fbpx
วิกิพีเดีย

อรรธนารีศวร

อรรธนารีศวร (สันสกฤต: अर्धनारीश्वर, Ardhanārīśwara) เป็นรูปรวมเพศ (androgynous) ของเทพเจ้าฮินดูสององค์คือพระศิวะและพระปารวตี (ต่อมามักเรียกว่าเทวี, ศักติ และพระแม่อุมา) ลักษณะกายแบ่งครึ่งตรงกลางตามแนวตั้ง เท่า ๆ กัน ออกเป็นสองส่วน ครึ่งทางขวามือเป็นเพศบุรุษ คือพระศิวะ มีพระลักษณะแบบพะศิวปางทั่วไป

อรรธนารีศวร
พระอรธนารีศวร
ชื่อในอักษรเทวนาครีअर्धनारीश्वर
ชื่อในการทับศัพท์ภาษาสันสกฤตArdhanārīśvara
ส่วนเกี่ยวข้องปางรวมของพระศิวะและพระปารวตี
อาวุธตรีศุล
พาหนะโคนนทิ (โดยทั่วไป), สิงโต (รวมด้วยบางครั้ง)

รูปเคารพพระอรธนารีศวรที่เก่าแก่ที่สุดที่พบมาจากยุคจักรวรรดิกุษาณะ ราวคริสต์ศตวรรษที่หนึ่ง รูปเคารพมีการพัฒนาและสมบูรณ์ในยุคจักรวรรดิคุปตะ มีการระบุตำนานและประติมานวิทยาของพระอรธนารีศวรในปุราณะต่าง ๆ พระอรธนารีศวรสามารถพบเคารพทั่วไปตามโบสถ์พราหมณ์ส่วนใหญ่ที่มีพระศิวะเป็นองค์ประธาาน ถึงแม้ว่าโบสถ์พราหมณ์ที่สร้างโดยมีพระอรธนารีศวรเป็นองค์ประธานโดยตรงจริง ๆ มีอยู่ไม่มาก

พระนาม

คำว่าอรรธนารีศวร แปลตรงตัวว่า "เทพเจ้าบุรุษผู้ครึ่งหนึ่งทรงเป็นสตรี" พระนามอื่น ๆ ที่พบ เช่น อรรธนรนารี (अर्धनरनारी; ครึ่งบุรุษ-สตรี), อรรธนารีนเฏศวร (Ardhanarinateshvara; นฏราชผู้ทรงมีครึ่งหนึ่งเป็นสตรี), ปรังคทะ (Parangada), นรนารี (Naranari; บุรุษ-สตรี), อัมมิอัปปัน (Ammiappan; บิดา-มารดา ในภาษาทมิฬ) และ อรรธยุวตีศวร (เทพเจ้าบุรุษที่ทรงมีครึ่งหนึ่งเป็นยุวสตรี ในภาษาอัสสัม) เป็นต้น ในมหิมนสตวา (Mahimnastava) งานเขียนยุคคุปตะ เรียกปางนี้ว่า เทหรธฆัตนะ (dehardhaghatana; เขาและเธอเป็นครึ่งของกายหนึ่งเดียว) ส่วนในพฤหัตสังหิตา (Bṛhat Saṃhitā) เรียกว่า อรธ-เคารีศวร (Ardha-Gaurishvara; เทพเจ้าบุรุษซึ่งครึ่งหนึ่งเป็นผู้ที่ยุติธรรม คำว่า “เคารี” ซึ่งแปลว่าผู้ยุติธรรมในที่นี้คือพระปารวตี) และในวิษณุธรรโมตตรปุราณะ (Vishnudharmottara Purana) เรียกสั้น ๆ เพียง เคารีศวร (Gaurishvara; เทพเจ้าบุรุษ, พระสวามีของพระเคารี

ต้นกำเนิดและรูปเคารพในยุคแรก

 
เศียรพระอรรธารีศวรยุคต้นกุษาณะ ค้นพบที่ราชฆัต ปัจจุบันจัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์มฐุรา

แนวคิดเรื่องพระอรรธนารีศวรนั้นได้รับแรงบันดาลใจมาจากทั้งตัวละครในลักษณะรวมรูปที่พบในวรรณกรรมพระเวท พระยะมะ-ยะมี, คำอธิบายในพระเวทที่ระบุพระผู้สร้างในยุคแรก วิศวรูป หรือ ปรชปตี กับ เทพเจ้าแห่งไฟ อัคนี เป็น “กระทิงที่เป็นวัวด้วย”, อาตมัน (วิญญาณ) ในรูปมนุษย์จักรวาลรวมเพศ ปุรุษ ที่ระบุในพริหัถรันยกาอุปนิศัท และตำนานกรีกโบราณที่พูดถึง รูปรวมเพศของเฮอร์มาโพรดิตุสและพริเกียน แอกดิสติส

แนวคิดเรื่องพระอรรธนารีศวรนั้นมีต้นกำเนิดในจักรวรรดิกุษาณะและกรีกโบราณตามลำดับ ประติมานวิทยาเริ่มในสมัยกุษาณะ (ค.ศ. 30-375) และสมบูรณ์ในยุคคุปตะ (ค.ศ. 320-600) แผ่นจารึกยุคกุษาณะจากยุคกลางศตวรรษที่หนึ่งที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑ์มฐุราแสดงให้เห็นภาพครึ่งบุรุษ-ครึ่งสตรี ท่ามกลางพระวิษณุ คชลักษมี และ ท้าวกุเวร ครึ่งที่เป็นบุรุษมีอวัยวะเพศแข็งตัว (ithyphallic) หรือเรียกว่า “อุรธวลึงค์” ทำมืออภัยมุทรา ส่วนครึ่งสตรีมีหน้าอกกลม เชื่อกันว่าเป็นหลักฐานที่เก่าแก่ที่สุดที่แสดงภาพของพระอรรธนารีศวร ส่วนเศียรเทวรูปพระอรรธนารีศวรที่พบในยุคแรก ๆ ในราชฆัต ปัจจุบันจัดแสดงที่พิพิธภัณฑ์มฐุราเช่นกัน แสดงลักษณะที่ครึ่งหนึ่งทางขวาเป็นบุรุษมีเส้นผมที่พันกันยุ่ง และมีจันทร์เสี้ยวปักอยู่ ส่วนครึ่งทางซ้ายเป็นสตรี หวีผมเรียบร้อย และตกแต่งด้วยดอกไม้ เครื่องประดับ และปัตรกุนทลา (ต่างหู) ทั้งสองหน้ามีตาที่สามร่วมกันตรงกลาง

นักเขียนชาวกรีก โสบีส (Stobaeus; ค.ศ. 500) เคยกล่าวถึงพระอรรธนารีศวร โดยยกคำของบาร์ดาซาเนส (Bardasanes: ค.ศ. 154-222) ผู้เรียนรู้เรื่องนี้มาจากทูตอินเดียที่เดินทางมาซีเรียในรัชสมัยของเอลกาบาลุส (Elgabalus; ค.ศ. 218-22)

ตีความกันว่าพระอรรธนารีศวาเป็นความพยายามในการผสานความเชื่อของนิกายหลักของฮินดูสองนิกาย ไศวะ ซึ่งบูชาพระศิวะ และ ศักติ ซึ่งบูชามหาเทวี รูปรวมลัทธิที่คล้ายกันนี้ยังพบในพระหริหระ ปางรวมพระศิวะและพระวิษณุ (บูชาในไวษณพ)

อ้างอิง

  1. Monier Williams Sanskrit-English Dictionary (2008 revision)
  2. Gopal, Madan (1990). K.S. Gautam (บ.ก.). India through the ages. Publication Division, Ministry of Information and Broadcasting, Government of India. p. 69.
  3. Garg (ed), pp. 598–9
  4. Jordan, Michael (2004). Dictionary of gods and goddesses (2 ed.). Facts on File, Inc. p. 27. ISBN 0-8160-5923-3.
  5. Swami Parmeshwaranand p. 57
  6. Swami Parmeshwaranand p. 60
  7. Collins p. 80
  8. Chakravarti p. 44
  9. Swami Parmeshwaranand p. 58
  10. Kramrisch pp. 200–3, 207–8
  11. Srinivasan p.57
  12. Daniélou pp. 63–7
  13. Swami Parmeshwaranand pp. 55–6
  14. Chakravarti p. 146
  15. See image in Goldberg pp. 26–7
  16. Goldberg pp. 30
  17. Chakravarti p. 43
  18. Dehejia pp. 37–9
  19. Pande, Dr. Alka. . Official site of author. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 4 July 2008. สืบค้นเมื่อ 6 February 2011.

บรรณานุกรม

  • Collins, Charles Dillard (1988). The iconography and ritual of Śiva at Elephanta. SUNY Press. ISBN 0-88706-773-5.
  • Chakravarti, Mahadev (1986). The concept of Rudra-Śiva through the ages. Motilal Banarsidass Publ. ISBN 81-208-0053-2.
  • Daniélou, Alain (1992). Gods of love and ecstasy: the traditions of Shiva and Dionysus. Inner Traditions International. ISBN 0-89281-374-1.
  • Dehejia, Harsha V. (1997). Pārvatīdarpaṇa: an exposition of Kāśmir Śaivism through the images of Śiva and Parvati. Motilal Banarsidass Publ. ISBN 81-208-1484-3.
  • Goldberg, Ellen (2002). The Lord who is half woman: Ardhanārīśvara in Indian and feminist perspective. SUNY Press. ISBN 0-7914-5325-1.
  • Garg, Ganga Ram, บ.ก. (1992). Encyclopaedia of the Hindu world. 3: Ar-Az. Concept Publishing Company. ISBN 81-7022-376-8.
  • Kramrisch, Stella (1981). The Presence of Siva. Princeton University Press. ISBN 0-691-01930-4.
  • Rao, T.A. Gopinatha (1916). Elements of Hindu iconography. 2: Part I. Madras: Law Printing House.
  • Srinivasan, Doris Meth (1997). Many Heads, Arms, and Eyes: Origin, Meaning, and Form of Multiplicity in Indian Art. BRILL. OCLC 208705592.
  • Swami Parmeshwaranand (2004). "Ardhanārīśvara". Encyclopaedia of the Śaivism. 1. Sarup & Sons. ISBN 81-7625-427-4.
  • Yadav, Neeta (2000). Ardhanārīśvara in art and literature. D.K. Printworld. ISBN 81-246-0169-0.

อรรธนาร, ศวร, นสกฤต, अर, धन, वर, ardhanārīśwara, เป, นร, ปรวมเพศ, androgynous, ของเทพเจ, าฮ, นด, สององค, อพระศ, วะและพระปารวต, อมาม, กเร, ยกว, าเทว, กต, และพระแม, มา, กษณะกายแบ, งคร, งตรงกลางตามแนวต, เท, ออกเป, นสองส, วน, คร, งทางขวาม, อเป, นเพศบ, อพระศ, วะ, พ. xrrthnariswr snskvt अर धन र श वर Ardhanariswara epnruprwmephs androgynous khxngethphecahindusxngxngkhkhuxphrasiwaaelaphraparwti txmamkeriykwaethwi skti aelaphraaemxuma lksnakayaebngkhrungtrngklangtamaenwtng etha kn xxkepnsxngswn khrungthangkhwamuxepnephsburus khuxphrasiwa miphralksnaaebbphasiwpangthwipxrrthnariswrphraxrthnariswrchuxinxksrethwnakhriअर धन र श वरchuxinkarthbsphthphasasnskvtArdhanarisvaraswnekiywkhxngpangrwmkhxngphrasiwaaelaphraparwtixawuthtrisulphahnaokhnnthi odythwip singot rwmdwybangkhrng rupekharphphraxrthnariswrthiekaaekthisudthiphbmacakyukhckrwrrdikusana rawkhriststwrrsthihnung rupekharphmikarphthnaaelasmburninyukhckrwrrdikhupta mikarrabutananaelapratimanwithyakhxngphraxrthnariswrinpuranatang phraxrthnariswrsamarthphbekharphthwiptamobsthphrahmnswnihythimiphrasiwaepnxngkhprathaan thungaemwaobsthphrahmnthisrangodymiphraxrthnariswrepnxngkhprathanodytrngcring mixyuimmak enuxha 1 phranam 2 tnkaenidaelarupekharphinyukhaerk 3 xangxing 4 brrnanukrmphranam aekikhkhawaxrrthnariswr aepltrngtwwa ethphecaburusphukhrunghnungthrngepnstri phranamxun thiphb echn xrrthnrnari अर धनरन र khrungburus stri xrrthnarinetswr Ardhanarinateshvara ntrachphuthrngmikhrunghnungepnstri 1 2 prngkhtha Parangada 3 nrnari Naranari burus stri xmmixppn Ammiappan bida marda inphasathmil 4 aela xrrthyuwtiswr ethphecaburusthithrngmikhrunghnungepnyuwstri inphasaxssm 5 epntn inmhimnstwa Mahimnastava nganekhiynyukhkhupta eriykpangniwa ethhrthkhtna dehardhaghatana ekhaaelaethxepnkhrungkhxngkayhnungediyw swninphvhtsnghita Bṛhat Saṃhita eriykwa xrth ekhariswr Ardha Gaurishvara ethphecaburussungkhrunghnungepnphuthiyutithrrm khawa ekhari sungaeplwaphuyutithrrminthinikhuxphraparwti 6 aelainwisnuthrromttrpurana Vishnudharmottara Purana eriyksn ephiyng ekhariswr Gaurishvara ethphecaburus phraswamikhxngphraekhari 7 tnkaenidaelarupekharphinyukhaerk aekikh esiyrphraxrrthariswryukhtnkusana khnphbthirachkht pccubncdaesdngxyuthiphiphithphnthmthura aenwkhideruxngphraxrrthnariswrnnidrbaerngbndalicmacakthngtwlakhrinlksnarwmrupthiphbinwrrnkrrmphraewth phrayama yami 8 9 khaxthibayinphraewththirabuphraphusranginyukhaerk wiswrup hrux prchpti kb ethphecaaehngif xkhni epn krathingthiepnwwdwy 10 11 xatmn wiyyan inrupmnusyckrwalrwmephs purus thirabuinphrihthrnykaxupnisth 8 aelatanankrikobranthiphudthung ruprwmephskhxngehxrmaophrditusaelaphriekiyn aexkdistis 10 12 aenwkhideruxngphraxrrthnariswrnnmitnkaenidinckrwrrdikusanaaelakrikobrantamladb pratimanwithyaeriminsmykusana kh s 30 375 aelasmburninyukhkhupta kh s 320 600 13 14 aephncarukyukhkusanacakyukhklangstwrrsthihnungthicdaesdnginphiphithphnthmthuraaesdngihehnphaphkhrungburus khrungstri thamklangphrawisnu khchlksmi aela thawkuewr 9 15 khrungthiepnburusmixwywaephsaekhngtw ithyphallic hruxeriykwa xurthwlungkh thamuxxphymuthra swnkhrungstrimihnaxkklm echuxknwaepnhlkthanthiekaaekthisudthiaesdngphaphkhxngphraxrrthnariswr 9 16 swnesiyrethwrupphraxrrthnariswrthiphbinyukhaerk inrachkht pccubncdaesdngthiphiphithphnthmthuraechnkn aesdnglksnathikhrunghnungthangkhwaepnburusmiesnphmthiphnknyung aelamicnthresiywpkxyu swnkhrungthangsayepnstri hwiphmeriybrxy aelatkaetngdwydxkim ekhruxngpradb aelaptrkunthla tanghu thngsxnghnamitathisamrwmkntrngklang 9 nkekhiynchawkrik osbis Stobaeus kh s 500 ekhyklawthungphraxrrthnariswr odyykkhakhxngbardasaens Bardasanes kh s 154 222 phueriynrueruxngnimacakthutxinediythiedinthangmasieriyinrchsmykhxngexlkabalus Elgabalus kh s 218 22 8 13 tikhwamknwaphraxrrthnariswaepnkhwamphyayaminkarphsankhwamechuxkhxngnikayhlkkhxnghindusxngnikay iswa sungbuchaphrasiwa aela skti sungbuchamhaethwi ruprwmlththithikhlayknniyngphbinphrahrihra pangrwmphrasiwaaelaphrawisnu buchainiwsnph 3 17 18 19 xangxing aekikh Monier Williams Sanskrit English Dictionary 2008 revision Gopal Madan 1990 K S Gautam b k India through the ages Publication Division Ministry of Information and Broadcasting Government of India p 69 3 0 3 1 Garg ed pp 598 9 Jordan Michael 2004 Dictionary of gods and goddesses 2 ed Facts on File Inc p 27 ISBN 0 8160 5923 3 Swami Parmeshwaranand p 57 Swami Parmeshwaranand p 60 Collins p 80 8 0 8 1 8 2 Chakravarti p 44 9 0 9 1 9 2 9 3 Swami Parmeshwaranand p 58 10 0 10 1 Kramrisch pp 200 3 207 8 Srinivasan p 57 Danielou pp 63 7 13 0 13 1 Swami Parmeshwaranand pp 55 6 Chakravarti p 146 See image in Goldberg pp 26 7 Goldberg pp 30 Chakravarti p 43 Dehejia pp 37 9 Pande Dr Alka The Icon of Creation Ardhanarisvara Official site of author khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 4 July 2008 subkhnemux 6 February 2011 brrnanukrm aekikhCollins Charles Dillard 1988 The iconography and ritual of Siva at Elephanta SUNY Press ISBN 0 88706 773 5 Chakravarti Mahadev 1986 The concept of Rudra Siva through the ages Motilal Banarsidass Publ ISBN 81 208 0053 2 Danielou Alain 1992 Gods of love and ecstasy the traditions of Shiva and Dionysus Inner Traditions International ISBN 0 89281 374 1 Dehejia Harsha V 1997 Parvatidarpaṇa an exposition of Kasmir Saivism through the images of Siva and Parvati Motilal Banarsidass Publ ISBN 81 208 1484 3 Goldberg Ellen 2002 The Lord who is half woman Ardhanarisvara in Indian and feminist perspective SUNY Press ISBN 0 7914 5325 1 Garg Ganga Ram b k 1992 Encyclopaedia of the Hindu world 3 Ar Az Concept Publishing Company ISBN 81 7022 376 8 Kramrisch Stella 1981 The Presence of Siva Princeton University Press ISBN 0 691 01930 4 Rao T A Gopinatha 1916 Elements of Hindu iconography 2 Part I Madras Law Printing House Srinivasan Doris Meth 1997 Many Heads Arms and Eyes Origin Meaning and Form of Multiplicity in Indian Art BRILL OCLC 208705592 Swami Parmeshwaranand 2004 Ardhanarisvara Encyclopaedia of the Saivism 1 Sarup amp Sons ISBN 81 7625 427 4 Yadav Neeta 2000 Ardhanarisvara in art and literature D K Printworld ISBN 81 246 0169 0 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title xrrthnariswr amp oldid 8601667, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม