fbpx
วิกิพีเดีย

หนานหมาน

หนานหมาน (จีน: 南蠻; ยฺหวิดเพ็ง: Naam4 Maan4; เป่อ่วยยี: Lâm-bân, แปลว่า อนารยชนทางใต้) เดิมเป็นชื่อเรียกของชนเผ่าบางกลุ่มในภาคใต้ของจีน โดย 3 ราชวงศ์ ในสมัยราชวงศ์เซี่ยจนถึงสมัยราชวงศ์โจว หรือ ชนชาติในที่ราบลุ่มภาคกลาง

หนานหมาน
ภูมิศาสตร์ของราชวงศ์โจว: หฺวาเซี่ยถูกล้อมรอบด้วยสี่อนารยชน ได้แก่ ตงอี๋ทางเหนือ หนานหมานทางใต้ ซีหรงทางตะวันตก และเป่ย์ตี๋ทางเหนือ
อักษรจีนตัวเต็ม南蠻
อักษรจีนตัวย่อ南蛮
ความหมายตามตัวอักษรหมานใต้
แผนที่ซื่ออี๋แบบเอาจีนเป็นศูนย์กลาง

ชนชาติฮั่น ซึ่งวิวัฒนาการมาจากชนเผ่าต่าง ๆ ในจิ่วโจวสืบทอดชื่อนี้และใช้แทนชนชาติต่างชาติที่ไม่ใช่ชาวฮั่นในภาคใต้ ในมุมมองแบบเอาชาวจีนเป็นศูนย์กลางแล้ว ซีหรง, ตงอี๋, เป่ย์ตี๋ และหนานหมาน ถูกเรียกรวมกันว่าซื่ออี๋ (四夷)

บางแนวคิดบ่งบอกให้เห็นว่าดินแดนของราชวงศ์ซ่งใต้ ในอดีตถูกชาวมองโกล เรียกว่า หมานจึกั๋ว (蠻子國) ซึ่งหมายถึงแดนเถื่อน ส่วนชาวแมนจูเรียกชาวฮั่นว่า หมานจึ (蠻子) และ กองทัพราชวงศ์ชิงเองก็เรียกชาวฮั่นว่า หมานจึ (蠻子)

"หนานหมาน" ก่อนยุคฉิน แก้

กษัตริย์แห่งฉู่เคยเรียกตัวเองว่า หมานอี๋ (蠻夷) ชาวจิ้นและชาวเจิ้งต่างก็เรียกพวกเขาว่าจิงหมาน (荊蠻) และต่อมาชาวฉู่ก็กลายเป็นหนึ่งในกลุ่มที่ถูกเรียกว่า จูเซี่ย (諸夏) นอกจากนี้ ราชวงศ์โจวใช้คำว่า 蠻 เรียกกลุ่มชนเผ่าอื่น ๆ ในสมัยนั้น เช่นพวก เยวี่ย (越), ยง (庸), ไป่ผู (百濮), ปา (巴), สู่ (蜀), เจียวเหยา (僬僥), เต่าอี๋ (島夷), ซานเหมียว (三苗) เหออี๋ (和夷)

นักวิชาการชื่อหลู เหม่ย์ซง (盧美松) เชื่อว่า 蠻 เป็นคำที่เรียกตัวเอง หมายถึง "คน, ประชนชน"

นักภาษาศาสตร์ ไป๋ อีผิง (白一平) และซาเจียเอ่อร์ (沙加爾) ได้รื้อฟื้นการสร้างการออกเสียงของภาษาจีนโบราณขึ้นมาใหม่ แล้วมองว่า 蠻 ในภาษาจีนโบราณออกเสียงว่า *mˤro[n] ซึ่งคล้ายกับคำว่า 閩 ซึ่งใช้เรียกกลุ่มชนเผ่าทางใต้ซึ่งอ่านว่า *mrə[n] มาก

สวี ซวี่เซิง (徐旭生) มองว่าต้นกำเนิดที่สำคัญทั้งสามของชาวจีนคือเผ่าหัวเซี่ย, ตงอี๋ และ หนานหมาน

"หนานหมาน" ในฐานะคนนอกเผ่า แก้

พวกต่างชาติที่จัดอยู่ในกลุ่มหนานหมานได้แก่: หลินอี๋ (林邑), ฝูหนาน (扶南), เหลียวเหริน (獠人), หลี่จู๋ (俚族), ผานผาน (盤盤), หลางหยาซิว (狼牙脩) , ซือจึกั๋ว (師子國), หนานเจ้า (南詔), ซื่อลี่ฝัวซื่อ (室利佛逝), หนานผิงเหลียว (南平獠), เปียวกั๋ว (驃國), เจินลา (真臘), ตงเซี่ยหมาน (東謝蠻), ซีเจ้าหมาน (西趙蠻) ฯลฯ

ตั้งแต่สมัยราชวงศ์สุยและถัง ชนกลุ่มน้อยทางตอนใต้เรียกว่าถงหมาน (峒蠻) และ ต้งหมาน (洞蠻) ในช่วงราชวงศ์ชิง มีบางส่วนมองว่าชาวซูงการ์ เรียกชาวแมนจูว่า หมานจึ

南蠻 ในวัฒนธรรมญี่ปุ่นหมายถึงชาวยุโรปตั้งแต่ได้เริ่มทำการค้ากับยุโรปในศตวรรษที่ 15 (ดูรายละเอียดที่ ศิลปะนัมบัง)

อ่านเพิ่มเติม แก้

  《周書·卷49》,出自令狐德棻《周書》
  《舊唐書·卷197》,出自刘昫《舊唐書》

อ้างอิง แก้

  1. 《尔雅·释地》:“九夷、七戎、六蛮,谓之四海。”郭璞注:“六蛮在南。”
  2. . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-05-25. สืบค้นเมื่อ 2018-05-25.
  3. 《中国历史文物》编辑部,《中國歷史文物》(第1-6期),2008年,第26頁
  4. 《明實錄.神宗.卷五百二十四》萬曆四十二年九月壬戌,廵按山東御史翟鳳翀疏言:「自奴酋反側...向來夷漢一家,墩臺俱廢哨瞭不設,夷人假入市伺虛實,漢人亦出邊透漏消息,且聞高淮一撤參隨司房等役半投東夷,與近年懼罪脫逃之人俱以奴寨為窟穴,奴酋特築一城居之,號曰蠻子城,其人往來內地,人不知覺...。」
  5. 《嘉定乙酉紀事》:「丁每遇一人,輒呼蠻子獻寶,其入悉取腰纏奉之,意滿方釋。遇他兵,勒取如前。所獻不多,輒砍三刀。至物盡則殺。」
  6. 《史記.卷四十.楚世家第十》
  7. 劉寶才《先秦史》,五南圖書出版,第330頁
  8. 《左傳.襄公十三年》秋,楚共王卒,子囊謀諡,大夫曰:「君有命矣。」子囊曰:「君命以共,若之何毀之?赫赫楚國,而君臨之,撫有蠻夷,奄征南海,以屬諸夏。而知其過,可不謂共乎!請謚之共。」大夫從之。
  9. 《史記·太史公自序》春秋之後,陪臣秉政,彊國相王;以至于秦,卒并諸夏,滅封地,擅其號。作六國年表第三。
  10. 簡榮聰. "〈臺閩文化的歷史觀(下)〉". 《臺灣源流》 (ภาษาจีนกลางสำเนียงไต้หวัน). 台灣: 臺灣省各姓淵源硏究學會 (第21期).
  11. Baxter, William H. and Laurent Sagart. 2014. Old Chinese: A New Reconstruction. Oxford University Press, ISBN 978-0-19-994537-5.
  12. 徐旭生《中國古史的傳說時代》:「華夏、夷、蠻三族實為秦漢間所稱中國人的三個主要來源。」
  13. 《晉書.卷九十七.列傳第六十七.四夷傳.南蠻》條
  14. 《南齊書卷五十八》
  15. 《魏書.卷一百一.列傳第八十九》:「獠者,蓋南蠻之別種。」
  16. 《宋書卷九十七》
  17. 《梁書卷五十四》
  18. 《大義覺迷錄》:「滿洲人皆恥附於漢人之列,準噶爾呼滿洲為蠻子,滿洲聞之,莫不忿恨之。」
  19. Ratliff, Martha (2010). Hmong–Mien language history. Canberra, Australia: Pacific Linguistics. ISBN 0-85883-615-7.

หนานหมาน, 南蠻, หว, ดเพ, naam4, maan4, เป, วยย, lâm, bân, แปลว, อนารยชนทางใต, เด, มเป, นช, อเร, ยกของชนเผ, าบางกล, มในภาคใต, ของจ, โดย, ราชวงศ, ในสม, ยราชวงศ, เซ, ยจนถ, งสม, ยราชวงศ, โจว, หร, ชนชาต, ในท, ราบล, มภาคกลาง, ศาสตร, ของราชวงศ, โจว, วาเซ, ยถ, กล, อมรอบ. hnanhman cin 南蠻 y hwidephng Naam4 Maan4 epxwyyi Lam ban aeplwa xnarychnthangit edimepnchuxeriykkhxngchnephabangkluminphakhitkhxngcin ody 3 rachwngs insmyrachwngsesiycnthungsmyrachwngsocw hrux chnchatiinthirablumphakhklang 1 hnanhmanphumisastrkhxngrachwngsocw h waesiythuklxmrxbdwysixnarychn idaek tngxithangehnux hnanhmanthangit sihrngthangtawntk aelaepytithangehnuxxksrcintwetm南蠻xksrcintwyx南蛮khwamhmaytamtwxksrhmanitkarthxdesiyngphasacinklangmatrthanhny hwiphinxinNanmanewd iclsNan manphasaaekhaphkfasuxNam manphasakwangtungmatrthany hwidephngNaam4 Maan4phasahminitepxwyyiphasahkekiynLam banithhlwLam banphasahmintawnxxkpngngwecyphasahkciwNang mangaephnthisuxxiaebbexacinepnsunyklangchnchatihn 2 sungwiwthnakarmacakchnephatang inciwocwsubthxdchuxniaelaichaethnchnchatitangchatithiimichchawhninphakhit inmummxngaebbexachawcinepnsunyklangaelw sihrng tngxi epyti aelahnanhman thukeriykrwmknwasuxxi 四夷 bangaenwkhidbngbxkihehnwadinaednkhxngrachwngssngit inxditthukchawmxngokl eriykwa hmancukw 蠻子國 sunghmaythungaednethuxn 3 swnchawaemncueriykchawhnwa hmancu 蠻子 4 aela kxngthphrachwngschingexngkeriykchawhnwa hmancu 蠻子 5 enuxha 1 hnanhman kxnyukhchin 2 hnanhman inthanakhnnxkepha 3 xanephimetim 4 xangxing hnanhman kxnyukhchin aekkstriyaehngchuekhyeriyktwexngwa hmanxi 蠻夷 6 chawcinaelachawecingtangkeriykphwkekhawacinghman 荊蠻 7 aelatxmachawchukklayepnhnunginklumthithukeriykwa cuesiy 諸夏 8 9 nxkcakni rachwngsocwichkhawa 蠻 eriykklumchnephaxun insmynn echnphwk eywiy 越 yng 庸 ipphu 百濮 pa 巴 su 蜀 eciywehya 僬僥 etaxi 島夷 sanehmiyw 三苗 ehxxi 和夷 nkwichakarchuxhlu ehmysng 盧美松 echuxwa 蠻 epnkhathieriyktwexng hmaythung khn prachnchn 10 nkphasasastr ip xiphing 白一平 aelasaeciyexxr 沙加爾 idruxfunkarsrangkarxxkesiyngkhxngphasacinobrankhunmaihm aelwmxngwa 蠻 inphasacinobranxxkesiyngwa mˤro n sungkhlaykbkhawa 閩 sungicheriykklumchnephathangitsungxanwa mre n mak 11 swi swiesing 徐旭生 mxngwatnkaenidthisakhythngsamkhxngchawcinkhuxephahwesiy tngxi aela hnanhman 12 hnanhman inthanakhnnxkepha aekphwktangchatithicdxyuinklumhnanhmanidaek hlinxi 林邑 fuhnan 扶南 13 14 ehliywehrin 獠人 15 hlicu 俚族 16 phanphan 盤盤 hlanghyasiw 狼牙脩 suxcukw 師子國 17 hnaneca 南詔 suxlifwsux 室利佛逝 hnanphingehliyw 南平獠 epiywkw 驃國 ecinla 真臘 tngesiyhman 東謝蠻 siecahman 西趙蠻 ltngaetsmyrachwngssuyaelathng chnklumnxythangtxniteriykwathnghman 峒蠻 aela tnghman 洞蠻 inchwngrachwngsching mibangswnmxngwachawsungkar eriykchawaemncuwa hmancu 18 南蠻 inwthnthrrmyipunhmaythungchawyuorptngaetiderimthakarkhakbyuorpinstwrrsthi 15 duraylaexiydthi silpanmbng 19 xanephimetim aek nbsp 周書 卷49 出自令狐德棻 周書 nbsp 舊唐書 卷197 出自刘昫 舊唐書 xangxing aek 尔雅 释地 九夷 七戎 六蛮 谓之四海 郭璞注 六蛮在南 汉族名称的来历 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2018 05 25 subkhnemux 2018 05 25 中国历史文物 编辑部 中國歷史文物 第1 6期 2008年 第26頁 明實錄 神宗 卷五百二十四 萬曆四十二年九月壬戌 廵按山東御史翟鳳翀疏言 自奴酋反側 向來夷漢一家 墩臺俱廢哨瞭不設 夷人假入市伺虛實 漢人亦出邊透漏消息 且聞高淮一撤參隨司房等役半投東夷 與近年懼罪脫逃之人俱以奴寨為窟穴 奴酋特築一城居之 號曰蠻子城 其人往來內地 人不知覺 嘉定乙酉紀事 丁每遇一人 輒呼蠻子獻寶 其入悉取腰纏奉之 意滿方釋 遇他兵 勒取如前 所獻不多 輒砍三刀 至物盡則殺 史記 卷四十 楚世家第十 劉寶才 先秦史 五南圖書出版 第330頁 左傳 襄公十三年 秋 楚共王卒 子囊謀諡 大夫曰 君有命矣 子囊曰 君命以共 若之何毀之 赫赫楚國 而君臨之 撫有蠻夷 奄征南海 以屬諸夏 而知其過 可不謂共乎 請謚之共 大夫從之 史記 太史公自序 春秋之後 陪臣秉政 彊國相王 以至于秦 卒并諸夏 滅封地 擅其號 作六國年表第三 簡榮聰 臺閩文化的歷史觀 下 臺灣源流 phasacinklangsaeniyngithwn 台灣 臺灣省各姓淵源硏究學會 第21期 Baxter William H and Laurent Sagart 2014 Old Chinese A New Reconstruction Oxford University Press ISBN 978 0 19 994537 5 徐旭生 中國古史的傳說時代 華夏 夷 蠻三族實為秦漢間所稱中國人的三個主要來源 晉書 卷九十七 列傳第六十七 四夷傳 南蠻 條 南齊書卷五十八 魏書 卷一百一 列傳第八十九 獠者 蓋南蠻之別種 宋書卷九十七 梁書卷五十四 大義覺迷錄 滿洲人皆恥附於漢人之列 準噶爾呼滿洲為蠻子 滿洲聞之 莫不忿恨之 Ratliff Martha 2010 Hmong Mien language history Canberra Australia Pacific Linguistics ISBN 0 85883 615 7 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title hnanhman amp oldid 10948458, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม