fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาเวียดนาม

ภาษาเวียดนาม (เวียดนาม: tiếng Việt เตี๊ยงเหฺวียด, tiếng Việt Nam, Việt ngữ) เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์และเป็นภาษาทางการของประเทศเวียดนาม เป็นภาษาแม่ของประชากรเวียดนามถึงร้อยละ 87 รวมถึงผู้อพยพจากเวียดนามประมาณ 2 ล้านคน และรวมถึงชาวเวียดนาม-อเมริกันเป็นจำนวนพอสมควรด้วย ถึงแม้ว่าจะมีการยืมคำศัพท์จากภาษาจีนและเดิมใช้อักษรจีนเขียน แต่นักภาษาศาสตร์ยังคงจัดภาษาเวียดนามให้เป็นตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกซึ่งในกลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผู้พูดมากที่สุด (10 เท่าของภาษาที่มีจำนวนคนพูดเป็นอันดับรองลงมา คือ ภาษาเขมร) ในด้านระบบการเขียนของภาษาเวียดนามนั้น แต่เดิมใช้ตัวเขียนจีน เรียกว่า "จื๋อญอ" ต่อมาชาวเวียดนามได้พัฒนาตัวเขียนจีนเพื่อใช้เขียนภาษาเวียดนาม เรียกว่า "จื๋อโนม" แต่ในปัจจุบันเวียดนามใช้ตัวอักษรโรมันที่พัฒนาขึ้นโดยมิชชันนารีชาวฝรั่งเศส โดยเครื่องหมายเสริมสัทอักษรใช้เป็นวรรณยุกต์

ภาษาเวียดนาม
tiếng Việt
ออกเสียง[tjə̌ˀŋ vjə̀t] เตี๊ยงเหวียต
(ทางเหนือ)
[tjə̌ŋ jə̀k] เตี๊ยงเหยียก
(ทางใต้)
ประเทศที่มีการพูดเวียดนาม สหรัฐอเมริกา กัมพูชา ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย จีน
จำนวนผู้พูด70–73 ล้าน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
ออสโตรเอเชียติก
ระบบการเขียนอักษรละติน
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการเวียดนาม
รหัสภาษา
ISO 639-1vi
ISO 639-2vie
ISO 639-3vie

ตระกูลภาษา

ภาษาเวียดนามจัดอยู่ในสาขาเหวียด-เหมื่อง (Viet-Muong) ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งในตระกูลภาษามอญ-เขมร (Mon-Khmer) หรือตระกูลออสโตรเอเชียติก (Austroasiatic) ประกอบด้วยภาษาเขมร ภาษามอญ ภาษามุนดา เป็นต้น แต่นักภาษาศาสตร์บางส่วนเห็นว่าควรจัดภาษาเวียดนามให้เป็นอีกสาขาหนึ่ง แยกจากภาษามอญ-เขมร

สำเนียงท้องถิ่น

ภาษาเวียดนามมีสำเนียงท้องถิ่นที่หลากหลาย แต่โดยมากถือว่ามี 3 หลัก ดังนี้

ถิ่นหลัก ท้องถิ่น ชื่อในยุคอาณานิคมของฝรั่งเศส
เวียดนามตอนเหนือ ถิ่นฮานอย, ถิ่นอื่นทางเหนือ: ไฮฟอง และถิ่นระดับจังหวัดจำนวนมาก ตังเกี๋ย
เวียดนามตอนกลาง ถิ่นเว้, ถิ่นเหงะอาน, ถิ่นกว๋างนาม อันนัมสูง
เวียดนามตอนใต้ ถิ่นไซ่ง่อน, ถิ่นแม่น้ำโขง (ตะวันตกไกล) โคชินไชนา

ภาษาถิ่นเหล่านี้มีน้ำเสียง การออกเสียง และบางครั้งก็มีคำศัพท์ที่แตกต่างไปบ้าง แต่ภาษาถิ่นเฮว้จะมีคำศัพท์ที่แตกต่างค่อนข้างมากจากภาษาถิ่นอื่น ๆ วรรณยุกต์ "หอย" และ "หงา" มีความแตกต่างในภาคเหนือ แต่กลืนเป็นวรรณยุกต์เดียวกันในภาคใต้ ส่วนพยัญชนะ ch และ tr นั้นจะออกเสียงแตกต่างกันในถิ่นใต้และกลาง แต่รวมเป็นเสียงเดียวในถิ่นเหนือ สำหรับความแตกต่างด้านไวยากรณ์นั้นไม่ปรากฏ

ระบบเสียง

เสียงพยัญชนะ

เสียงพยัญชนะในภาษาเวียดนามมีหน่วยเสียงตามตารางทางด้านล่าง โดยอักษรทางด้านซ้ายเป็นอักษรที่ใช้เขียนแทนหน่วยเสียงนั้น ๆ ในภาษาเวียดนาม อักษรตรงกลางเป็นสัทอักษร และด้านขวานั้นเป็นอักษรไทยที่นิยมใช้ทับศัพท์

ริมฝีปาก ปุ่มเหงือก ปลายลิ้นม้วน เพดานแข็ง เพดานอ่อน เส้นเสียง
นาสิก m [m] n [n] nh [ɲ] ng/ngh [ŋ]
กัก ไม่ก้อง ไม่พ่นลม p [p] t [t] tr [ʈʂ~ʈ] ch [c~tɕ] c/k/q [k~q]
ก้อง b [ɓ] đ [ɗ]
ไม่ก้อง พ่นลม th [tʰ] kh [x~kʰ]
เสียดแทรก ไม่ก้อง ph [f] x [s] s [ʂ] h [h]
ก้อง v [v] d [z~j] ซ, ย r [ʐ~ɹ] ซ, ร gi [z~j] ซ, ย g/gh [ɣ]
เปิด u/o [w] l [l] y/i [j]
สำเนียงต่าง ๆ ของภาษาเวียดนาม
รูปแบบ รูปพยัญชนะ เหนือ กลางตอนเหนือ กลาง ใต้
พยัญชนะต้น x [s] [s] [s] [s]
s [ʂ] ซ (ม้วนลิ้น) [ʂ] ซ (ม้วนลิ้น) [ʂ] ซ (ม้วนลิ้น)
ch [tɕ] [tɕ] [tɕ] [tɕ]
tr [tʂ] จ (ม้วนลิ้น) [tʂ] จ (ม้วนลิ้น) [tʂ] จ (ม้วนลิ้น)
r [z] ซ (ก้อง) [ɻ] ร (ม้วนลิ้น) [ɻ] ร (ม้วนลิ้น) [ɻ] ร (ม้วนลิ้น)
d [ɟ] กึ่ง จ กึ่ง ก (ก้อง) [j] [j]
gi [z] ซ (ก้อง)
v [v] กึ่ง ฟ กึ่ง ว [v] กึ่ง ฟ กึ่ง ว
พยัญชนะท้าย c [k] [k] [k] [k]
t [t] [t]
t
หลัง e
[k, t] ก, ต
t
หลัง ê
[t] [k, t] ก, ต
t
หลัง i
[t]
ch [ʲk] จ/ก [k]
ng [ŋ] [ŋ] [ŋ] [ŋ]
n [n] [n]
n
หลัง i, ê
[n] [n]
nh [ʲŋ] ญ/ง [ŋ]

เสียงสระ

  หน้า กลาง หลัง
สูง i [i] /-ิ/ ư [ɨ/ɯ] /-ือ/ u [u] /-ู/
กลางสูง ê [e] /เ-/ ơ [əː/ɤː] /เ-อ/ ô [o] /โ-/
กลางต่ำ e [ɛ] /แ-/ â [ə/ɤ/ɜ] /เ-อะ/ o [ɔ] /-อ/
ต่ำ ă [a] /-ะ/, a [aː] /-า/

เสียงวรรณยุกต์

นักภาษาศาสตร์ได้ศึกษาภาษาเวียดนามและจัดให้อยู่ในภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก เช่นเดียวกับภาษาเขมร ซึ่งเป็นภาษาระบบคำสองพยางค์ (disyllable) และมีลักษณะน้ำเสียง (register) เป็นลักษณะสำคัญของภาษา อีกทั้งเป็นภาษาที่ไม่มีระบบเสียงวรรณยุกต์ แต่ภาษาเวียดนามปัจจุบันได้พัฒนาระบบเสียงวรรณยุกต์ขึ้นใช้ เนื่องจากอิทธิพลของภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์อันได้แก่ภาษาตระกูลไทที่อยู่โดยรอบและภาษาจีนที่เข้ามาปกครองเวียดนามในขณะนั้น

สระในภาษาเวียดนามนั้น ออกเสียงโดยมีวรรณยุกต์ภายใน (thanh หรือ thanh điệu) โดยวรรณยุกต์มีความแตกต่างกันที่

  • ระดับเสียง
  • ความยาว
  • น้ำเสียงขึ้นลง
  • ความหนักแน่น
  • การออกเสียงคอหอย (ลักษณะเส้นเสียง)

เครื่องหมายกำกับวรรณยุกต์นั้น ปกติจะเขียนเหนือหรือใต้สระ [ส่วนใหญ่เขียนไว้เหนือสระ แต่วรรณยุกต์หนั่ง (nặng) เป็นจุดใต้สระ] วรรณยุกต์ทั้ง 6 ในภาษาถิ่นเหนือ (รวมฮานอยด้วย) มีดังนี้

ชื่อ ลักษณะ เครื่องหมาย ตัวอย่าง ตัวอย่างสระ ออกเสียง
งาง (ngang)   'ระดับ' สูงระดับ ˧ (ไม่มีเครื่องหมาย) ma  'ผี'   a อา
ฮเหวี่ยน (huyền)   'แขวน' ต่ำตก ˨˩ `  'แต่'   à อ่า
ซัก (sắc)   'คม' สูงขึ้น ˧˥ ´  'แก้ม, แม่ (ถิ่นใต้) '   á อ๊า
หอย (hỏi)   'ถาม' ต่ำขึ้น ˧˩˧  ̉ mả  'หลุมศพ, สุสาน'    อ๋า
หงา (ngã)   'ตก' สูงขึ้นหยุด ˧˥ˀ ˜  'ม้า (จีน-เวียดนาม), รหัส'   ã อะ-อ๊ะ
หนั่ง (nặng)   'หนัก' ต่ำตกหยุด ˧˨ˀ  ̣ mạ  'สีข้าว'    อะ (เสียงหนัก)

ไวยากรณ์

ภาษาเวียดนามเป็นภาษารูปคำโดดเช่นเดียวกับภาษาจีนและภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อื่นๆ ไวยากรณ์เน้นที่การเรียงลำดับคำและโครงสร้างประโยคมากกว่าการผันคำ แสดงโดยการเพิ่มคำเช่นเดียวกับภาษาไทย ภาษาเวียดนามเป็นภาษาคำโดด แต่ก็มีคำสองพยางค์อยู่เป็นจำนวนมาก การเรียงคำในประโยคเป็นแบบประธาน-กริยา-กรรม

กาล

ปกติแล้วไม่จำเป็นต้องแสดง โดยทั่วไปอดีตแสดงโดยคำว่า đã ปัจจุบันกาลกำลังกระทำ เติม đang อนาคตเติม sẽ

โครงสร้างแสดงหัวข้อ

เป็นโครงสร้างประโยคที่สำคัญในภาษาเวียดนาม ตัวอย่างเช่น Tôi đọc sách này rồi = ฉันอ่านหนังสือนี้แล้ว อาจเรียงประโยคใหม่เป็น Sách này thi tôi đọc rồi = หนังสือนี้น่ะฉันอ่านแล้ว (thi เป็นตัวแสดงหัวข้อ)

พหูพจน์

โดยทั่วไปไม่ต้องแสดง ถ้าแสดงจะใช้คำเติมเข้าไปในประโยค เช่น những, các, chúng

ลักษณนาม

ภาษาเวียดนามมีคำลักษณนามใช้แสดงลักษณะของนามเช่นเดียวกับภาษาไทยและภาษาจีน เช่น con ใช้กับสัตว์ cái ใช้กับสิ่งของไม่มีชีวิต คำลักษณนามบางคำอาจใช้ร่วมกันได้ เช่น cái con

คำสรรพนาม

คำสรรพนามในภาษาเวียดนามต่างจากภาษาอังกฤษ คือคำสรรพนามแต่ละคำไม่ได้ถูกแบ่งอย่างชัดเจนว่าเป็นบุรุษที่ 1 2 หรือ 3 ขึ้นกับผู้พูดและผู้ฟัง นอกจากนั้นยังต้องระมัดระวังในการระบุความสัมพันธ์ทางสังคมซึ่งขึ้นกับอายุและเพศ

การซ้ำคำ

พบมากในภาษาเวียดนามซึ่งเป็นการสร้างคำใหม่ ซึ่งมีความหมายต่างไปจากเดิม เช่นเป็นการลดหรือเพิ่มความเข้มของคำคุณศัพท์

คำศัพท์

คำศัพท์ทางการเมืองและวิทยาศาสตร์โดยมากมาจากภาษาจีน กว่าร้อยละ 70 ของคำศัพท์มีรากศัพท์มาจากภาษาจีน คำประสมหลายคำเป็นการประสมระหว่างคำดั้งเดิมในภาษาเวียดนามกับคำยืมจากภาษาจีน ซึ่งคำเหล่านี้ปัจจุบันมักถูกแทนที่ด้วยคำเวียดนาม นอกจากนี้ยังมีคำยืมจากภาษาฝรั่งเศสและภาษาอังกฤษ เช่น tivi มาจาก TV

ระบบการเขียน

ดูบทความหลักที่: จื๋อโกว๊กหงือ

ก่อนที่ฝรั่งเศสจะเข้ามายังเวียดนามนั้น ภาษาเวียดนามมีระบบการเขียนสองแบบ ซึ่งทั้งสองแบบก็มีที่มาจากอักษรจีนเช่นเดียวกัน

  • จื๋อญอ (chữ nho, 字儒) หรือฮ้านตึ (Hán tự, 漢字) คืออักษรจีนที่ใช้เขียนภาษาจีนโบราณ
  • จื๋อโนม (chữ nôm, 字喃) เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาเวียดนาม โดยนำอักษรจีนมาดัดแปลงเล็กน้อย

ปัจจุบันภาษาเวียดนามเขียนด้วยจื๋อโกว๊กหงือ (chữ Quốc ngữ แปลว่า "อักษรของภาษาประจำชาติ") ซึ่งเป็นอักษรละตินที่เพิ่มเติมเครื่องหมายต่าง ๆ เข้ามาเพื่อให้มีอักษรเพียงพอที่จะใช้เขียนภาษา อักษรดังกล่าวได้รับการคิดค้นขึ้นมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยอาแล็กซ็องดร์ เดอ รอด ซึ่งเป็นมิชชันนารีชาวฝรั่งเศสที่เข้ามาเผยแผ่ศาสนา โดยมีรากฐานมาจากระบบที่มิชชันนารีชาวโปรตุเกสคิดไว้ก่อนหน้านั้น ในระหว่างที่เวียดนามยังเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสนั้น จื๋อโกว๊กหงือได้เป็นอักษรราชการของอาณานิคม ซึ่งได้ทำให้อักษรดังกล่าวเป็นที่แพร่หลายมากขึ้นเรื่อย ๆ จื๋อโกว๊กหงือในปัจจุบันมีรูปแบบการเขียนที่อ้างอิงการออกเสียงของภาษาถิ่นเวียดนามกลาง ซึ่งสระและพยัญชนะท้ายจะคล้ายคลึงกับภาษาถิ่นเหนือ ส่วนพยัญชนะต้นจะคล้ายกับภาษาถิ่นใต้

ตัวอย่างประโยค

คำพูดที่ใช้ในชีวิตประจำวัน

  • Xin chào [ซีนจ่าว] = สวัสดี
  • Bạn [บั่น] = เพื่อน

อ้างอิง

  1. In southern dialects, v is reported to have a spelling pronunciation (i.e., the spelling influences pronunciation) of [vj] or [bj] among educated speakers. However, educated speakers revert to usual [j] in more relaxed speech. Less educated speakers have [j] more consistently throughout their speech. See: Thompson (1959), Thompson (1965: 85, 89, 93, 97-98).
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษาเวียดนาม

ภาษาเว, ยดนาม, เว, ยดนาม, tiếng, việt, เต, ยงเห, ยด, tiếng, việt, việt, ngữ, เป, นภาษาท, วรรณย, กต, และเป, นภาษาทางการของประเทศเว, ยดนาม, เป, นภาษาแม, ของประชากรเว, ยดนามถ, งร, อยละ, รวมถ, งผ, อพยพจากเว, ยดนามประมาณ, านคน, และรวมถ, งชาวเว, ยดนาม, อเมร, นเป, นจ. phasaewiydnam ewiydnam tiếng Việt etiyngeh wiyd tiếng Việt Nam Việt ngữ epnphasathimiwrrnyuktaelaepnphasathangkarkhxngpraethsewiydnam epnphasaaemkhxngprachakrewiydnamthungrxyla 87 rwmthungphuxphyphcakewiydnampraman 2 lankhn aelarwmthungchawewiydnam xemriknepncanwnphxsmkhwrdwy thungaemwacamikaryumkhasphthcakphasacinaelaedimichxksrcinekhiyn aetnkphasasastryngkhngcdphasaewiydnamihepntrakulphasaxxsotrexechiytiksunginklumniphasaewiydnammiphuphudmakthisud 10 ethakhxngphasathimicanwnkhnphudepnxndbrxnglngma khux phasaekhmr indanrabbkarekhiynkhxngphasaewiydnamnn aetedimichtwekhiyncin eriykwa cuxyx txmachawewiydnamidphthnatwekhiyncinephuxichekhiynphasaewiydnam eriykwa cuxonm aetinpccubnewiydnamichtwxksrormnthiphthnakhunodymichchnnarichawfrngess odyekhruxnghmayesrimsthxksrichepnwrrnyuktphasaewiydnamtiếng Việtxxkesiyng tje ˀŋ vje t etiyngehwiyt thangehnux tje ŋ je k etiyngehyiyk thangit praethsthimikarphudewiydnam shrthxemrika kmphucha frngess xxsetreliy cincanwnphuphud70 73 lan imphbwnthi trakulphasaxxsotrexechiytik mxy ekhmr kalngepnthithkethiyng ehwiyd ehmuxngphasaewiydnamrabbkarekhiynxksrlatinsthanphaphthangkarphasathangkarewiydnamrhsphasaISO 639 1viISO 639 2vieISO 639 3vie enuxha 1 trakulphasa 2 saeniyngthxngthin 3 rabbesiyng 3 1 esiyngphyychna 3 2 esiyngsra 3 3 esiyngwrrnyukt 4 iwyakrn 4 1 kal 4 2 okhrngsrangaesdnghwkhx 4 3 phhuphcn 4 4 lksnnam 4 5 khasrrphnam 4 6 karsakha 5 khasphth 6 rabbkarekhiyn 7 twxyangpraoykh 8 xangxingtrakulphasa aekikhphasaewiydnamcdxyuinsakhaehwiyd ehmuxng Viet Muong sungepnsakhahnungintrakulphasamxy ekhmr Mon Khmer hruxtrakulxxsotrexechiytik Austroasiatic prakxbdwyphasaekhmr phasamxy phasamunda epntn aetnkphasasastrbangswnehnwakhwrcdphasaewiydnamihepnxiksakhahnung aeykcakphasamxy ekhmrsaeniyngthxngthin aekikhphasaewiydnammisaeniyngthxngthinthihlakhlay aetodymakthuxwami 3 hlk dngni thinhlk thxngthin chuxinyukhxananikhmkhxngfrngessewiydnamtxnehnux thinhanxy thinxunthangehnux ihfxng aelathinradbcnghwdcanwnmak tngekiyewiydnamtxnklang thinew thinehngaxan thinkwangnam xnnmsungewiydnamtxnit thinisngxn thinaemnaokhng tawntkikl okhchinichnaphasathinehlaniminaesiyng karxxkesiyng aelabangkhrngkmikhasphththiaetktangipbang aetphasathinehwcamikhasphththiaetktangkhxnkhangmakcakphasathinxun wrrnyukt hxy aela hnga mikhwamaetktanginphakhehnux aetklunepnwrrnyuktediywkninphakhit swnphyychna ch aela tr nncaxxkesiyngaetktangkninthinitaelaklang aetrwmepnesiyngediywinthinehnux sahrbkhwamaetktangdaniwyakrnnnimpraktrabbesiyng aekikhesiyngphyychna aekikh esiyngphyychnainphasaewiydnammihnwyesiyngtamtarangthangdanlang odyxksrthangdansayepnxksrthiichekhiynaethnhnwyesiyngnn inphasaewiydnam xksrtrngklangepnsthxksr aeladankhwannepnxksrithythiniymichthbsphth rimfipak pumehnguxk playlinmwn ephdanaekhng ephdanxxn esnesiyngnasik m m m n n n nh ɲ y ng ngh ŋ ngkk imkxng imphnlm p p p t t t tr ʈʂ ʈ c ch c tɕ c c k q k q kkxng b ɓ b đ ɗ dimkxng phnlm th tʰ th kh x kʰ khesiydaethrk imkxng ph f f x s s s ʂ s h h hkxng v v w d z j s y r ʐ ɹ s r gi z j s y g gh ɣ kepid u o w w l l l y i j ysaeniyngtang khxngphasaewiydnam rupaebb rupphyychna ehnux klangtxnehnux klang itphyychnatn x s s s s s s s ss ʂ s mwnlin ʂ s mwnlin ʂ s mwnlin ch tɕ c tɕ c tɕ c tɕ ctr tʂ c mwnlin tʂ c mwnlin tʂ c mwnlin r z s kxng ɻ r mwnlin ɻ r mwnlin ɻ r mwnlin d ɟ kung c kung k kxng j y j ygi z s kxng v 1 v kung f kung w v kung f kung wphyychnathay c k k k k k k kt t t t tt hlng e k t k tt hlng e t t k t k tt hlng i t tch ʲk c k k kng ŋ ng ŋ ng ŋ ng ŋ ngn n n n nnhlng i e n n n nnh ʲŋ y ng ŋ ngesiyngsra aekikh hna klang hlngsung i i i ư ɨ ɯ ux u u u klangsung e e e ơ eː ɤː e x o o o klangta e ɛ ae a e ɤ ɜ e xa o ɔ x ta ă a a a aː a esiyngwrrnyukt aekikh nkphasasastridsuksaphasaewiydnamaelacdihxyuinphasatrakulxxsotrexechiytik echnediywkbphasaekhmr sungepnphasarabbkhasxngphyangkh disyllable aelamilksnanaesiyng register epnlksnasakhykhxngphasa xikthngepnphasathiimmirabbesiyngwrrnyukt aetphasaewiydnampccubnidphthnarabbesiyngwrrnyuktkhunich enuxngcakxiththiphlkhxngphasathimiesiyngwrrnyuktxnidaekphasatrakuliththixyuodyrxbaelaphasacinthiekhamapkkhrxngewiydnaminkhnannsrainphasaewiydnamnn xxkesiyngodymiwrrnyuktphayin thanh hrux thanh điệu odywrrnyuktmikhwamaetktangknthi radbesiyng khwamyaw naesiyngkhunlng khwamhnkaenn karxxkesiyngkhxhxy lksnaesnesiyng ekhruxnghmaykakbwrrnyuktnn pkticaekhiynehnuxhruxitsra swnihyekhiyniwehnuxsra aetwrrnyukthnng nặng epncuditsra wrrnyuktthng 6 inphasathinehnux rwmhanxydwy midngni chux lksna ekhruxnghmay twxyang twxyangsra xxkesiyngngang ngang radb sungradb immiekhruxnghmay ma phi a withiich khxmul xahehwiyn huyền aekhwn tatk ma aet a withiich khxmul xask sắc khm sungkhun ma aekm aem thinit a withiich khxmul xahxy hỏi tham takhun mả hlumsph susan ả withiich khxmul xahnga nga tk sungkhunhyud ˀ ma ma cin ewiydnam rhs a withiich khxmul xa xahnng nặng hnk tatkhyud ˀ mạ sikhaw ạ withiich khxmul xa esiynghnk iwyakrn aekikhphasaewiydnamepnphasarupkhaoddechnediywkbphasacinaelaphasainexechiytawnxxkechiyngitxun iwyakrnennthikareriyngladbkhaaelaokhrngsrangpraoykhmakkwakarphnkha aesdngodykarephimkhaechnediywkbphasaithy phasaewiydnamepnphasakhaodd aetkmikhasxngphyangkhxyuepncanwnmak kareriyngkhainpraoykhepnaebbprathan kriya krrm kal aekikh pktiaelwimcaepntxngaesdng odythwipxditaesdngodykhawa đa pccubnkalkalngkratha etim đang xnakhtetim sẽ okhrngsrangaesdnghwkhx aekikh epnokhrngsrangpraoykhthisakhyinphasaewiydnam twxyangechn Toi đọc sach nay rồi chnxanhnngsuxniaelw xaceriyngpraoykhihmepn Sach nay thi toi đọc rồi hnngsuxninachnxanaelw thi epntwaesdnghwkhx phhuphcn aekikh odythwipimtxngaesdng thaaesdngcaichkhaetimekhaipinpraoykh echn những cac chung lksnnam aekikh phasaewiydnammikhalksnnamichaesdnglksnakhxngnamechnediywkbphasaithyaelaphasacin echn con ichkbstw cai ichkbsingkhxngimmichiwit khalksnnambangkhaxacichrwmknid echn cai con khasrrphnam aekikh khasrrphnaminphasaewiydnamtangcakphasaxngkvs khuxkhasrrphnamaetlakhaimidthukaebngxyangchdecnwaepnburusthi 1 2 hrux 3 khunkbphuphudaelaphufng nxkcaknnyngtxngramdrawnginkarrabukhwamsmphnththangsngkhmsungkhunkbxayuaelaephs karsakha aekikh phbmakinphasaewiydnamsungepnkarsrangkhaihm sungmikhwamhmaytangipcakedim echnepnkarldhruxephimkhwamekhmkhxngkhakhunsphthkhasphth aekikhkhasphththangkaremuxngaelawithyasastrodymakmacakphasacin kwarxyla 70 khxngkhasphthmiraksphthmacakphasacin khaprasmhlaykhaepnkarprasmrahwangkhadngediminphasaewiydnamkbkhayumcakphasacin sungkhaehlanipccubnmkthukaethnthidwykhaewiydnam nxkcakniyngmikhayumcakphasafrngessaelaphasaxngkvs echn tivi macak TVrabbkarekhiyn aekikhdubthkhwamhlkthi cuxokwkhngux kxnthifrngesscaekhamayngewiydnamnn phasaewiydnammirabbkarekhiynsxngaebb sungthngsxngaebbkmithimacakxksrcinechnediywkn cuxyx chữ nho 字儒 hruxhantu Han tự 漢字 khuxxksrcinthiichekhiynphasacinobran cuxonm chữ nom 字喃 epnxksrthiichekhiynphasaewiydnam odynaxksrcinmaddaeplngelknxypccubnphasaewiydnamekhiyndwycuxokwkhngux chữ Quốc ngữ aeplwa xksrkhxngphasapracachati sungepnxksrlatinthiephimetimekhruxnghmaytang ekhamaephuxihmixksrephiyngphxthicaichekhiynphasa xksrdngklawidrbkarkhidkhnkhunmainkhriststwrrsthi 17 odyxaaelksxngdr edx rxd sungepnmichchnnarichawfrngessthiekhamaephyaephsasna odymirakthanmacakrabbthimichchnnarichawoprtuekskhidiwkxnhnann inrahwangthiewiydnamyngepnxananikhmkhxngfrngessnn cuxokwkhnguxidepnxksrrachkarkhxngxananikhm sungidthaihxksrdngklawepnthiaephrhlaymakkhuneruxy cuxokwkhnguxinpccubnmirupaebbkarekhiynthixangxingkarxxkesiyngkhxngphasathinewiydnamklang sungsraaelaphyychnathaycakhlaykhlungkbphasathinehnux swnphyychnatncakhlaykbphasathinittwxyangpraoykh aekikhkhaphudthiichinchiwitpracawn Xin chao sincaw swsdi Bạn bn ephuxnxangxing aekikh In southern dialects v is reported to have a spelling pronunciation i e the spelling influences pronunciation of vj or bj among educated speakers However educated speakers revert to usual j in more relaxed speech Less educated speakers have j more consistently throughout their speech See Thompson 1959 Thompson 1965 85 89 93 97 98 wikiphiediy saranukrmesri inphasaewiydnamekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaewiydnam amp oldid 9398558, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม