fbpx
วิกิพีเดีย

หมายเหตุ

บทความนี้เกี่ยวกับการเรียงพิมพ์ สำหรับข้อความในรหัสของโปรแกรม ดูที่ หมายเหตุ (การเขียนโปรแกรม)

หมายเหตุ หรือ เชิงอรรถ คือข้อความที่วางอยู่ที่ตำแหน่งล่างสุดของหน้าในหนังสือหรือเอกสาร หรือที่ตำแหน่งจบบท จบเล่ม หรือข้อความทั้งหมด เนื้อหาของหมายเหตุสามารถใส่ความเห็นของผู้แต่งจากข้อความหลัก หรือการอ้างอิงงานเขียนที่สนับสนุนข้อความ หรือทั้งสองอย่าง การระบุหมายเหตุตามปกติกระทำโดยกำกับตัวเลขแบบตัวยกตามหลังส่วนของข้อความที่อ้างถึงหมายเหตุทันที ตัวอย่างเช่น

ความคิดที่หนึ่ง1 สำหรับหมายเหตุที่หนึ่ง ความคิดที่สอง2 สำหรับหมายเหตุที่สอง เป็นต้น

ในบางโอกาส ตัวเลขนั้นก็คลุมด้วยวงเล็บโค้งหรือวงเล็บเหลี่ยมเช่น [1] สัญลักษณ์สำหรับการเรียงพิมพ์อย่างเช่นดอกจัน (*) หรือกริช (แด็กเกอร์) (†) ก็อาจนำมาใช้สำหรับบ่งชี้ตำแหน่งหมายเหตุด้วย ซึ่งสัญลักษณ์ต่าง ๆ จะถูกใช้ตามลำดับดังนี้ *, †, ‡, §, ‖, ¶ ตามแบบประเพณี เอกสารหลายชนิดอย่างเช่นตารางเดินรถ ใช้สัญลักษณ์แตกต่างกันมากมาย รวมทั้งตัวเลขและตัวอักษรด้วย เพื่อสื่อให้ผู้อ่านทราบถึงหมายเหตุเฉพาะต่าง ๆ

อ้างอิง

  1. Robert Bringhurst (2005). The Elements of Typographic Style (version 3.1). Point Roberts, WA: Hartley and Marks. pp 68–69. Bringhurst ยังกล่าวต่อไปอีกว่า “แต่เกินกว่า ... ดับเบิลแด็กเกอร์ ลำดับนี้ไม่เป็นที่คุ้นเคยแก่ผู้อ่านส่วนใหญ่ และก็ไม่เคยเป็นมาก่อน”

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

  • Grafton, Anthony (2001). The Footnote: A Curious History. Cambridge, Mass.: Harvard University Press. ISBN 0-674-90215-7.
  • Zerby, Chuck (2002). The Devil's Details: A History of Footnotes. New York: Simon & Schuster.

หมายเหต, บทความน, เก, ยวก, บการเร, ยงพ, มพ, สำหร, บข, อความในรห, สของโปรแกรม, การเข, ยนโปรแกรม, หร, เช, งอรรถ, อข, อความท, วางอย, ตำแหน, งล, างส, ดของหน, าในหน, งส, อหร, อเอกสาร, หร, อท, ตำแหน, งจบบท, จบเล, หร, อข, อความท, งหมด, เน, อหาของสามารถใส, ความเห, นขอ. bthkhwamniekiywkbkareriyngphimph sahrbkhxkhwaminrhskhxngopraekrm duthi hmayehtu karekhiynopraekrm hmayehtu hrux echingxrrth khuxkhxkhwamthiwangxyuthitaaehnnglangsudkhxnghnainhnngsuxhruxexksar hruxthitaaehnngcbbth cbelm hruxkhxkhwamthnghmd enuxhakhxnghmayehtusamarthiskhwamehnkhxngphuaetngcakkhxkhwamhlk hruxkarxangxingnganekhiynthisnbsnunkhxkhwam hruxthngsxngxyang karrabuhmayehtutampktikrathaodykakbtwelkhaebbtwyktamhlngswnkhxngkhxkhwamthixangthunghmayehtuthnthi twxyangechn khwamkhidthihnung1 sahrbhmayehtuthihnung khwamkhidthisxng2 sahrbhmayehtuthisxng epntn dd inbangoxkas twelkhnnkkhlumdwywngelbokhnghruxwngelbehliymechn 1 sylksnsahrbkareriyngphimphxyangechndxkcn hruxkrich aedkekxr kxacnamaichsahrbbngchitaaehnnghmayehtudwy sungsylksntang cathukichtamladbdngni tamaebbpraephni 1 exksarhlaychnidxyangechntarangedinrth ichsylksnaetktangknmakmay rwmthngtwelkhaelatwxksrdwy ephuxsuxihphuxanthrabthunghmayehtuechphaatang xangxing aekikh Robert Bringhurst 2005 The Elements of Typographic Style version 3 1 Point Roberts WA Hartley and Marks pp 68 69 Bringhurst yngklawtxipxikwa aetekinkwa dbebilaedkekxr ladbniimepnthikhunekhyaekphuxanswnihy aelakimekhyepnmakxn hnngsuxxanephimetim aekikhGrafton Anthony 2001 The Footnote A Curious History Cambridge Mass Harvard University Press ISBN 0 674 90215 7 Zerby Chuck 2002 The Devil s Details A History of Footnotes New York Simon amp Schuster bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title hmayehtu amp oldid 8443533, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม