทึกคำสอนศักดิ์สิทธิ์เป็นลายลักษณ์อักษร จึงใช้วิธีท่องจำคำสอนสำคัญต่าง ๆ และถ่ายทอดด้วยปากเปล่า คำสอนของพระพุทธองค์ถูกถ่ายทอดผ่านการสวดท่องและท่องจำโดยพระสงฆ์ ตามการค้นคว้าทางวิชาการในสาขาต่าง ๆ เช่น นิรุกติศาสตร์ คาดกันว่าในกระบวนการถ่ายทอด ถ้อยคำเดิมถูกเปลี่ยนไป เนื้อหาของคัมภีร์ได้รับการจัดเป็นหมวดหมู่ และมีการตีความต่าง ๆ เพิ่มเติม มีการเรียบเรียงคำสอนของพระพุทธองค์เป็น “พระสูตรต่างๆ” และข้อบังคับของคณะสงฆ์เป็น “พระวินัย”

จนกระทั่งเมื่อมีการสังคายนาธรรม ในที่ประชุม พระสงฆ์จะสวดท่องคำสอนของพระพุทธองค์ มีการยืนยันถ้อยคำตามที่ได้ท่องจำมา และลงมติเห็นชอบก่อนที่จะจดบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร

ดังนั้น เช่นเดียวกันกับในสัทธรรมปุณฑริกสูตร แต่ละบทหรือท่อนหลักจึงเริ่มต้นด้วยคาถาดังว่า “อาตมาได้สดับมาดังนี้”

ฉบับภาษาไทย

สัทธรรมปุณฑรีกสูตร ที่แปลเป็นภาษาไทยมีหลายฉบับ แต่ฉบับที่สมบูรณ์มี 3 ฉบับ ได้แก่

ฉบับแปลไม่สมบูรณ์ อาทิ ฉบับ อ.เลียง เสถียรสุต (บทสมันตมุขปริวรรต) แปลจากภาษาจีน

ฉบับภาษาตะวันตก

  • Burnouf, Eugène (tr.). Le Lotus de la Bonne Loi : Traduit du sanskrit, accompagné d'un commentaire et de vingt et un mémoires relatifs au Bouddhisme. Paris 1852 (Imprimerie Nationale). - French translation from Sanskrit, first in Western language.
  • Kern, H. (tr.). Saddharma Pundarîka or the Lotus of the True Law. Oxford 1884 (Clarendon Press) Sacred Books of the East, Vol. XXI, New York 1963 (Dover), Delhi 1968. Translation from Sanskrit.
  • Soothill, W. E. (tr.). The Lotus of the Wonderful Law or The Lotus Gospel. Oxford 1930 (Clarendon Press). Abridged translation from the Chinese of Kumārajīva.
  • Murano Senchū (tr.). The Sutra of the Lotus Flower of the Wonderful Law. Tokyo 1974 (Nichiren Shu Headquarters). Translation from the Chinese of Kumārajīva.
  • Katō Bunno, Tamura Yoshirō, Miyasaka Kōjirō (tr.), The Threefold Lotus Sutra : The Sutra of Innumerable Meanings; The Sutra of the Lotus Flower of the Wonderful Law; The Sutra of Meditation on the Bodhisattva Universal Virtue. New York & Tōkyō 1975 (Weatherhill & Kōsei Publishing).
  • Hurvitz, Leon (tr.). Scripture of the Lotus Blossom of the Fine Dharma: The Lotus Sutra. New York 1976 (Columbia University Press). Records of Civilization: Sources and Studies. Translation from the Chinese of Kumārajīva.
  • Kuo-lin Lethcoe (ed.). The Wonderful Dharma Lotus Flower Sutra with the Commentary of Tripitaka Master Hsuan Hua. Translated by the Buddhist Text Translation Society. San Francisco 1977 (Buddhist Text Translation Society). Translation from the Chinese of Kumārajīva.
  • Watson, Burton (tr.). The Lotus Sutra. New York 1993 (Columbia University Press) Translations from the Asian Classics. Translation from the Chinese of Kumārajīva.
  • Kubo Tsugunari, Yuyama Akira (tr.) The Lotus Sutra. Revised 2nd ed. Berkeley, Calif. : Numata Center for Buddhist Translation and Research, 2007. Translation from the Chinese of Kumārajīva with input from the Central Asian Kashgar Sanskrit manuscript. ISBN 9781886439399
  • Reeves, Gene (tr.) The Lotus Sutra : A Contemporary Translation of a Buddhist Classic. Boston 2008 (Wisdom Publications), ISBN 0-86171-571-3. xii + 492 pp. Translation from the Chinese of Kumārajīva. Includes also the opening and closing sutras The Sutra of Innumerable Meanings and The Sutra of Contemplation of the Dharma Practice of Universal Sage Bodhisattva.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ฉบับแปลภาษาอังกฤษ โดย Burton Watson
  • ฉบับแปลภาษาอังกฤษ โดย H. Kern, 1884
  • ฉบับแปลของอเมริกาฉบับแรก โดย Henry David Thoreau และ Elizabeth Palmer Peabody ตีพิมพ์ครั้งแรก ค.ศ. 1844
  • ห้องสมุด Ida B. Wells Memorial Sutra Library ทั้งเนื้อหาและอรรถาธิบาย
  • ศูนย์ศึกษาพระสูตรบัวขาว
  • บทความว่าด้วยสัทธรรมปุณฑรีกสูตร รวมทั้งต้นฉบับ และพระสูตรอื่นในยุคเดียวกัน

ทธรรมป, ณฑร, กส, ตร, ทธรรมป, ณฑร, กส, ตร, นสกฤต, सद, धर, मप, डर, कस, saddharma, puṇḍarīka, sūtra, เป, นพระส, ตรท, สำค, ญในพ, ทธศาสนาฝ, ายมหายาน, เป, นท, เล, อมใสศร, ทธาในพ, ทธศาสน, กชนมหายานโดยเฉพาะในประเทศเอเช, ยตะว, นออก, เป, นส, ทธรรมท, พระพ, ทธเจ, าเทศนาใน. sththrrmpunthriksutr snskvt सद धर मप ण डर कस त र Saddharma Puṇḍarika Sutra epnphrasutrthisakhyinphuththsasnafaymhayan epnthieluxmissrththainphuththsasnikchnmhayanodyechphaainpraethsexechiytawnxxk epnsththrrmthiphraphuththecaethsnainchwng 8 pisudthaykxnpriniphphansththrrmpunthriksutr chbbxksrhnca xksrcinthiichinpraethsekahli smyrachwngsokhryx ekhiynkhunraw kh s 1340 smyaehngkarbnthukphrasutrepnlaylksnxksrepnkhrngaerknnimmimtithiaennxn sungkarkhnphbtnchbbkhxngsththrrmpunthriksutrinhlaysthanthicakhlakhlayphumiphakh sththrrmpunthriksutrmikaraeplepnhlayphasa aelamikarkhdlxktnchbbtlxdchwngewlaxnyawnan xnepnkhxphisucnwasththrrmpunthriksutrepnthiekharphbuchakhxngprachachncanwnmakinhlakhlayechuxchati odymikarkhnphbtnchbbphasatang xnidaek snskvt bali khanthari okhtan saka otkhaeriyn sxkediy xuykureka thiebt cin mxngokeliy aemncu siesiy tnkt ekahli ewiydnam epntn twxyangkhxngsasmcaksthabntnchbbphasatawnxxkaehngsmakhmwithyasastrrsesiymitnchbbkhmphirphasasnskvt khdlxkdwytwxksrphrahmietxrkisthanit rawkhriststwrrsthi 8 9 tnchbbaeplphasacin khdlxkrawkhriststwrrsthi 5 tnchbbaeplphasaxuykureka khdlxkrawkhriststwrrsthi 9inpccubnmikaraeplepnphasa xngkvs xitaeliyn ekahli eyxrmn frngess ithy law krik sepn epntnwinetxrnitsidesnxkhwamehnwa phranakharchunidxangthungkhxkhwamcaksththrrmpunthriksutrxyuhlaytxn ephraachanntnchbbedimyxmtxngmixyuaelwin ph s 693 cungsnnisthanidwasththrrmpunthriksutrnacamixayuimtakwaphuththstwrrsthi 6 sungepnchwngrayaewlathikhwamkhidaebbmhayanphthnakhunxyangsmburnaelwinxinediy enuxha 1 chux 2 sarasakhy 3 enuxha 4 chbbaeplphasaxun 4 1 chbbphasaithy 4 2 chbbphasatawntk 5 aehlngkhxmulxunchux aekikhchuxdngedimkhxngphrasutrniinphasasnskvtkhux sththrrmpunthriksutr snskvt सद धर मप ण डर कस त र Saddharma Puṇḍarika Sutra sth thr mpun thriksut r aeplwa phrasutrwadwybwkhawaehngthrrmxnlaelis punthrik hmaythung bwkhaw inphasaxngkvseriyktamkhwamhmaywa Sutra on the White Lotus of the Sublime Dharma aetniymeriykthwipodyyxwa Lotus Sutra aeplwa phrasutrbwkhaw phrasutrniidrbkhwamnbepnxyangmakinbrrdapraethsthinbthuxsasnaphuththaebbmhayan mikaraeplchuxphrasutrxxkepnchuxphasathxngthinkhxngpraethstang dngni cin 妙法蓮華經 miaofǎ lianhua jing emiywfaehliynh wacing eriykodyyxwa 法華經 fǎhua jing fah wacing yipun 妙法蓮華経 ormaci myōhō renge kyō emiywoherngengekhiyw eriykodyyxwa 法華経 hōke kyō ohekhaekhiyw ekahli 묘법연화경 myobeop yeonhwa gyeong moyphxbyxnhwakyxng eriykodyyxwa 법화경 beophwa gyeong phxbhwakyxng thiebt དམ ཆ ས པད མ དཀར པ འ མད dam chos pad ma dkar po i mdo ewiydnam Diệu phap lien hoa kinh esiywfabeliynhwakiy eriykodyyxwa Phap hoa kinh fabhwakiy sarasakhy aekikhinexksarsahrbmkhkhuethskngannithrrskar sththrrmpunthriksutr saraehngsntiphaphaelakarxyurwmknxyangklmekliyw inpi 2560 idbrryayiwwa phrasakymuniphuththa thrngkhnphbwami ckrwalphayin thikwangihyxyuinphrawrkaykhxngphraxngkhexng thrngkawkhamtwtnchiwitphayin aelaaephkhyaytwtnchiwitnixxkip cnepnxnhnungxnediywknkbckrwalphaynxkthiyingihy sungkkhuxphlngchiwitkhxngckrwal thiphraxngkhthrngtrsruwakhuxthrrmahruxkdkhxngchiwit emuxthrngtrsruaelw pyyaaelakhwamemttakrunakhxngphraxngkhmungipthikarchwyihprachachnhludphncakkhwamthukkh singnipraktihehnxyuinkhmphirthangphuththsasnacanwnmakinbrrdakhmphirehlani sththrrmpunthriksutraesdngihehnthungkhwamphyayaminkaraesdngrupthrrmkhxngthrrmathiphraphuththxngkhthrngtrsruaelaepnphrasutrthiphukhninsikolktawnxxkyudthuxxyangaephrhlay enuxngdwykhunlksnakhxngsththrrmpunthriksutr phayit 3 hwkhxhlk dngtxipni1 karxyurwmknkhxngchiwitthukrupaebbin bthkusolbay bththi 2 khxngsththrrmpunthriksutr thrngepidephycudmunghmaythithrngpraktkhunmainolkni odytrsthung ehtupccythiepneruxngyingihyxndbhnung khuxephux epidpratu phuththpyya chi phuththpyya thaihprachachn ruaecng phuththpyya aela ekhasu phuththpyya phuththpyyathiklawthung kkhux pyyathimiphrxmxyuinphlngchiwitkhxngckrwalaelasxngaesngxxkma epnkhwamhmayediywkbkhawa thrrmchatiphuththabukhkhlthnghlaymiphrxmphuththpyyathiepnswnhnungphayinchiwitkhxngphwkekha dngnn cungimekiywkbechuxchati ephs xachiph hruxwthnthrrm ephraathrrmchatiphuththamiphrxmxyuinchiwitkhxngthukkhn aeladwykartunruni prachachnthukkhnkcasamarthedinipbnhnthangsukhwamsukhid prachachnlwnepnmnusythimiphrxmkhwamsamarththicadaeninchiwitthiaesdngskyphaphsungsudinchiwitihpraktxxkmaid nikhuxsingthisrangwthnthrrmolkkhxngkarxyurwmknaelakhwamklmekliywihepncringidin bthkarepriybethiyberuxngyasmuniphr bththi 5 khxngsththrrmpunthriksutr aenwkhidkhxngkarxyurwmknaelakhwamklmekliywnithukaesdngihehnphanaenwkhideruxngkarxyurwmknxyangklmekliywkhxngsmuniphr 3 chnidaelatnim 2 chnid smuniphraelatnimthnghmdehlani tangknthngkhwamsungaelaruprang aetemuxfntk thnghmdtangkdudsbsingthicaepnsahrbkarecriyetibot thngnikhunxyukbkhwamtxngkarechphaakhxngphrrnimaetlachnid thxngfaaelafnthitklngmakhuxxaharhlxeliyngphlngchiwitkhxngckrwal sungkkhuxkhasxnkhxngphraphuththa aelaepnxaharhlxeliyngsingmichiwitnblan thwckrwal2 karaeswnghakhwamepnnirndrbththi 11 khxngsththrrmpunthriksutrerimtndwykarpraktxxkmakhxnghxrtna xnyingihyophlkhunmacakphunolkaelaphrapraphutrtnphuththacakxdit thiprathbxyuinhxrtna thrngepnphuihkarrbrxngwa singthiphrasakymuniphuththakalngethsnathnghmdlwnthuktxng caknn in bthkarpraktkhunmacakphunolk bththi 15 phundinidepidxxkxikkhrng ehlaophthistwcanwnmakmayidpraktkhunmaaelathakhwamekharphtxthiprachumethsnasththrrmpunthriksutr phraemtitryophthistwepntwaethninthiprachumthamwa phukhnehlanithnghmdkhuxikhr inbthtxmakhux bthkarhyngxayukalkhxngphratthakht bththi 16 phrasakymuniphuththathrngtxbkhathamkhxngphraemtitryophthistw odytrsekiywkbphraphuththanirndr aelaihkhwamkracangwasthanathiaethcringkhxngphraxngkhkhux phraphuththathithrngruaecngtngaetsmykalnanphraphuththanirndrkhuxphraphuththathiepnxnhnungxnediywkbthrrmanirndr epnphraphuththaphusungaesdngihehnthungcnghwaphunthankhxngckrwal bthkarhyngxayukal epidephykardarngxyutlxdkalkhxngphraphuththanirndr thipraktkhunmainolkthieraxasyxyu ephuxchwyehluxsrrphstwihphnthukkh thngthiphraphuththaepnphuthihludphncakkarewiynwaytayekidaelw3 karekhluxnihwephuxsrangsntiphaphsththrrmpunthriksutridepidephyeruxngkarekhluxnihwephuxsntiphaphinrupkhxngophthistwthnghlaythioldaelnkhunmacakphunolk aesdngthungphlngchiwitnirndrkhxngckrwal aelaophthistwxun thipraktinbththay khxngsththrrmpunthriksutr bthehlanibrryaythungphraiphschyrachophthistwphuechiywchaydanyaaelakareyiywyachiwit phrakhthkhthswrophthistw phuepnsylksnkarrngsrrkhdansilpa echn dntri phrasmntphthrophthistwphuaesdngkhunsmbtikhxngkareriynruaelakhwamkhid aelaophthistwthiruckkninnam phraxwolkietswrophthistw epnphuthikhxyrbfngpyhaaelakhwamkngwlickhxngprachakrolk odyribrudipchwyehluxaelathaihprachachnekidkhwamklahayaelaprascakkhwamklwthinasnicepnphiessxnenuxngcaksartththangsntiphaph khux ophthistwxngkhhnungthiruckkninnamphrasthapriphutophthistw chuxnimacakkhaklawthithanklawkbphukhnesmxwa khaphecamikhwamekharphphwkthanxyangluksung khaphecaimklathicaptibtitxphwkthandwykarduthukehyiydhyamhruxkhwamcxnghxng karptibtiechnniaesdngthungthsnathithanmitxphukhnthnghlay klawkhuxepnkaraesdngkhwamekharphthrrmchatiphuththaphayinchiwitkhxngphwkekha sththrrmpunthriksutrklawwa thancaokhngkhanbdwykhwamekharphaekphwkekhathukkhn sungepnwithiaesdngkhwamekharphkhunkhaaelakhunthrrmthimiphrxmxyuinchiwitkhxngphwkekhasththrrmpunthriksutrsxnwa thrrmchatiphuththamiphrxmxyuinpwngsrrphstwaelasamarthaesdngxxkmainkhwamepncring bnphunthankhxngkhwamethaethiymknthimixyuphayinchiwitkhxngmnusythukkhn cungthaihaenwkhidkhxngkarxyurwmknxyangsntisamarthphthnaihekidkhunidcakkarethsnaeruxngphraphuththanirndraelathrrmanirndrwaepnphlngchiwitkhxngckrwal sththrrmpunthriksutrsxnthungwithithiphlemuxngolkcasamarthmiswnrwminkarsrangsntiphapholkid odyaesdngepnechingsylksndwykhunsmbtiphiessaelakarthahnathikhxngophthistwthnghlaythipraktinphrasutrnienuxha aekikhphrasutrnimisarasakhyklawthungyan 3 xyang xncaphasrrphstwkhamphnhwngwtsngsarid prakxbdwy sawkyan s rawkyan pceckphuththyan p rt eykphuth thyan aelaophthistwyan ophthist t wyan yanthngsamnimiichhnthang 3 saythiaetktangkn xncanaipsuepahmay 3 xyangtangkn thwaepnhnthanghnungediywthicanaipsuepahmayhnungediywphasatnchbbthicarukphrasutrnnimpratchd mikhxesnxwa xacaetngepnphasathinprakvt caknncungaeplepnphasasnskvt thaihphrasutrniepnthiaephrhlaymakkhun txmamikaraeplepnphasacinthung 6 sanwn aetsamchbbaerktnchbbsabsuyipaelw ehluxephiyngsamchbbhlng khux chbbphraphiksuthrrmrks aeplemux ph s 829 nbepnchbbthiekaaekthisudthiynghlngehluxinpccubn chbbphrakumarchiph chawexechiyklang aeplemux ph s 934 klawknwaepnchbbthiaeplkhwamidslaslwythisud chbbthanchyankhuptaaelathanthrrmkhupta aeplemux ph s 1144enuxkhwamkhxngaetlachbbmiickhwamhlkehmuxnkn aetraylaexiydplikyxymikhwamaetktangkninbangswnsththrrmpunthriksutrthuxepnkhmphirhlkxikelmhnungthimikaraeplepnphasacin thngyngepnphrasutryukhaerksud thirabukhawa mhayan dwyphrawsuphnthuidrcnaxrrthkthaphrasutrniepnchbbyx ihchuxwa sththrrmpunthriksutrxupeths inpraethscinidmikhmphirchndikaekidkhunmakmay echn khxngthanetaesing faxwin cuxxi cicang aelakuyci epntn aemaetthancuxxi mhakhuruethiynith phusthapnanikayethiynith kidxasyphunthancakphrasutrelmni inyipun ecachayochotakuidthrngaetngxrrthathibayphrasutrniinchuxwa hkekkioch phranichiernphusthapnanikaynichiernochchukidxasyphrasutrelmniaelaechuxwaepnphrasutrthisamarththaihbrrluphuththphawaidinxttphaphpccubn sungphrasutrelmnimixiththiphlxyangmak cnekidepnxngkhkrthangsasnaaelaswdthxngphrasutrni echn nikaynichiernochchu smakhmsrangkhunkha epntnchbbaeplphasaxun aekikhdngthithrabkninbrrdankwichakarthangphuththsasnathipraethsxinediyinsmyphuththkal yngimmikarbnthukkhasxnskdisiththiepnlaylksnxksr cungichwithithxngcakhasxnsakhytang aelathaythxddwypakepla khasxnkhxngphraphuththxngkhthukthaythxdphankarswdthxngaelathxngcaodyphrasngkh tamkarkhnkhwathangwichakarinsakhatang echn niruktisastr khadknwainkrabwnkarthaythxd thxykhaedimthukepliynip enuxhakhxngkhmphiridrbkarcdepnhmwdhmu aelamikartikhwamtang ephimetim mikareriyberiyngkhasxnkhxngphraphuththxngkhepn phrasutrtang aelakhxbngkhbkhxngkhnasngkhepn phrawiny cnkrathngemuxmikarsngkhaynathrrm inthiprachum phrasngkhcaswdthxngkhasxnkhxngphraphuththxngkh mikaryunynthxykhatamthiidthxngcama aelalngmtiehnchxbkxnthicacdbnthukepnlaylksnxksrdngnn echnediywknkbinsththrrmpunthriksutr aetlabthhruxthxnhlkcungerimtndwykhathadngwa xatmaidsdbmadngni chbbphasaithy aekikh sththrrmpunthriksutr thiaeplepnphasaithymihlaychbb aetchbbthismburnmi 3 chbb idaek sththrrmpunthriksutr chbbaepl smakhmsrangkhunkhainpraethsithy cakphakyxngkvssuphakyithy sththrrmpunthriksutr chbbaepl sunyithy thiebt aeplody rs dr chtrsumaly kbilsingh phiksunithmnntha cakphakyxngkvssuphakyithy sththrrmpunthriksutr chbbaepl wdophthiaemnkhunaram aeplody chaexm aekwkhlaychbbaeplimsmburn xathi chbb x eliyng esthiyrsut bthsmntmukhpriwrrt aeplcakphasacin chbbphasatawntk aekikh Burnouf Eugene tr Le Lotus de la Bonne Loi Traduit du sanskrit accompagne d un commentaire et de vingt et un memoires relatifs au Bouddhisme Paris 1852 Imprimerie Nationale French translation from Sanskrit first in Western language Kern H tr Saddharma Pundarika or the Lotus of the True Law Oxford 1884 Clarendon Press Sacred Books of the East Vol XXI New York 1963 Dover Delhi 1968 Translation from Sanskrit Soothill W E tr The Lotus of the Wonderful Law or The Lotus Gospel Oxford 1930 Clarendon Press Abridged translation from the Chinese of Kumarajiva Murano Senchu tr The Sutra of the Lotus Flower of the Wonderful Law Tokyo 1974 Nichiren Shu Headquarters Translation from the Chinese of Kumarajiva Katō Bunno Tamura Yoshirō Miyasaka Kōjirō tr The Threefold Lotus Sutra The Sutra of Innumerable Meanings The Sutra of the Lotus Flower of the Wonderful Law The Sutra of Meditation on the Bodhisattva Universal Virtue New York amp Tōkyō 1975 Weatherhill amp Kōsei Publishing Hurvitz Leon tr Scripture of the Lotus Blossom of the Fine Dharma The Lotus Sutra New York 1976 Columbia University Press Records of Civilization Sources and Studies Translation from the Chinese of Kumarajiva Kuo lin Lethcoe ed The Wonderful Dharma Lotus Flower Sutra with the Commentary of Tripitaka Master Hsuan Hua Translated by the Buddhist Text Translation Society San Francisco 1977 Buddhist Text Translation Society Translation from the Chinese of Kumarajiva Watson Burton tr The Lotus Sutra New York 1993 Columbia University Press Translations from the Asian Classics Translation from the Chinese of Kumarajiva Kubo Tsugunari Yuyama Akira tr The Lotus Sutra Revised 2nd ed Berkeley Calif Numata Center for Buddhist Translation and Research 2007 Translation from the Chinese of Kumarajiva with input from the Central Asian Kashgar Sanskrit manuscript ISBN 9781886439399 Reeves Gene tr The Lotus Sutra A Contemporary Translation of a Buddhist Classic Boston 2008 Wisdom Publications ISBN 0 86171 571 3 xii 492 pp Translation from the Chinese of Kumarajiva Includes also the opening and closing sutras The Sutra of Innumerable Meanings and The Sutra of Contemplation of the Dharma Practice of Universal Sage Bodhisattva aehlngkhxmulxun aekikh wikisxrsphasacin 中文 mikhxmultnchbbekiywkb 妙法蓮華經 chbbaeplphasaxngkvs ody Burton Watson chbbaeplphasaxngkvs ody H Kern 1884 chbbaeplkhxngxemrikachbbaerk ody Henry David Thoreau aela Elizabeth Palmer Peabody tiphimphkhrngaerk kh s 1844 hxngsmud Ida B Wells Memorial Sutra Library thngenuxhaaelaxrrthathibay sunysuksaphrasutrbwkhaw bthkhwamwadwysththrrmpunthriksutr rwmthngtnchbb aelaphrasutrxuninyukhediywknekhathungcak https th wikipedia org w index php title sththrrmpunthriksutr amp oldid 9346986, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม