fbpx
วิกิพีเดีย

สามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนเจอร์

สามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนเจอร์ (อังกฤษ: Niger Delta) คือบริเวณปากแม่น้ำไนเจอร์ อยู่ทางตอนใต้ของประเทศไนจีเรีย ติดกับอ่าวกินี ปกคลุมพื้นที่มากกว่า 70,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งคิดเป็นพื้นที่ราว 7.5% ของพื้นที่ประเทศไนจีเรียทั้งหมด เป็นบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์มาก บางครั้งก็เรียกแถบนี้ว่า แม่น้ำน้ำมัน (Oil Rivers) เพราะในอดีตสามารถผลิตน้ำมันปาล์มได้เป็นปริมาณมาก

ภาพสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนเจอร์จากอวกาศ ด้านซ้ายมือคือทิศเหนือ

วิวัฒนาการของสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนเจอร์

เป็นกระบวนการที่เริ่มมีการตกสะสมตัวของตะกอนเกิดเป็นสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนเจอร์ในปัจจุบัน โดยเริ่มเกิดขึ้นตั้งแต่ยุคพาลีโอซีนซึ่งเป็นยุคที่มีระดับน้ำทะเลขึ้นสูงสุด บริเวณชายฝั่งอยู่ลึกเข้าไปบนบกห่างจากชายฝั่งปัจจุบันประมาณ 400 เมตร ต่อมาในยุคอีโอซีนระดับน้ำทะเลเริ่มลดลง มีการตกสะสมตัวของตะกอนเกิดเป็นดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนเจอร์จนถึงปัจจุบัน

ลักษณะทั่วไปของสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนเจอร์

สามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนเจอร์ (Niger Delta) เป็นดินดอนสามเหลี่ยมที่เกิดจากแม่น้ำไนเจอร์ ซึ่ง นอกจากนี้ในบริเวณนี้นับว่าเป็นดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำที่มีแหล่งกักเก็บปิโตรเลียมขนาดใหญ่อันดับ 12 ของโลกที่มีอายุในยุคเทอร์เทียรีเมื่อเทียบกับบริเวณอื่นๆ เช่น ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำมิสสิซิปปี หรือ ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำมหาคาม แหล่งปิโตรเลียมบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำนี้คิดเป็นปริมาณก๊าซและน้ำมันสำรองของโลกถึง 5%

 
รูปร่างลักษณะของสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนเจอร์

ลักษณะตะกอนบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนเจอร์

  • ตะกอนที่ตกสะสมตัวในบริเวณนี้เป็นตะกอนในยุคเทอร์เทียรีโดยตะกอนส่วนใหญ่นั้นถูกพัดพามาจากบริเวณบนบกโดยกระบวนการทางน้ำ ลักษณะของสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนเจอร์ที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะคล้าย “เท้านก (bird’s foot)” และแสดงลักษณะการตกสะสมตัวของตะกอนเป็นแบบคืบเข้าไปในทะเล
  • ตั้งแต่ยุคอีโอซีนจนถึงปัจจุบัน ลักษณะการคืบของตะกอนเข้าไปในทะเลของตะกอนบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนเจอร์จะเรียกว่า depobelts ซึ่งแสดงลักษณะของตะกอนในแต่ละขั้นตอนของวิวัฒนาการของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ (Doust and Omatsola, 1990) ลักษณะดังกล่าวเกิดขึ้นในช่วงที่มีระดับน้ำทะเลลดครั้งใหญ่ซึ่งกินอาณาบริเวณถึง 300,000 กิโลเมตร และมีปริมาตรของตะกอนถึง 500,000 กิโลเมตร และมีความหนาของตะกอนมากกว่า 10 กิโลเมตรวัดจากจุดศูนย์กลาง
  • ลักษณะรูปร่างของสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนเจอร์นี้ถูกกระทำโดยปัจจัย 3 ประการดังนี้ คือ จากทางน้ำ, จากปรากฏการณ์น้ำขึ้น-น้ำลง และจากคลื่น แต่ปัจจัยที่มีผลมากที่สุดคือปัจจัยที่มาจากคลื่น โดยลักษณะของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนเจอร์จะเป็นลักษณะของชายหาดที่เรียบขนานไปกับทิศของกระแสคลื่นที่ขนานไปกับหน้าชายหาด

วิวัฒนาการของการเกิดสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนเจอร์

 

  • ยุคครีเทเชียส เป็นยุคก่อนที่จะเกิดแอ่งตะกอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนเจอร์ ในช่วงนั้นเป็นช่วงน้ำทะเลขึ้นสูงไปยังอยู่บริเวณแอ่งตะกอนอะนันบรา (Ananbra basin) ซึ่งอยู่ขึ้นไปทางทิศเหนือของแอ่งตะกอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนเจอร์ประมาณ 400 เมตร ลักษณะของชายฝั่งได้ค้าเข้าหาทะเล ทำให้คลื่นชายฝั่งเคลื่อนที่เข้าหากัน ในยุคนี้ในช่วงที่ระดับน้ำทะเลขึ้นสูงมีการตกสะสมตัวของตะกอนที่มาจากน้ำขึ้น-น้ำลง ส่วนในช่วงที่ระดับน้ำทะเลลดมีการตกสะสมตัวของตะกอนที่มาจากแม่น้ำ และยังมีการตกสะสมของตะกอนจากทะเลในบริเวณนอกชายฝั่งออกไป
  • ยุคพาลีโอซีน เป็นยุคที่มีน้ำทะเลขึ้นครั้งใหญ่ พวกตะกอนขนาดละเอียดตกสะสมในบริเวณทะเลน้ำตื้นซึ่งเป็นบริเวณของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนเจอร์ในปัจจุบัน ตะกอนขนาดละเอียดเหล่านี้ถูกพัดพามาจากบนบกและตกสะสมตัวในทะเลน้ำลึกที่มีสภาพเป็นน้ำนิ่ง มีพลังงานต่ำ และมีปริมาณก๊าซออกซิเจนต่ำ ตกสะสมตัวเป็นชุดหินที่อยู่ล่างสุดของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนเจอร์ มีชื่อว่า ชุดหินอะกาทา (Akata formation)
  • ยุคอีโอซีน ลักษณะของชายฝั่งเริ่มโค้งเข้าหาบนบก ซึ่งทำให้คลื่นชายฝั่งมีทิศทางการเคลื่อนที่แยกออกจากกัน และในช่วงนี้ ปัจจัยโดยคลื่นเริ่มเข้ามามีอิทธิพลต่อการเกิดรูปร่างของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนเจอร์ และในยุคนี้ระดับน้ำทะเลเริ่มมีการลดลง
  • ยุคอีโอซีนตอนต้น - ยุคอีโอซีนตอนกลาง มีการตกสะสมตัวของตะกอนทรายและทรายแป้ง ซึ่งเป็นตะกอนที่มาจาดบริเวณรอยต่อระหว่างบนบกและทะเล เกิดเป็นชุดหินชื่อ ชุดหินแอกบาดา (Agbada Formation)
  • ยุคอีโอซีนตอนปลาย การตกตะกอนเริ่มมีการแสดงลักษณะที่คืบเข้าไปในทะเล
  • ยุคโอลิโกซีน – ยุคไมโอซีนตอนต้น การตกสะสมตัวของตะกอนที่ถูกพัดพามาจากแม่น้ำไนเจอร์เริ่มมีอิธิพลมากขึ้น และกระแสคลื่นมีการพัดพาตะกอนทรายมาตกสะสมตัว

นอกจากนี้ในยุคนี้ยังมีลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกที่ทำให้เกิดโครงสร้างต่างๆเช่น รอยเลื่อน เกิดขึ้นด้วย ทำให้ลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาในชั้นชุดหินแอกบาดานี้ค่อนข้างมีความซับซ้อน

  • ยุคไมโอซีนตอนกลาง – ยุคไมโอซีนตอนปลาย ตะกอนจากแม่น้ำไนเจอร์เริ่มมาตกสะสมมากขึ้น ทำให้ตะกอนส่วนใหญ่ที่ตกสะสมเป็นพวกตะกอนทราย รวมทั้งตะกอนทรายที่ถูกพัดพามาโดยคลื่นอีกด้วย ชั้นตะกอนทรายเหล่านี้ได้ถูกจัดเป็นชุดหินชื่อ ชุดหินเบนิน (Benin Formation)
  • ยุคไมโอซีนตอนปลาย – ปัจจุบัน การคืบไปในทะเลของสามเหลี่ยนมปากแม่น้ำไนเจอร์ค่อนข้างคงที่ และมีการตกสะสมของตะกอนในชุดหินเบนินที่หนามากขึ้น

การลำดับชั้นหินของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนเจอร์

 

สามเหลี่ยมแม่น้ำไนเจอร์สามารถลำดับชั้นหินได้เป็น 3 ชุดหิน คือ

  1. ชุดหินอะกาทา (Akata Formation) มีความหนาประมาณ 6400 เมตร เป็นพวกตะกอนโคลน และ ตะกอนขนาดละเอียด โดยมีทรายแทรกบ้าง โดยมีเปอร์เซนต์ของทรายที่น้อยกว่า 30 % เป็นชั้นตะกอนที่ตกสะสมตัวในสภาพแวดล้อมที่เป็นทะเลน้ำตื้น และยังพบซากดึกดำบรรพที่เป็นแพลงตอนฟอรามินิเฟอรา (Foraminifera)
  2. ชุดหินแอกบาดา (Agbada Formation) มีความหนาของตะกอนประมาณ 3900 เมตร เป็นชั้นที่แทรกสลับกันของตะกอนเนื้อละเอียดและตะกอนทราย ตะกอนทรายในชั้นนี้มีปริมาณถึง 30-70% ลักษณะการตกสะสมตัวของตะกอนเป็นบริเวณสภาพแวดล้อมที่ได้รับอิทธิพลจากน้ำขึ้นน้ำลง
  3. ชุดหินเบนิน (Benin Formation) มีความหนาประมาณ 2500 เมตร ตะกอนส่วนใหญ่เป็นตะกอนทรายโดยมีปริมาณถึง 70-100% ตกสะสมตัวในสภาพแวดล้อมแบบบนบก จากการพัดพาตะกอของแม่น้ำไนเจอร์

อ้างอิง

  1. Magbagbeola.O.A, 2005, Sequence Stratigraphy of Niger Delta, Robertkiri Field, Onshore Nigeria, Master degree thesis, Texas A&M University, 103 p.
  2. Reijers T .J .A., Petters S.W., and Nwajide C.S.,1997, African Basin : Sedimentary Basins of the World-The Niger Delta Basin, p.151-172.
  3. Magbagbeola.O.A, 2005, Sequence Stratigraphy of Niger Delta, Robertkiri Field, Onshore Nigeria, Master degree thesis, Texas A&M University, 103 p.
  4. Michele L. W. Tuttle, Ronald R. Charpentier, and Michael E. Brownfield,1999 ,The Niger Delta Petroleum System: Niger Delta Province, Nigeria, Cameroon, and Equatorial Guinea, Africa: U.S. Geological Survey Open-File Report 99-50-H < http://pubs.usgs.gov/of/1999/ofr-99-0050/OF99-50H/ChapterA.html >
  5. Magbagbeola.O.A, 2005, Sequence Stratigraphy of Niger Delta, Robertkiri Field, Onshore Nigeria, Master degree thesis, Texas A&M University, 103 p.
  6. Michele L. W. Tuttle, Ronald R. Charpentier, and Michael E. Brownfield,1999 ,The Niger Delta Petroleum System: Niger Delta Province, Nigeria, Cameroon, and Equatorial Guinea, Africa: U.S. Geological Survey Open-File Report 99-50-H < http://pubs.usgs.gov/of/1999/ofr-99-0050/OF99-50H/ChapterA.html >
  7. Stacher, P., 1995, Present understanding of the Niger Delta hydrocarbon habitat, in, Oti, M.N., and Postma, G., eds., Geology of Deltas: Rotterdam, A.A. Balkema, p. 257-267.
  8. Doust, H. and E. Omatsola, 1989, Niger Delta: American Association of Petroleum
  9. Short, K.C., and A.J. Stauble, 1967, Outline of Geology of Niger Delta: American
  10. Doust, H. and E. Omatsola, 1989, Niger Delta: American Association of Petroleum
  11. Doust, H. and E. Omatsola, 1989, Niger Delta: American Association of Petroleum
  12. Short, K.C., and A.J. Stauble, 1967, Outline of Geology of Niger Delta: American

สามเหล, ยมปากแม, ำไนเจอร, บทความน, อาจต, องเข, ยนใหม, งหมดเพ, อให, เป, นไปตามมาตรฐานค, ณภาพของว, เด, หร, อกำล, งดำเน, นการอย, ณช, วยเราได, หน, าอภ, ปรายอาจม, อเสนอแนะ, งกฤษ, niger, delta, อบร, เวณปากแม, ำไนเจอร, อย, ทางตอนใต, ของประเทศไนจ, เร, ดก, บอ, าวก, ปกค. bthkhwamnixactxngekhiynihmthnghmdephuxihepniptammatrthankhunphaphkhxngwikiphiediy hruxkalngdaeninkarxyu khunchwyeraid hnaxphiprayxacmikhxesnxaenasamehliympakaemnainecxr xngkvs Niger Delta khuxbriewnpakaemnainecxr xyuthangtxnitkhxngpraethsincieriy tidkbxawkini pkkhlumphunthimakkwa 70 000 tarangkiolemtr sungkhidepnphunthiraw 7 5 khxngphunthipraethsincieriythnghmd 1 epnbriewnthimikhwamxudmsmburnmak bangkhrngkeriykaethbniwa aemnanamn Oil Rivers ephraainxditsamarthphlitnamnpalmidepnprimanmakphaphsamehliympakaemnainecxrcakxwkas dansaymuxkhuxthisehnux enuxha 1 wiwthnakarkhxngsamehliympakaemnainecxr 1 1 lksnathwipkhxngsamehliympakaemnainecxr 1 2 lksnatakxnbriewnsamehliympakaemnainecxr 1 3 wiwthnakarkhxngkarekidsamehliympakaemnainecxr 1 4 karladbchnhinkhxngdindxnsamehliympakaemnainecxr 2 xangxingwiwthnakarkhxngsamehliympakaemnainecxr aekikhepnkrabwnkarthierimmikartksasmtwkhxngtakxnekidepnsamehliympakaemnainecxrinpccubn odyerimekidkhuntngaetyukhphalioxsinsungepnyukhthimiradbnathaelkhunsungsud briewnchayfngxyulukekhaipbnbkhangcakchayfngpccubnpraman 400 emtr txmainyukhxioxsinradbnathaelerimldlng mikartksasmtwkhxngtakxnekidepndindxnsamehliympakaemnainecxrcnthungpccubn lksnathwipkhxngsamehliympakaemnainecxr aekikh samehliympakaemnainecxr Niger Delta epndindxnsamehliymthiekidcakaemnainecxr sung nxkcakniinbriewnninbwaepndindxnsamehliympakaemnathimiaehlngkkekbpiotreliymkhnadihyxndb 12 khxngolkthimixayuinyukhethxrethiyriemuxethiybkbbriewnxun echn dindxnsamehliympakaemnamissisippi hrux dindxnsamehliympakaemnamhakham aehlngpiotreliymbriewndindxnsamehliympakaemnanikhidepnprimankasaelanamnsarxngkhxngolkthung 5 2 rupranglksnakhxngsamehliympakaemnainecxr lksnatakxnbriewnsamehliympakaemnainecxr aekikh takxnthitksasmtwinbriewnniepntakxninyukhethxrethiyriodytakxnswnihynnthukphdphamacakbriewnbnbkodykrabwnkarthangna lksnakhxngsamehliympakaemnainecxrthiekidkhuncamilksnakhlay ethank bird s foot aelaaesdnglksnakartksasmtwkhxngtakxnepnaebbkhubekhaipinthael 3 tngaetyukhxioxsincnthungpccubn lksnakarkhubkhxngtakxnekhaipinthaelkhxngtakxnbriewnsamehliympakaemnainecxrcaeriykwa depobelts sungaesdnglksnakhxngtakxninaetlakhntxnkhxngwiwthnakarkhxngdindxnsamehliympakaemna Doust and Omatsola 1990 lksnadngklawekidkhuninchwngthimiradbnathaelldkhrngihysungkinxanabriewnthung 300 000 kiolemtr aelamiprimatrkhxngtakxnthung 500 000 kiolemtr aelamikhwamhnakhxngtakxnmakkwa 10 kiolemtrwdcakcudsunyklang 4 lksnaruprangkhxngsamehliympakaemnainecxrnithukkrathaodypccy 3 prakardngni khux cakthangna cakpraktkarnnakhun nalng aelacakkhlun aetpccythimiphlmakthisudkhuxpccythimacakkhlun odylksnakhxngdindxnsamehliympakaemnainecxrcaepnlksnakhxngchayhadthieriybkhnanipkbthiskhxngkraaeskhlunthikhnanipkbhnachayhad 5 wiwthnakarkhxngkarekidsamehliympakaemnainecxr aekikh yukhkhriethechiys epnyukhkxnthicaekidaexngtakxnsamehliympakaemnainecxr inchwngnnepnchwngnathaelkhunsungipyngxyubriewnaexngtakxnxannbra Ananbra basin sungxyukhunipthangthisehnuxkhxngaexngtakxnsamehliympakaemnainecxrpraman 400 emtr lksnakhxngchayfngidkhaekhahathael thaihkhlunchayfngekhluxnthiekhahakn inyukhniinchwngthiradbnathaelkhunsungmikartksasmtwkhxngtakxnthimacaknakhun nalng swninchwngthiradbnathaelldmikartksasmtwkhxngtakxnthimacakaemna aelayngmikartksasmkhxngtakxncakthaelinbriewnnxkchayfngxxkip 6 yukhphalioxsin epnyukhthiminathaelkhunkhrngihy phwktakxnkhnadlaexiydtksasminbriewnthaelnatunsungepnbriewnkhxngdindxnsamehliympakaemnainecxrinpccubn takxnkhnadlaexiydehlanithukphdphamacakbnbkaelatksasmtwinthaelnalukthimisphaphepnnaning miphlngnganta aelamiprimankasxxksiecnta 7 tksasmtwepnchudhinthixyulangsudkhxngdindxnsamehliympakaemnainecxr michuxwa chudhinxakatha Akata formation yukhxioxsin lksnakhxngchayfngerimokhngekhahabnbk sungthaihkhlunchayfngmithisthangkarekhluxnthiaeykxxkcakkn aelainchwngni pccyodykhlunerimekhamamixiththiphltxkarekidruprangkhxngdindxnsamehliympakaemnainecxr aelainyukhniradbnathaelerimmikarldlng yukhxioxsintxntn yukhxioxsintxnklang mikartksasmtwkhxngtakxnthrayaelathrayaepng sungepntakxnthimacadbriewnrxytxrahwangbnbkaelathael ekidepnchudhinchux chudhinaexkbada Agbada Formation 8 yukhxioxsintxnplay kartktakxnerimmikaraesdnglksnathikhubekhaipinthael yukhoxlioksin yukhimoxsintxntn kartksasmtwkhxngtakxnthithukphdphamacakaemnainecxrerimmixithiphlmakkhun aelakraaeskhlunmikarphdphatakxnthraymatksasmtwnxkcakniinyukhniyngmilksnakarekhluxnthikhxngaephnepluxkolkthithaihekidokhrngsrangtangechn rxyeluxn ekidkhundwy thaihlksnaokhrngsrangthangthrniwithyainchnchudhinaexkbadanikhxnkhangmikhwamsbsxn yukhimoxsintxnklang yukhimoxsintxnplay takxncakaemnainecxrerimmatksasmmakkhun thaihtakxnswnihythitksasmepnphwktakxnthray rwmthngtakxnthraythithukphdphamaodykhlunxikdwy chntakxnthrayehlaniidthukcdepnchudhinchux chudhinebnin Benin Formation 9 yukhimoxsintxnplay pccubn karkhubipinthaelkhxngsamehliynmpakaemnainecxrkhxnkhangkhngthi aelamikartksasmkhxngtakxninchudhinebninthihnamakkhunkarladbchnhinkhxngdindxnsamehliympakaemnainecxr aekikh samehliymaemnainecxrsamarthladbchnhinidepn 3 chudhin khux chudhinxakatha Akata Formation mikhwamhnapraman 6400 emtr epnphwktakxnokhln aela takxnkhnadlaexiyd odymithrayaethrkbang odymiepxresntkhxngthraythinxykwa 30 epnchntakxnthitksasmtwinsphaphaewdlxmthiepnthaelnatun 10 aelayngphbsakdukdabrrphthiepnaephlngtxnfxraminiefxra Foraminifera chudhinaexkbada Agbada Formation mikhwamhnakhxngtakxnpraman 3900 emtr epnchnthiaethrkslbknkhxngtakxnenuxlaexiydaelatakxnthray takxnthrayinchnnimiprimanthung 30 70 lksnakartksasmtwkhxngtakxnepnbriewnsphaphaewdlxmthiidrbxiththiphlcaknakhunnalng 11 chudhinebnin Benin Formation mikhwamhnapraman 2500 emtr takxnswnihyepntakxnthrayodymiprimanthung 70 100 tksasmtwinsphaphaewdlxmaebbbnbk cakkarphdphatakxkhxngaemnainecxr 12 xangxing aekikh Magbagbeola O A 2005 Sequence Stratigraphy of Niger Delta Robertkiri Field Onshore Nigeria Master degree thesis Texas A amp M University 103 p Reijers T J A Petters S W and Nwajide C S 1997 African Basin Sedimentary Basins of the World The Niger Delta Basin p 151 172 Magbagbeola O A 2005 Sequence Stratigraphy of Niger Delta Robertkiri Field Onshore Nigeria Master degree thesis Texas A amp M University 103 p Michele L W Tuttle Ronald R Charpentier and Michael E Brownfield 1999 The Niger Delta Petroleum System Niger Delta Province Nigeria Cameroon and Equatorial Guinea Africa U S Geological Survey Open File Report 99 50 H lt http pubs usgs gov of 1999 ofr 99 0050 OF99 50H ChapterA html gt Magbagbeola O A 2005 Sequence Stratigraphy of Niger Delta Robertkiri Field Onshore Nigeria Master degree thesis Texas A amp M University 103 p Michele L W Tuttle Ronald R Charpentier and Michael E Brownfield 1999 The Niger Delta Petroleum System Niger Delta Province Nigeria Cameroon and Equatorial Guinea Africa U S Geological Survey Open File Report 99 50 H lt http pubs usgs gov of 1999 ofr 99 0050 OF99 50H ChapterA html gt Stacher P 1995 Present understanding of the Niger Delta hydrocarbon habitat in Oti M N and Postma G eds Geology of Deltas Rotterdam A A Balkema p 257 267 Doust H and E Omatsola 1989 Niger Delta American Association of Petroleum Short K C and A J Stauble 1967 Outline of Geology of Niger Delta American Doust H and E Omatsola 1989 Niger Delta American Association of Petroleum Doust H and E Omatsola 1989 Niger Delta American Association of Petroleum Short K C and A J Stauble 1967 Outline of Geology of Niger Delta Americanekhathungcak https th wikipedia org w index php title samehliympakaemnainecxr amp oldid 4944270, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม