fbpx
วิกิพีเดีย

ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกิน

ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกิน (อังกฤษ: hyperthyroidism) คือภาวะที่มีการผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ออกมาจากต่อมไทรอยด์มากเกินปกติ ในขณะที่ไทรอยด์เป็นพิษ (อังกฤษ: thyrotoxicosis) คือภาวะที่มีฮอร์โมนไทรอยด์มากเกินจากสาเหตุใดๆ ก็ตาม รวมถึงจากภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกินด้วย แต่บางครั้งสองคำนี้ก็ใช้แทนกันได้ ผู้ป่วยแต่ละรายอาจมีอาการแตกต่างกันไป ตั้งแต่อาการกระสับกระส่าย กล้ามเนื้ออ่อนแรง การนอนผิดปกติ หัวใจเต้นเร็ว ทนร้อนไม่ได้ อุจจาระร่วง ต่อมไทรอยด์โต มือสั่น และน้ำหนักลด ผู้ป่วยสูงอายุและผู้ป่วยที่ตั้งครรภ์อาจมีอาการน้อยกว่าคนทั่วไป ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้น้อยแต่มีอาการรุนแรงคือภาวะวิกฤตจากพิษไทรอยด์ เกิดจากมีเหตุกระตุ้น (เช่น การติดเชื้อ) ทำให้ผู้ป่วยมีอาการทรุดลงอย่างรวดเร็ว เช่น สับสน อุณหภูมิกายสูง และอาจเสียชีวิตได้ ภาวะตรงข้ามกันเรียกว่าภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานน้อยเกิน เกิดจากการที่ต่อมไทรอยด์ผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ได้ไม่เพียงพอ

ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกิน
ชื่ออื่นHyperthyroidism, overactive thyroid, hyperthyreosis
ไตรไอโอโดไทโรนีน (T3, ในภาพ) และ ไทรอกซีน (T4) เป็นฮอร์โมนไทรอยด์ทั้งคู่
สาขาวิชาวิทยาต่อมไร้ท่อ
อาการกระสับกระส่าย กล้ามเนื้ออ่อนแรง การนอนผิดปกติ หัวใจเต้นเร็ว ทนร้อนไม่ได้ อุจจาระร่วง ต่อมไทรอยด์โต มือสั่น และน้ำหนักลด
ภาวะแทรกซ้อนภาวะวิกฤตจากพิษไทรอยด์
การตั้งต้นอายุ 20–50 ปี
สาเหตุโรคเกรฟส์, คอพอกหลายปุ่ม, เนื้องอกอะดีโนมาเป็นพิษ, ต่อมไทรอยด์อักเสบ, ได้รับไอโอดีนมากเกินไป, ได้รับยาเลียนแบบฮอร์โมนไทรอยด์มากเกินไป
วิธีวินิจฉัยวินิจฉัยจากอาการ ยืนยันด้วยการตรวจเลือด
การรักษาบำบัดด้วยไอโอดีนกัมมันตรังสี ใช้ยา ผ่าตัด
ยายาต้านเบต้า, เมไทมาโซล
ความชุก1.2% (สหรัฐ)

สาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของภาวะนี้คือโรคเกรฟส์ โดยพบเป็นสาเหตุของภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกินได้ถึง 50-80% ในสหรัฐ สาเหตุอื่นๆ ของภาวะนี้เช่น คอพอก เนื้องอกต่อมไทรอยด์ ต่อมไทรอยด์อักเสบ ได้รับไอโอดีนมากเกินไป และได้รับฮอร์โมนไทรอยด์สังเคราะห์มากเกินไป อีกสาเหตุที่พบได้น้อยกว่าคือเนื้องอกต่อมใต้สมอง การวินิจฉัยอาจเริ่มจากการสงสัยในผู้ป่วยที่มีอาการและอาการแสดงเข้าได้รับภาวะนี้ และยืนยันได้ด้วยการตรวจเลือด โดยทั่วไปแล้วผู้ป่วยจะมีระดับฮอร์โมน TSH ต่ำ ร่วมกับ T3 และ/หรือ T4 สูง การตรวจเพิ่มเติมเช่น การตรวจการดูดกลืนไอโอดีนกัมมันตรังสีที่ต่อมไทรอยด์ การทำไทรอยด์สแกน และการตรวจแอนติบอดีต่อ TSI อาจช่วยหาสาเหตุได้

การรักษามีหลายวิธีขึ้นกับสาเหตุและความรุนแรงของโรค ประกอบด้วยสามวิธีหลัก ได้แก่ การใช้สารไอโอดีนกัมมันตรังสี การใช้ยา และการผ่าตัด โดยการใช้สารไอโอดีนกัมมันตังรังสีทำได้โดยการให้ผู้ป่วยกินไอโอดีน-131 เข้าไป สารนี้จะถูกดูดซึมไปรวมอยู่ที่ต่อมไทรอยด์และค่อยๆ ทำลายต่อมไปช้าๆ โดยใช้เวลาเป็นสัปดาห์หรือเป็นเดือน ทำให้เกิดเป็นภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย ซึ่งสามารถรักษาได้ด้วยการกินฮอร์โมนไทรอยด์สังเคราะห์ แพทย์อาจใช้ยาอื่นๆ เช่น ยาต้านเบต้า เพื่อควบคุมอาการ และใช้ยาต้านไทรอยด์ เช่น เมไทมาโซล เป็นการชั่วคราวระหว่างรอให้การรักษาด้วยวิธีอื่นๆ เกิดผล การผ่าตัดเอาต่อมไทรอยด์ออกก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการรักษา มักใช้ในกรณีที่ต่อมไทรอยด์มีขนาดโตมาก หรือมีโอกาสเป็นมะเร็ง ในสหรัฐพบผู้ป่วยภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกินประมาณ 1.2% ของประชากร พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย 2-10 เท่า ผู้ป่วยมักเริ่มมีอาการที่อายุ 20-50 ปี โดยรวมแล้วโรคนี้มักพบในคนที่มีอายุมากกว่า 60 ปี

อาการสำคัญ

ไฮเปอร์ไทรอยด์มีอาการแสดงที่สำคัญดังต่อไปนี้:

  • น้ำหนักลดลง แม้จะสามารถรับประทานอาหารได้อย่างเป็นปกติก็ตาม
  • ใบหน้าบวม ตัวบวม
  • มีอาการอ่อนแรง อ่อนเพลีย และหนาวง่าย
  • ผิวแห้ง และผมร่วง

การรักษา

การรักษาอาการไฮเปอร์ไทรอยด์มีหลายวิธี โดยแพทย์จะพิจารณาจาก อายุ สภาพของผู้ป่วย ชนิดของคอพอกเป็นพิษและความรุนแรงของโรค ซึ่งรักษาได้โดยการทานยาที่มีฤทธิ์ในการระงับฮอร์โมน การผ่าตัดต่อมไทรอยด์ การกินสารไอโอดีนชนิดปล่อยสารกัมมันตภาพรังสีเพื่อทำลายต่อมไทรอยด์ ซึ่งเรียกกันในวงการว่าการดื่มน้ำแร่ โดยแพทย์จะเป็นผู้พิจารณาเลือกการรักษาในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "Hyperthyroidism". www.niddk.nih.gov. July 2012. จากแหล่งเดิมเมื่อ 4 April 2015. สืบค้นเมื่อ 2015-04-02.
  2. Devereaux, D.; Tewelde, SZ. (May 2014). "Hyperthyroidism and thyrotoxicosis". Emerg Med Clin North Am. 32 (2): 277–92. doi:10.1016/j.emc.2013.12.001. PMID 24766932.
  3. Bahn Chair, RS; Burch, HB; Cooper, DS; Garber, JR; Greenlee, MC; Klein, I; Laurberg, P; McDougall, IR; Montori, VM; Rivkees, SA; Ross, DS; Sosa, JA; Stan, MN (June 2011). "Hyperthyroidism and other causes of thyrotoxicosis: management guidelines of the American Thyroid Association and American Association of Clinical Endocrinologists". Thyroid. 21 (6): 593–646. doi:10.1089/thy.2010.0417. PMID 21510801.
  4. Erik D Schraga (30 May 2014). "Hyperthyroidism, Thyroid Storm, and Graves Disease". Medscape. จากแหล่งเดิมเมื่อ 5 April 2015. สืบค้นเมื่อ 20 April 2015.
  5. NIDDK (13 March 2013). "Hypothyroidism". จากแหล่งเดิมเมื่อ 5 March 2016. สืบค้นเมื่อ 20 April 2015.
  6. Brent, Gregory A. (12 June 2008). "Clinical practice. Graves' disease". The New England Journal of Medicine. 358 (24): 2594–2605. doi:10.1056/NEJMcp0801880. ISSN 1533-4406. PMID 18550875.
  7. เกี่ยวกับอาการผิดปกติของต่อมไทรอยด์

หนังสืออ่านเพิ่ม

  • Siraj, Elias S. (2008). (PDF). Journal of Clinical Outcomes Management. 15 (6): 298–307. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2013-10-19. สืบค้นเมื่อ 24 June 2009. Unknown parameter |month= ignored (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

อาการที่เกิดขึ้นในมนุษย์
  • Patient information: Hyperthyroidism Article at UpToDate
  • Merck Manual article about hyperthyroidism
อาการที่เกิดขึ้นในสัตว์
  • Gina Spadafori (20 January 1997). "Hyperthyroidism: A Common Ailment in Older Cats". The Pet Connection. Veterinary Information Network. สืบค้นเมื่อ 28 January 2007.
การจำแนกโรค
V · T · D
ทรัพยากรภายนอก
  • MedlinePlus: 000356
  • eMedicine: med/1109
  • Patient UK: ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกิน

ภาวะต, อมไทรอยด, ทำงานมากเก, งกฤษ, hyperthyroidism, อภาวะท, การผล, ตฮอร, โมนไทรอยด, ออกมาจากต, อมไทรอยด, มากเก, นปกต, ในขณะท, ไทรอยด, เป, นพ, งกฤษ, thyrotoxicosis, อภาวะท, ฮอร, โมนไทรอยด, มากเก, นจากสาเหต, ใดๆ, ตาม, รวมถ, งจากด, วย, แต, บางคร, งสองคำน, ใช, แทน. phawatxmithrxydthanganmakekin xngkvs hyperthyroidism khuxphawathimikarphlithxromnithrxydxxkmacaktxmithrxydmakekinpkti 3 inkhnathiithrxydepnphis xngkvs thyrotoxicosis khuxphawathimihxromnithrxydmakekincaksaehtuid ktam rwmthungcakphawatxmithrxydthanganmakekindwy 3 aetbangkhrngsxngkhanikichaethnknid 4 phupwyaetlarayxacmixakaraetktangknip tngaetxakarkrasbkrasay klamenuxxxnaerng karnxnphidpkti hwicetnerw thnrxnimid xuccararwng txmithrxydot muxsn aelanahnkld 1 phupwysungxayuaelaphupwythitngkhrrphxacmixakarnxykwakhnthwip 1 phawaaethrksxnthiphbidnxyaetmixakarrunaerngkhuxphawawikvtcakphisithrxyd ekidcakmiehtukratun echn kartidechux thaihphupwymixakarthrudlngxyangrwderw echn sbsn xunhphumikaysung aelaxacesiychiwitid 2 phawatrngkhamkneriykwaphawatxmithrxydthangannxyekin ekidcakkarthitxmithrxydphlithxromnithrxydidimephiyngphx 5 phawatxmithrxydthanganmakekinchuxxunHyperthyroidism overactive thyroid hyperthyreosisitrixoxodithornin T3 inphaph aela ithrxksin T4 epnhxromnithrxydthngkhusakhawichawithyatxmirthxxakarkrasbkrasay klamenuxxxnaerng karnxnphidpkti hwicetnerw thnrxnimid xuccararwng txmithrxydot muxsn aelanahnkld 1 phawaaethrksxnphawawikvtcakphisithrxyd 2 kartngtnxayu 20 50 pi 2 saehtuorkhekrfs khxphxkhlaypum enuxngxkxadionmaepnphis txmithrxydxkesb idrbixoxdinmakekinip idrbyaeliynaebbhxromnithrxydmakekinip 1 2 withiwinicchywinicchycakxakar yunyndwykartrwceluxd 1 karrksababddwyixoxdinkmmntrngsi ichya phatd 1 yayatanebta emithmaosl 1 khwamchuk1 2 shrth 3 saehtuthiphbbxythisudkhxngphawanikhuxorkhekrfs odyphbepnsaehtukhxngphawatxmithrxydthanganmakekinidthung 50 80 inshrth 1 6 saehtuxun khxngphawaniechn khxphxk enuxngxktxmithrxyd txmithrxydxkesb idrbixoxdinmakekinip aelaidrbhxromnithrxydsngekhraahmakekinip 1 2 xiksaehtuthiphbidnxykwakhuxenuxngxktxmitsmxng 1 karwinicchyxacerimcakkarsngsyinphupwythimixakaraelaxakaraesdngekhaidrbphawani aelayunyniddwykartrwceluxd 1 odythwipaelwphupwycamiradbhxromn TSH ta rwmkb T3 aela hrux T4 sung 1 kartrwcephimetimechn kartrwckardudklunixoxdinkmmntrngsithitxmithrxyd karthaithrxydsaekn aelakartrwcaexntibxditx TSI xacchwyhasaehtuid 1 karrksamihlaywithikhunkbsaehtuaelakhwamrunaerngkhxngorkh 1 prakxbdwysamwithihlk idaek karichsarixoxdinkmmntrngsi karichya aelakarphatd 1 odykarichsarixoxdinkmmntngrngsithaidodykarihphupwykinixoxdin 131 ekhaip sarnicathukdudsumiprwmxyuthitxmithrxydaelakhxy thalaytxmipcha odyichewlaepnspdahhruxepneduxn 1 thaihekidepnphawatxmithrxydthangannxy sungsamarthrksaiddwykarkinhxromnithrxydsngekhraah 1 aephthyxacichyaxun echn yatanebta ephuxkhwbkhumxakar aelaichyatanithrxyd echn emithmaosl epnkarchwkhrawrahwangrxihkarrksadwywithixun ekidphl 1 karphatdexatxmithrxydxxkkepnxikthangeluxkhnunginkarrksa 1 mkichinkrnithitxmithrxydmikhnadotmak hruxmioxkasepnmaerng 1 inshrthphbphupwyphawatxmithrxydthanganmakekinpraman 1 2 khxngprachakr 3 phbinphuhyingmakkwaphuchay 2 10 etha 1 phupwymkerimmixakarthixayu 20 50 pi 2 odyrwmaelworkhnimkphbinkhnthimixayumakkwa 60 pi 1 enuxha 1 xakarsakhy 2 karrksa 3 duephim 4 xangxing 5 hnngsuxxanephim 6 aehlngkhxmulxunxakarsakhy aekikhihepxrithrxydmixakaraesdngthisakhydngtxipni 7 nahnkldlng aemcasamarthrbprathanxaharidxyangepnpktiktam ibhnabwm twbwm mixakarxxnaerng xxnephliy aelahnawngay phiwaehng aelaphmrwngkarrksa aekikhkarrksaxakarihepxrithrxydmihlaywithi odyaephthycaphicarnacak xayu sphaphkhxngphupwy chnidkhxngkhxphxkepnphisaelakhwamrunaerngkhxngorkh sungrksaidodykarthanyathimivththiinkarrangbhxromn karphatdtxmithrxyd karkinsarixoxdinchnidplxysarkmmntphaphrngsiephuxthalaytxmithrxyd sungeriykkninwngkarwakardumnaaer odyaephthycaepnphuphicarnaeluxkkarrksainrupaebbthiehmaasmkbphupwyaetlarayduephim aekikhxakarihopithrxydxangxing aekikh 1 00 1 01 1 02 1 03 1 04 1 05 1 06 1 07 1 08 1 09 1 10 1 11 1 12 1 13 1 14 1 15 1 16 1 17 1 18 1 19 1 20 1 21 Hyperthyroidism www niddk nih gov July 2012 ekb cakaehlngedimemux 4 April 2015 subkhnemux 2015 04 02 2 0 2 1 2 2 2 3 2 4 2 5 Devereaux D Tewelde SZ May 2014 Hyperthyroidism and thyrotoxicosis Emerg Med Clin North Am 32 2 277 92 doi 10 1016 j emc 2013 12 001 PMID 24766932 3 0 3 1 3 2 3 3 Bahn Chair RS Burch HB Cooper DS Garber JR Greenlee MC Klein I Laurberg P McDougall IR Montori VM Rivkees SA Ross DS Sosa JA Stan MN June 2011 Hyperthyroidism and other causes of thyrotoxicosis management guidelines of the American Thyroid Association and American Association of Clinical Endocrinologists Thyroid 21 6 593 646 doi 10 1089 thy 2010 0417 PMID 21510801 Erik D Schraga 30 May 2014 Hyperthyroidism Thyroid Storm and Graves Disease Medscape ekb cakaehlngedimemux 5 April 2015 subkhnemux 20 April 2015 NIDDK 13 March 2013 Hypothyroidism ekb cakaehlngedimemux 5 March 2016 subkhnemux 20 April 2015 Brent Gregory A 12 June 2008 Clinical practice Graves disease The New England Journal of Medicine 358 24 2594 2605 doi 10 1056 NEJMcp0801880 ISSN 1533 4406 PMID 18550875 ekiywkbxakarphidpktikhxngtxmithrxydhnngsuxxanephim aekikhSiraj Elias S 2008 Update on the Diagnosis and Treatment of Hyperthyroidism PDF Journal of Clinical Outcomes Management 15 6 298 307 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2013 10 19 subkhnemux 24 June 2009 Unknown parameter month ignored help aehlngkhxmulxun aekikhxakarthiekidkhuninmnusyPatient information Hyperthyroidism Article at UpToDate Merck Manual article about hyperthyroidismxakarthiekidkhuninstwGina Spadafori 20 January 1997 Hyperthyroidism A Common Ailment in Older Cats The Pet Connection Veterinary Information Network subkhnemux 28 January 2007 karcaaenkorkhV T DICD 10 E05ICD 9 CM 242 90MeSH D006980DiseasesDB 6348thrphyakrphaynxkMedlinePlus 000356eMedicine med 1109Patient UK phawatxmithrxydthanganmakekin bthkhwamekiywkbaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy aephthysastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title phawatxmithrxydthanganmakekin amp oldid 9577631, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม