fbpx
วิกิพีเดีย

อุปปาตะสันติ

พระคาถาอุปปาตะสันติ เป็นร้อยกรองในรูปฉันทลักษณ์ภาษาบาลีขนาดยาวจำนวน 271 คาถา เป็นบทสวดสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ โดยระบุนามของพระพุทธเจ้าทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต รวมถึงพระอรหันต์ทั้งหลาย พระคาถานี้แพร่หลายในอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ และได้แพร่หลายในพม่ามาช้านาน กระทั่งได้รับการเผยแพร่สู่แผ่นดินไทย และเป็นนิยมสวดกันอย่างแพร่หลาย นอกจากชื่อพระคาถาอุปปาตะสันติแล้ว ทางล้านนายังเรียกว่า มหาสันติงหลวง อีกด้วย

ที่มา

อุปปาตะสันติ แปลว่า มนต์ระงับเหตุร้าย หรือบทสวดระงับเภทภัย โดย อุปฺปาต แปลว่า เหตุร้าย,อันตราย, ภัยพิบัติ ส่วน สนฺติ แปลว่า ระงับ, ทำให้สงบ ทางเมืองเหนือเรียกว่า มหาสันติงหลวง เป็นบทสวดมนต์โบราณที่มีประโยชน์เพื่อระงับเหตุร้ายและสร้างศานติสุขให้เกิดขึ้นในแผ่นดิน ประกอบด้วยคาถาล้วนจำนวน 271 บท โดยพระคาถานี้ จัดเป็นคัมภีร์ทางพุทธศาสนาในหมวด ‘‘เชียงใหม่คันถะ’’ คือ คัมภีร์ที่แต่งขึ้นที่เมืองเชียงใหม่ ในยุคที่พระพุทธศาสนารุ่งเรืองอย่างมากในอาณาจักรล้านนา

พระคันธสาราภิวงศ์ แห่งวัดท่ามะโอ จังหวัดลำปาง หนึ่งในผู้แปลพระคาถานี้ ระบุว่า ผู้รจนาคัมภีร์นี้ คือ พระสีลวังสเถระ วัดโชติการาม เมืองเชียงใหม่ ได้แต่งขึ้นตามคำอาราธนาของพระเจ้าสามฝั่งแกนใน พ.ศ. 1949 (จุลศักราช 767) ตามตำนานนั้น ระบุว่าเหตุที่พระมหากษัตริย์ทรงอาราธนาว่า เนื่องด้วยพวกจีนฮ่อยกพลมารุกรานเมืองเชียงใหม่ พระเจ้าแผ่นดินจึงอาราธนาให้แต่งขึ้นแล้วนิมนต์พระสงฆ์สาธยายร่วมกับชาวเมือง ส่งผลให้ทัพจีนฮ่อระส่ำระสายด้วยภัยพิบัติบางอย่างแล้วถอยทัพไปในที่สุด

พระธรรมคุณาภรณ์ (เช้า ฐิตปัญโญ ป.ธ.9) แห่งอดีตเจ้าอาวาสวัดมหาโพธาราม จังหวัดนครสวรรค์ ผู้ชำระคัมภีร์พระคาถานี้เป็นภาษาบาลีอักษรไทย ระบุไว้ใน‘‘คำชี้แจงเรื่องคัมภีร์อุปปาตสันติ’’ ว่า ผู้รจนาคือ พระสีลวังสมหาเถระ แต่งที่เชียงใหม่สมัยกรุงศรีอยุธยา ระหว่าง พ.ศ. 1893 - พ.ศ. 2010 ส่วนในประวัติคัมภีร์อุปปาตสันติ ฉบับวัดโพธารามและฉบับของสุรีย์ มีผลกิจ กล่าวว่า คัมภีร์นี้แต่งโดยพระมหามังคละสีลวังสะพระเถระนักปราชญ์ของชาวเชียงใหม่รูปหนึ่ง ในสมัยของพระเจ้าสิริธรรมจักกวัตติลกราชาธิราช (พระเจ้าติโลกราช) รัชกาลที่ 11 แห่งราชวงศ์มังราย ระหว่าง พ.ศ. 1985-2030

อย่างไรก็ตาม พระคันธสาราภิวงศ์ ระบุว่า ในคำนำภาษาพม่าของโรงพิมพ์ภอนวาจากล่าวว่า พระคาถาแต่งขึ้นตามคำอาราธนาของพระเจ้าสามฝั่งแกนใน พ.ศ. 1949 ซึ่งเมื่อตรวจสอบประวัติศาสตร์ของล้านนาพบว่า พระเจ้าสามฝั่งแกนครองราชย์เป็นเวลา 38 ปี ระหว่าง พ.ศ. 1945-1984 ครั้งหนึ่ง พวกจีนฮ่อยกทัพมาล้อมเมืองเชียงแสนไว้ เพราะล้านนาไม่ส่งส่วยให้นับตั้งแต่สมัยของพระเจ้ากือนา พระองค์จึงรบกับจีนฮ่อเป็นเวลา 2 ปี ใน พ.ศ. 1947-48

นอกจากนั้น ในรัชสมัยของพระเจ้าสามฝั่งแกนพระองค์มีพระสงฆ์ล้านนากลุ่มหนึ่งจำนวน 25 รูป นำโดยพระมหาธัมมคัมภีร์ พระมหาเมธังกร พระมหาญาณมงคลพระมหาสีลวงศ์ พระมหาสารีบุตร พระมหารัตนากร และพระพุทธสาคร เป็นต้น ได้เดินทางไปสู่สำนักพระมหาสวามีวนรัตน์ที่ลังกาเพื่อเรียนอักขระบาลี การอ่านออกเสียง การสวดตามอักขระบาลีในลังกา และขออุปสมบทใหม่ในเรือขนานที่ท่าเรือยาปาในแม่น้ำกัลยาณี พ.ศ. 1968 ซึ่งจะเห็นได้ว่าชื่อพระมหาสีลวงศ์ก็ปรากฏอยู่ในพระสงฆ์ล้านนาที่เดินทางสืบพระศาสนาในลังกา ดังนั้นจึงน่ามีข้อสรุปว่าคัมภีร์นี้แต่งโดยพระสีลวังสเถระ ในรัชสมัยของพระเจ้าสามฝั่งแกน

อย่างไรก็ตาม ตามทัศนะของผู้ศึกษาวรรณกรรมทางพุทธศาสนามีความเห็นไม่ตรงกันเกี่ยวกับผู้รจนาพระคาถานี้ โดย รศ. สมหมาย เปรมจิตต์ ระบุว่า พระคาถาอุปปาตะสันติ รจนาโดยพระเถรไม่ทราบนามรูปหนึ่ง ระหว่างปีพ.ศ. 2020 - 2070

ก่อนหน้านี้ Bode ยังแสดงความเห็นว่า พระคาถาอุปปาตะสันติ รจนาขึ้นโดยพระเถระไม่ทราบนามเช่นกัน ภายหลังจากที่พระเจ้าบุเรงนอง ทรงได้เมืองเชียงใหม่มาไว้ในขอบขันฑสีมา และได้ทรงส่งพระโอรสไปปกครองต่างพระเนตรพระกรรณ ในการนี้ได้มีการอาราธนาพระสัทธัมมะจักกะสามีมายังล้านนา เพื่อชำระพระศาสนา ใน The Pali literature of Burma ระบุว่า ในช่วงเวลานี้ ล้านนาปรากฏพระเถระผู้รจนาปกรณ์ต่างๆ เพียงไม่กี่ท่าน แสดงให้เห็นว่า ยุครุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาในดินแดนนี้เริ่มเสื่อมถอยลงแล้ว กระทั่งพระคาถาอุปปาตะสันติก็ยังไม่ทราบนามผู้แต่ง

ตามการกล่าวอ้างของ Bode นั้น คาดว่าอิงกับหลักฐานทางพม่าเป็นหลัก ซึ่งหากพระคาถาอุปปาตะสันติรจนาขึ้นในช่วงรัชสมัยของพระเจ้าบุเรงนองจริง คาดว่าน่าจะมีช่วงเวลารจนาอยู่ที่ระหว่าง พ.ศ. 2094 - พ.ศ. 2124 ซึ่งเป็นช่วงที่พระเจ้าบุเรงนองทรงครองราชย์ อย่างไรก็ตาม มีความเป็นไปได้เช่นกันว่าวันเวลาที่การกล่าวอ้างในงานของ Bode อาจมิได้หมายถึงการรจนา แต่เป็นช่วงที่พระคาถาแพร่หลายเข้าสู่พม่า

ทั้งนี้ คัมภีร์ศาสนวงศ์ ซึ่งรจนาโดยพระปัญญาสามี พระเถระชาวพม่า เมื่อปี พ.ศ. 2404 กล่าวถึงพระคาถาอุปปาตะสันติ ไว้ว่า ‘‘อุปฺปาตสนฺตึอญฺญตโร เถโร. ตํ กิร อุปฺปาตสนฺตึ สชฺฌายิตฺวา จีนรญฺโญ เสนํ อชินีติ’’ (พระเถระไม่ปรากฏชื่อองค์หนึ่งทำปกรณ์ชื่ออุปปาตสันติ นัยว่าสวดอุปปาตสันตินั้นแล้ว ชนะพวกทหารจีน) แสดงให้เห็นว่า แม้แต่ในพม่าซึ่งพระคาถานี้เป็นที่นิยมสวดสาธยาย ก็ยังไม่ทราบนามผู้แต่ง แต่อย่างน้อยยังระบุชัดว่า พระคาถานี้รจนาขึ้นในสมัยพระเจ้าสามฝั่งแกนแห่งล้านนา เพื่อป้องกันภัยรุกรานจากพวกจีนฮ่อ ซึ่งเป็นข้อมูบลที่ปรากฏในในคำนำพระคาถาในภาษาพม่าฉบับของโรงพิมพ์ภอนวาจา

เนื้อหา

คัมภีร์นี้เป็นบทสวดสรรเสริญคุณของพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ทั้งในอดีต ปัจจุบันและอนาคต อีกทั้งสรรเสริญพระคุณของผู้ทรงคุณทรงฤทธิ์และทรงอำนาจต่างๆ ทำให้เกิดอานุภาพที่เชื่อกันว่าสามารถขจัดปัดเป่าเภทภัยด้านร้ายทั้งปวงให้กลายเป็นดีได้ด้วยอานุภาพของมนต์บทนี้ ที่อ้างคุณของพระไตรรัตน์และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย บ้านเมืองและสังคมจะมีแต่ความสงบสุข ปราศจากโรคภัยเหตุร้ายทั้งปวง ให้คุณทั้งผู้สวดและผู้ฟังโดยถ้วนทั่ว ทั้งนี้ บุคคลและสภาวะที่อ้างถึงในคัมภีร์อุปปาตะสันติมี 13 ประเภทคือ

  1. พระพุทธเจ้าทั้งหลายในอดีตถึงปัจจุบัน(เน้นที่ 28 พระองค์)
  2. พระปัจเจกพุทธเจ้า
  3. พระพุทธเจ้าในอนาคต 1 พระองค์คือพระเมตไตรย
  4. โลกุตตรธรรม 9 และพระปริยัติธรรม 1
  5. พระสังฆรัตนะ
  6. พระเถระชั้นผู้ใหญ่ 108 รูป
  7. พระเถรีชั้นผู้ใหญ่ 13 รูป
  8. พญานาค
  9. เปรตบางพวก
  10. อสูร
  11. เทวดา
  12. พรหม
  13. บุคคลประเภทรวม เช่น เทวดา ยักษ์ ปีศาจ คือผีที่ทำสิ่งใด ๆ อย่างโลดโผน และวิชชาธรหรือพิทยาธร (สันสกฤตเรียกวิทยาธร) ภาษาอังกฤษเรียกว่าพวกเซอเร่อหรือพ่อมด แม่มด หรือผู้วิเศษ พวกวิชชาธร เป็นพวกรอบรู้เรื่องเครื่องรางและทำเสน่ห์ต่างๆ ไปทางอากาศได้

อานิสงส์ของการสวด

พระธรรมคุณาภรณ์ ผู้ชำระคัมภีร์พระคาถานี้เป็นภาษาบาลีอักษรไทยเมื่อปี พ.ศ. 2500 กล่าวถึงอานิสงส์ของการสวดสาธยายพระคาถาอุปปาตะสันติ ไว้ว่าจะช่วยเทำให้สังคมร่มเย็นเป็นสุข ดังที่กล่าวถึงในคัมภีร์อุปปาตะสันติ ที่สำคัญ 3 ประการคือ

  1. สันติหรือมหาสันติ ความสงบความราบรื่นความเยือกเย็นความไม่มีคลื่น
  2. โสตถิ ความสวัสดีความปลอดภัยความเป็นอยู่เรียบร้อยหรือตู้นิรภัย
  3. อาโรคยะ ความไม่มีสิ่งเป็นเชื้อโรคความไม่มีโรคหรือความมีสุขภาพสมบูรณ์

คัมภีร์อุปปาตะสันติมีข้อความขอความช่วยเหลือ โดยขอให้พระรัตนตรัยและบุคคลพร้อมทั้งสิ่งทรงอิทธิพลในจักรวาลรวม ๑๓ ประเภท ดังที่กล่าวมาแล้ว ช่วยสร้างสันติหรือมหาสันติ ช่วยสร้างโสตถิ และอาโรคยะ ช่วยปรุงแต่งสันติและอาโรคยะ ขอให้ช่วยรวมสันติ รวมโสตถิและรวมอาโรคยะ และขอให้ช่วยเป็นเกราะคุ้มครอง และกำจัดเหตุร้ายอันตรายหรือสิ่งกระทบกระเทือนต่างๆ อย่าให้เกิดมีในตน ในครอบครัว ในหมู่คณะ หรือในวงงานของตน และในวงงานของคนอื่นทั่วไป ซึ่งอานิสงส์การสวดและการฟังอุปปาตะสันติ ดังที่ปรากฏในท้ายคัมภีร์ ยังมีดังต่อไปนี้อีกว่า

  1. ผู้สวดหรือผู้ฟังอุปปาตะสันติ ย่อมชนะเหตุร้ายทั้งปวงได้ และมีวุฒิภาวะคือ ความเจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ และปฏิภาณ
  2. ผู้สวดหรือผู้ฟังอุปปาตะสันติย่อมได้ประโยชน์ที่ตนต้องการ คือผู้ประสงค์ความปลอดภัยย่อมได้ความปลอดภัย คนอยากสบายย่อมได้ความสุข คนอยากมีอายุยืนย่อมได้อายุยืน คนอยากมีลูกย่อมได้ลูกสมประสงค์ผู้สวดหรือผู้ฟังอุปปาตะสันติ ย่อมไม่มีโรคลมเป็นต้นมาเบียดเบียน ไม่มีอกาละมรณะคือตายก่อนอายุขัย ทุนนิมิตรคือลางร้ายต่างๆมลายหายไป ผู้สวดหรือผู้ฟังอุปปาตะสันติเมื่อเข้าสนามรบย่อมชนะข้าศึกและแคล้วคลาดจากอาวุธทั้งปวง

นอกจากนี้ ยังมีการระบุถึง เดช ของการสวดสาธยายพระคาถาอุปปาตะสันติเป็นประจำไว้ว่า

  1. อุปปาตะคือเหตุร้ายหรือสิ่งกระทบกระเทือน อันเกิดจากแผ่นดินไหวเป็นต้น ย่อมพินาศไป (ปะถะพะยาปาทิสัญชาตา)
  2. อุปปาตะ คือ คือเหตุร้ายหรือสิ่งกระทบกระเทือน อันเกิดจากลูกไฟที่ตกจากอากาศหรือสะเก็ดดาว ย่อมพินาศไป (อุปปาตะจันตะลิกขะชา)
  3. อุปปาตะ คือ คือเหตุร้ายหรือสิ่งกระทบกระเทือน อันเกิดจากการเกิดจันทรุปราคาหรือสุริยุปราคา เป็นต้น ย่อมพินาศไป (อินทาทิชะนิตุปปาตา)

ประวัติการสวดสาธยาย

จุดประสงค์ของการสวดสาธยายพระคาถาอุปปาตะสันติมีอยู่หลากหลาย ตามข้อมูลของพระธรรมคุณาภรณ์ (เช้า ฐิตปัญโญ ป.ธ.9) ระบุว่าสมัยที่ท่านพระมหามังคละสีลวังสะแต่งอุปปาตะสันตินั้น ที่เชียงใหม่มีโจรผู้ร้ายและคนอันธพาลชุกชุมผิดปกติ มีเหตุร้ายและสิ่งกระทบกระเทือนอยู่เสมอ พระมหาเถระสีละวังสะจึงให้พระสงฆ์สามเณร และประชาชนพากันสวดและฟังอุปปาตะสันติ เพื่อสงบเหตุร้ายทั้งมวลที่เกิดขึ้นในบ้านเมือง

ขณะที่ข้อมูลของพระคันธสาราภิวงศ์ ระบุว่า ในปี พ.ศ. 1949 เมื่อกองทัพจีนยกพลมารุกรานเมืองเชียงใหม่ในรัชสมัยของพระเจ้าสามฝั่งแกน พระสีลวังสมหาเถระผู้เป็นพระอรหันต์ได้แต่งคัมภีร์อุปปาตสันติ มีจารึกอยู่ในพงศาวดารพม่าว่า พระเจ้าสามฝั่งแกนโปรดเกล้าฯ ให้สร้างมณฑปเล็กใหญ่ในทิศเฉียงทั้ง 3 ทิศ คือทิศตะวันตกเฉียงเหนือมีความหมายเป็นอายุ ทิศตะวันออกเฉียงใต้มีความหมายเป็นเตชะ และทิศตะวันตกเฉียงใต้มีความหมายเป็นสิริ มีการประดิษฐานพระพุทธปฏิมาในท่ามกลางมณฑปใหญ่ และมีรูปหล่อของพระอินทร์อยู่หน้าพระพุทธรูป มีรูปหล่อของท้าวจตุโลกบาลทั้ง 4 ในมณฑปเล็ก 4 แห่ง พระสงฆ์ได้สาธยายรัตนสูตร เมตตสูตร อาฏานาฏิยสูตร และอุปปาตสันติ โดยเริ่มตั้งแต่สถานที่ซึ่งสมมุติทิศว่าเป็นอายุ เมื่อสาธยายพระปริตรและอุปปาตสันติเช่นนี้ภายในเวลาสองสามวัน ภัยพิบัติอันใหญ่หลวงได้เกิดขึ้นในกองทัพจีน ทำให้กองทัพระส่ำระสายและถอยทัพไปในที่สุด

พระธัมมานันทมหาเถระอดีตเจ้าอาวาสวัดท่ามะโอ ยังกล่าวถึงการใช้พระคาถานี้ในประเทศพม่าว่า ในรัชสมัยของพระเจ้าตาลวนที่เสด็จเถลิงราชสมบัติในปี พ.ศ. 2173 และรัชสมัยของพระเจ้าวัมแบอินสัน ได้เกิดกบฏในพระราชวัง มีการสู้รบระหว่างกบฏกับทหาร ฝ่ายกบฏปราชัยถูกฆ่าตาย ต่อมาผีของพวกกบฏได้อาละวาด โดยแสดงรูปร่างให้เห็น ดึงผ้าห่มของคนที่นอนหลับอยู่ ดึงปิ่นผมของนางสนม บางคราวก็หัวเราะ แล้วขว้างปาดอกไม้หรือผลไม้เข้าไปในพระราชวัง บางทีก็หลอกหลอนให้ตกใจ ทำให้คนในพระราชวังเดือดร้อน บางคนจับไข้ไม่สบาย คราวนั้นพระธัมมนันทะ (ชาวพม่าเรียกว่า งะยะแนนัตแสกยองสะยาด่อ) ได้ทำพิธีสาธยายมนต์พระปริตรเพื่อระงับเหตุร้ายเหล่านั้นในวันขึ้น 12 ค่ำ เดือน 6 พ.ศ. 2217 พงศาวดารพม่ากล่าวว่าคัมภีร์อุปปาตสันติก็ได้รับการสาธยายร่วมกับพระปริตรอื่น ๆ ในครั้งนั้น และจากการสาธยายมนต์พระปริตรนี้ ผีร้ายที่หลอกหลอนอยู่ในพระราชวังก็สาบสูญไปหมด ชาววังต่างได้รับความสุขถ้วนหน้าแต่นั้นมา

ครั้นต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแผ่นดินระหว่างรัชสมัยของพระเจ้าภะจีด่อกับพระเจ้าตายาวดี ใน พ.ศ. 2380 ได้เกิดความไม่สงบขึ้นภายในประเทศ พระอาจารย์พุธ (ชาวพม่าเรียกว่า ยองกันสะยาด่อ) แปลอุปปาตสันติให้พระสงฆ์กับชาวเมืองร่วมกันสาธยาย ความไม่สงบภายในประเทศก็อันตรธานไป และต่อมาใน พ.ศ. 2452 พระอาจารย์แลดีสะยาด่อ วัดอ่องลังไตยอดเขาไจ้ตันลัน ณ จังหวัดเมาะลำเลิง ท่านได้ปรึกษากับพระอาจารย์ยะตะนาโภงมยิน แล้วแต่งคัมภีร์โรคันตรทีปนี เป็นแนวทางการสาธยายเพื่อระงับอหิวาตกโรคที่ระบาดอยู่ในขณะนั้น ท่านระบุว่าการสาธยายมหาสมัยสูตรและอุปปาตสันติ จะอำนวยผลให้พ้นจากอุปสรรคอันตรายทุกอย่างได้

การแพร่หลาย

คัมภีร์นี้เป็นคัมภีร์แต่งขึ้นในอาณาจักรล้านนา แต่ได้เสื่อมความนิยมไปหลังจากอาณาจักรล้านนาตกอยู่ใต้อำนาจของพม่าจนแทบไม่มีใครรู้จัก อย่างไรก็ตามมีหลักฐานคัมภีร์พระคาถาอุปปาตะสันติ ฉบับหนึ่งในล้านนาซึ่งเขียนไว้ในสมุดข่อย หมึกจีน อาบน้ำชาด ในบานแผนกระบุว่า

‘‘ในปีจุลศักราช 1279 ปีดับไก๊ เดือน 8 เหนือ เพ็ญ วันศุกร์ ปีกุน สัปตศก พ.ศ. 2478 เจ้าภาพเขียนต้นฉบับนี้ คือ นายน้อยปิง มารวิชัย บ้านประตูท่าแพเป็นประธานพร้อมทั้งภริยาลูกและญาติทุกคน ได้จ้างคนเขียนธรรม 5 ผูก คือ มลชัย 1 ผูก,อินทนิล 1 ผูก, สังยมาปริตตคลสูตร 1 ผูก, นัครฐาน 1 ผูก และอุปปาตสันติ 1 ผูก พร้อมทั้งสร้างบ่อน้ำถวาย พระครูบาศรีวิชัย (ปฏิคาหก) ทานวัดศรีโสดา และถนนขึ้นดอยสุเทพ ขอกุศลบุญเยี่ยงนี้ จงเป็นปัจจัยค้ำชูตัวแห่งผู้ข้า ฯ (นายน้อยปิง) ทั้งหลายทุกคนตราบถึงนิพพานในอนาคตกาลโน้นเทอญ ฯ’’

กระนั้นก็ตาม แม้จะนิยมน้อยลงไปในล้านนา แต่กลับได้รับความนิยมสาธยายในประเทศพม่า ได้จัดพิมพ์ครั้งแรกโดยโรงพิมพ์ภอนวาจา ย่างกุ้ง พ.ศ. 2488 มีทั้งฉบับบาลีและฉบับนิสสัย (ฉบับแปลคำต่อคำ) ของพระชัมพุทีปธชะซึ่งแปลจบในวันพุธ แรม 2 ค่ำ เดือน 5 พ.ศ. 2379 ต่อมากระทรวงมหาดไทยและการศาสนาของพม่าได้จัดพิมพ์บทสวดมนต์ฉบับหลวงที่เรียกว่า สิริมังคลาปริตตอ (พระปริตรเพื่อสิริมงคล) ใน พ.ศ. 2500 นับว่าเป็นเวลานานที่คนไทยไม่รู้จักคัมภีร์นี้ จนกระทั่งพระเทพเมธาจารย์ (เช้า ฐิตปญฺโญ ป.ธ.9) อดีตเจ้าอาวาสวัดโพธาราม จังหวัดนครสวรรค์ (ต่อมาได้รับสมณศักดิ์เป็น พระธรรมคุณาภรณ์) ได้ชำระและจัดพิมพ์เป็นฉบับบาลีอักษรไทยในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2505 โดยได้รับต้นฉบับบาลีอักษรพม่าจากพระธัมมานันทมหาเถระ ธรรมาจริยะ เจ้าอาวาสวัดท่ามะโอในปัจจุบัน ที่นำต้นฉบับมาจากประเทศพม่าเมื่อ พ.ศ. 2503

คัมภีร์นี้มีฉบับแปลหลายฉบับ เท่าที่ทราบมี 4 ฉบับ คือ

  1. ฉบับจิตตภาวัน พระมหาประเทือง สํฆสิริ (ป.ธ.8) แปลไว้ใน พ.ศ. 2522 จัดพิมพ์เผยแพร่หลายครั้งโดยจิตตภาวันวิทยาลัยและวัดท่ามะโอ
  2. ฉบับวัดท่ามะโอ ผศ.มยุรี เจริญ นำฉบับของพระมหาประเทืองมาขัดเกลาสำนวนใหม่จัดพิมพ์ใน พ.ศ. 2544 เนื่องในงานทำบุญฉลองมงคลอายุ 81 ปีของพระธัมมานันทมหาเถระ อัครมหา-บัณฑิต เจ้าอาวาสวัดท่ามะโอ จังหวัดลำปาง
  3. ฉบับอาจารย์สุรีย์ มีผลกิจ จัดพิมพ์ใน พ.ศ. 2539 โดยนำฉบับของพระมหาประเทืองมาขัดเกลาสำนวนใหม่เช่นกัน
  4. ฉบับ ศ. (พิเศษ) เสฐียรพงษ์ วรรณปก จัดพิมพ์ครั้งที่ 1 ใน พ.ศ. 2539 ฉบับนี้มีคำแปลไพเราะสละสลวย มีเชิงอรรถอธิบายข้อความบางแห่งไว้ท้ายเล่ม และจัดพิมพ์ครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2544โดยวัดโพธาราม จังหวัดนครสวรรค์ แต่มิได้จัดพิมพ์เชิงอรรถไว้
  5. ฉบับพระคันธสาราภิวงศ์ แห่งวัดท่ามะโอ จังหวัดลำปาง แปลเมื่อปี 2552 ในชื่อ บทสวดอุปปาตสันติ

อ้างอิง

  1. พระคันธสาราภิวงศ์ (2552) หน้า 5
  2. พระคันธสาราภิวงศ์ (2552) หน้า 5
  3. พระคันธสาราภิวงศ์ (2552) หน้า 6
  4. พระคันธสาราภิวงศ์ (2552) หน้า 6
  5. พระคันธสาราภิวงศ์ (2552) หน้า 6
  6. รศ. สมหมาย เปรมจิตต์. (2545). หน้า 5
  7. Bode, Mabel Haynes. (1909) หน้า 47
  8. พระคันธสาราภิวงศ์ (2552) หน้า 7
  9. พระธรรมคุณาภรณ์
  10. พระธรรมคุณาภรณ์
  11. พระธรรมคุณาภรณ์
  12. พระคันธสาราภิวงศ์ (2552) หน้า 11 - 12
  13. พระคันธสาราภิวงศ์ (2552) หน้า 13
  14. พระคันธสาราภิวงศ์ (2552) หน้า 14
  15. พระธรรมคุณาภรณ์
  16. พระคันธสาราภิวงศ์ (2552) หน้า 6

บรรณานุกรม

บทสวดอุปปาตสันติ

  • พระคันธสาราภิวงศ์ (2552). "บทสวดอุปปาตสันติ." ลำปาง : วัดท่ามะโอ
  • Bode, Mabel Haynes. (1909). "The Pali literature of Burma." London : Royal Asiatic society.
  • รศ. สมหมาย เปรมจิตต์. (2545). เอกสาร ประกอบการเสวนาเรื่อง "วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาล้านนา" ในการจัดประชุม สัมมนาทางวิชาการเรื่อง "พระพุทธศาสนาในล้านนา" โดยคณะศาสนาและ ปรัชญา ระหว่างวันที่ 20 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 ณ ศูนย์ฝึกอบรม ธนาคารไทยพาณิชย์ ต.บ้านปง อ.หางดง จ.เชียงใหม่
  • พระธรรมคุณาภรณ์ (เช้า ฐิตปัญโญ ป.ธ.9) อ้างโดย ภฏ ภูปรเศรษฐ์ นักวิชาการศาสนาชำนาญการ (ป.ธ.7). เอกสารเรื่อง "การสวดอุปปาตะสันติมหาสันติงหลวง"

ปปาตะส, นต, บทความน, องการตรวจสอบความถ, กต, องจากผ, เช, ยวชาญ, โปรดด, รายละเอ, ยดเพ, มเต, มในหน, าอภ, ปราย, หากค, ณม, ความร, เก, ยวก, บเร, องน, ณสามารถช, วยปร, บปร, งเน, อหาได, นท, โดยการกดป, แก, ไข, านบน, งเม, อตรวจสอบและแก, ไขแล, วให, นำป, ายน, ออกบทความน, ง. bthkhwamnitxngkartrwcsxbkhwamthuktxngcakphuechiywchay oprdduraylaexiydephimetiminhnaxphipray hakkhunmikhwamruekiywkberuxngni khunsamarthchwyprbprungenuxhaidthnthi odykarkdpum aekikh danbn sungemuxtrwcsxbaelaaekikhaelwihnapaynixxkbthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng khunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxkphrakhathaxuppatasnti epnrxykrxnginrupchnthlksnphasabalikhnadyawcanwn 271 khatha epnbthswdsrresriyphraphuththkhun phrathrrmkhun phrasngkhkhun odyrabunamkhxngphraphuththecathnginxdit pccubn aelaxnakht rwmthungphraxrhntthnghlay phrakhathaniaephrhlayinxanackrlannaaetobran aelaidaephrhlayinphmamachanan krathngidrbkarephyaephrsuaephndinithy aelaepnniymswdknxyangaephrhlay nxkcakchuxphrakhathaxuppatasntiaelw thanglannayngeriykwa mhasntinghlwng xikdwy enuxha 1 thima 2 enuxha 3 xanisngskhxngkarswd 4 prawtikarswdsathyay 5 karaephrhlay 6 xangxing 7 brrnanukrmthima aekikhxuppatasnti aeplwa mntrangbehturay hruxbthswdrangbephthphy ody xup pat aeplwa ehturay xntray phyphibti swn sn ti aeplwa rangb thaihsngb thangemuxngehnuxeriykwa mhasntinghlwng epnbthswdmntobranthimipraoychnephuxrangbehturayaelasrangsantisukhihekidkhuninaephndin prakxbdwykhathalwncanwn 271 bth odyphrakhathani cdepnkhmphirthangphuththsasnainhmwd echiyngihmkhntha khux khmphirthiaetngkhunthiemuxngechiyngihm inyukhthiphraphuththsasnarungeruxngxyangmakinxanackrlanna 1 phrakhnthsaraphiwngs aehngwdthamaox cnghwdlapang hnunginphuaeplphrakhathani rabuwa phurcnakhmphirni khux phrasilwngsethra wdochtikaram emuxngechiyngihm idaetngkhuntamkhaxarathnakhxngphraecasamfngaeknin ph s 1949 culskrach 767 tamtanannn rabuwaehtuthiphramhakstriythrngxarathnawa enuxngdwyphwkcinhxykphlmarukranemuxngechiyngihm phraecaaephndincungxarathnaihaetngkhunaelwnimntphrasngkhsathyayrwmkbchawemuxng sngphlihthphcinhxrasarasaydwyphyphibtibangxyangaelwthxythphipinthisud 2 phrathrrmkhunaphrn echa thitpyoy p th 9 aehngxditecaxawaswdmhaophtharam cnghwdnkhrswrrkh phucharakhmphirphrakhathaniepnphasabalixksrithy rabuiwin khachiaecngeruxngkhmphirxuppatsnti wa phurcnakhux phrasilwngsmhaethra aetngthiechiyngihmsmykrungsrixyuthya rahwang ph s 1893 ph s 2010 swninprawtikhmphirxuppatsnti chbbwdophtharamaelachbbkhxngsuriy miphlkic klawwa khmphirniaetngodyphramhamngkhlasilwngsaphraethrankprachykhxngchawechiyngihmruphnung insmykhxngphraecasirithrrmckkwttilkrachathirach phraecatiolkrach rchkalthi 11 aehngrachwngsmngray rahwang ph s 1985 2030 3 xyangirktam phrakhnthsaraphiwngs rabuwa inkhanaphasaphmakhxngorngphimphphxnwacaklawwa phrakhathaaetngkhuntamkhaxarathnakhxngphraecasamfngaeknin ph s 1949 sungemuxtrwcsxbprawtisastrkhxnglannaphbwa phraecasamfngaeknkhrxngrachyepnewla 38 pi rahwang ph s 1945 1984 khrnghnung phwkcinhxykthphmalxmemuxngechiyngaesniw ephraalannaimsngswyihnbtngaetsmykhxngphraecakuxna phraxngkhcungrbkbcinhxepnewla 2 pi in ph s 1947 48 4 nxkcaknn inrchsmykhxngphraecasamfngaeknphraxngkhmiphrasngkhlannaklumhnungcanwn 25 rup naodyphramhathmmkhmphir phramhaemthngkr phramhayanmngkhlphramhasilwngs phramhasaributr phramhartnakr aelaphraphuththsakhr epntn idedinthangipsusankphramhaswamiwnrtnthilngkaephuxeriynxkkhrabali karxanxxkesiyng karswdtamxkkhrabaliinlngka aelakhxxupsmbthihmineruxkhnanthithaeruxyapainaemnaklyani ph s 1968 sungcaehnidwachuxphramhasilwngskpraktxyuinphrasngkhlannathiedinthangsubphrasasnainlngka dngnncungnamikhxsrupwakhmphirniaetngodyphrasilwngsethra inrchsmykhxngphraecasamfngaekn 5 xyangirktam tamthsnakhxngphusuksawrrnkrrmthangphuththsasnamikhwamehnimtrngknekiywkbphurcnaphrakhathani ody rs smhmay eprmcitt rabuwa phrakhathaxuppatasnti rcnaodyphraethrimthrabnamruphnung rahwangpiph s 2020 2070 6 kxnhnani Bode yngaesdngkhwamehnwa phrakhathaxuppatasnti rcnakhunodyphraethraimthrabnamechnkn phayhlngcakthiphraecabuerngnxng thrngidemuxngechiyngihmmaiwinkhxbkhnthsima aelaidthrngsngphraoxrsippkkhrxngtangphraentrphrakrrn inkarniidmikarxarathnaphrasththmmackkasamimaynglanna ephuxcharaphrasasna in The Pali literature of Burma rabuwa inchwngewlani lannapraktphraethraphurcnapkrntang ephiyngimkithan aesdngihehnwa yukhrungeruxngkhxngphraphuththsasnaindinaednnierimesuxmthxylngaelw krathngphrakhathaxuppatasntikyngimthrabnamphuaetng 7 tamkarklawxangkhxng Bode nn khadwaxingkbhlkthanthangphmaepnhlk sunghakphrakhathaxuppatasntircnakhuninchwngrchsmykhxngphraecabuerngnxngcring khadwanacamichwngewlarcnaxyuthirahwang ph s 2094 ph s 2124 sungepnchwngthiphraecabuerngnxngthrngkhrxngrachy xyangirktam mikhwamepnipidechnknwawnewlathikarklawxanginngankhxng Bode xacmiidhmaythungkarrcna aetepnchwngthiphrakhathaaephrhlayekhasuphmathngni khmphirsasnwngs sungrcnaodyphrapyyasami phraethrachawphma emuxpi ph s 2404 klawthungphrakhathaxuppatasnti iwwa xup patsn tuxy ytor ethor t kir xup patsn tu sch chayit wa cinry oy esn xchiniti phraethraimpraktchuxxngkhhnungthapkrnchuxxuppatsnti nywaswdxuppatsntinnaelw chnaphwkthharcin 8 aesdngihehnwa aemaetinphmasungphrakhathaniepnthiniymswdsathyay kyngimthrabnamphuaetng aetxyangnxyyngrabuchdwa phrakhathanircnakhuninsmyphraecasamfngaeknaehnglanna ephuxpxngknphyrukrancakphwkcinhx sungepnkhxmublthipraktininkhanaphrakhathainphasaphmachbbkhxngorngphimphphxnwacaenuxha aekikhkhmphirniepnbthswdsrresriykhunkhxngphraphuththeca phrathrrm aelaphrasngkh thnginxdit pccubnaelaxnakht xikthngsrresriyphrakhunkhxngphuthrngkhunthrngvththiaelathrngxanactang thaihekidxanuphaphthiechuxknwasamarthkhcdpdepaephthphydanraythngpwngihklayepndiiddwyxanuphaphkhxngmntbthni thixangkhunkhxngphraitrrtnaelasingskdisiththithnghlay banemuxngaelasngkhmcamiaetkhwamsngbsukh prascakorkhphyehturaythngpwng ihkhunthngphuswdaelaphufngodythwnthw thngni bukhkhlaelasphawathixangthunginkhmphirxuppatasntimi 13 praephthkhux phraphuththecathnghlayinxditthungpccubn ennthi 28 phraxngkh phrapceckphuththeca phraphuththecainxnakht 1 phraxngkhkhuxphraemtitry olkuttrthrrm 9 aelaphrapriytithrrm 1 phrasngkhrtna phraethrachnphuihy 108 rup phraethrichnphuihy 13 rup phyanakh eprtbangphwk xsur ethwda phrhm bukhkhlpraephthrwm echn ethwda yks pisac khuxphithithasingid xyangoldophn aelawichchathrhruxphithyathr snskvteriykwithyathr phasaxngkvseriykwaphwkesxerxhruxphxmd aemmd hruxphuwiess phwkwichchathr epnphwkrxbrueruxngekhruxngrangaelathaesnhtang ipthangxakasid 9 xanisngskhxngkarswd aekikhphrathrrmkhunaphrn phucharakhmphirphrakhathaniepnphasabalixksrithyemuxpi ph s 2500 klawthungxanisngskhxngkarswdsathyayphrakhathaxuppatasnti iwwacachwyethaihsngkhmrmeynepnsukh dngthiklawthunginkhmphirxuppatasnti thisakhy 3 prakarkhux sntihruxmhasnti khwamsngbkhwamrabrunkhwameyuxkeynkhwamimmikhlun ostthi khwamswsdikhwamplxdphykhwamepnxyueriybrxyhruxtunirphy xaorkhya khwamimmisingepnechuxorkhkhwamimmiorkhhruxkhwammisukhphaphsmburnkhmphirxuppatasntimikhxkhwamkhxkhwamchwyehlux odykhxihphrartntryaelabukhkhlphrxmthngsingthrngxiththiphlinckrwalrwm 13 praephth dngthiklawmaaelw chwysrangsntihruxmhasnti chwysrangostthi aelaxaorkhya chwyprungaetngsntiaelaxaorkhya khxihchwyrwmsnti rwmostthiaelarwmxaorkhya aelakhxihchwyepnekraakhumkhrxng aelakacdehturayxntrayhruxsingkrathbkraethuxntang xyaihekidmiintn inkhrxbkhrw inhmukhna hruxinwngngankhxngtn aelainwngngankhxngkhnxunthwip sungxanisngskarswdaelakarfngxuppatasnti dngthipraktinthaykhmphir yngmidngtxipnixikwa phuswdhruxphufngxuppatasnti yxmchnaehturaythngpwngid aelamiwuthiphawakhux khwamecriydwyxayu wrrna sukha phla aelaptiphan phuswdhruxphufngxuppatasntiyxmidpraoychnthitntxngkar khuxphuprasngkhkhwamplxdphyyxmidkhwamplxdphy khnxyaksbayyxmidkhwamsukh khnxyakmixayuyunyxmidxayuyun khnxyakmilukyxmidluksmprasngkhphuswdhruxphufngxuppatasnti yxmimmiorkhlmepntnmaebiydebiyn immixkalamrnakhuxtaykxnxayukhy thunnimitrkhuxlangraytangmlayhayip phuswdhruxphufngxuppatasntiemuxekhasnamrbyxmchnakhasukaelaaekhlwkhladcakxawuththngpwngnxkcakni yngmikarrabuthung edch khxngkarswdsathyayphrakhathaxuppatasntiepnpracaiwwa xuppatakhuxehturayhruxsingkrathbkraethuxn xnekidcakaephndinihwepntn yxmphinasip pathaphayapathisychata xuppata khux khuxehturayhruxsingkrathbkraethuxn xnekidcaklukifthitkcakxakashruxsaekddaw yxmphinasip xuppatacntalikkhacha xuppata khux khuxehturayhruxsingkrathbkraethuxn xnekidcakkarekidcnthruprakhahruxsuriyuprakha epntn yxmphinasip xinthathichanituppata 10 prawtikarswdsathyay aekikhcudprasngkhkhxngkarswdsathyayphrakhathaxuppatasntimixyuhlakhlay tamkhxmulkhxngphrathrrmkhunaphrn echa thitpyoy p th 9 rabuwasmythithanphramhamngkhlasilwngsaaetngxuppatasntinn thiechiyngihmmiocrphurayaelakhnxnthphalchukchumphidpkti miehturayaelasingkrathbkraethuxnxyuesmx phramhaethrasilawngsacungihphrasngkhsamenr aelaprachachnphaknswdaelafngxuppatasnti ephuxsngbehturaythngmwlthiekidkhuninbanemuxng 11 khnathikhxmulkhxngphrakhnthsaraphiwngs rabuwa inpi ph s 1949 emuxkxngthphcinykphlmarukranemuxngechiyngihminrchsmykhxngphraecasamfngaekn phrasilwngsmhaethraphuepnphraxrhntidaetngkhmphirxuppatsnti micarukxyuinphngsawdarphmawa phraecasamfngaeknoprdekla ihsrangmnthpelkihyinthisechiyngthng 3 this khuxthistawntkechiyngehnuxmikhwamhmayepnxayu thistawnxxkechiyngitmikhwamhmayepnetcha aelathistawntkechiyngitmikhwamhmayepnsiri mikarpradisthanphraphuththptimainthamklangmnthpihy aelamiruphlxkhxngphraxinthrxyuhnaphraphuththrup miruphlxkhxngthawctuolkbalthng 4 inmnthpelk 4 aehng phrasngkhidsathyayrtnsutr emttsutr xatanatiysutr aelaxuppatsnti odyerimtngaetsthanthisungsmmutithiswaepnxayu emuxsathyayphrapritraelaxuppatsntiechnniphayinewlasxngsamwn phyphibtixnihyhlwngidekidkhuninkxngthphcin thaihkxngthphrasarasayaelathxythphipinthisud 12 phrathmmannthmhaethraxditecaxawaswdthamaox yngklawthungkarichphrakhathaniinpraethsphmawa inrchsmykhxngphraecatalwnthiesdcethlingrachsmbtiinpi ph s 2173 aelarchsmykhxngphraecawmaebxinsn idekidkbtinphrarachwng mikarsurbrahwangkbtkbthhar faykbtprachythukkhatay txmaphikhxngphwkkbtidxalawad odyaesdngruprangihehn dungphahmkhxngkhnthinxnhlbxyu dungpinphmkhxngnangsnm bangkhrawkhweraa aelwkhwangpadxkimhruxphlimekhaipinphrarachwng bangthikhlxkhlxnihtkic thaihkhninphrarachwngeduxdrxn bangkhncbikhimsbay khrawnnphrathmmnntha chawphmaeriykwa ngayaaenntaeskyxngsayadx idthaphithisathyaymntphrapritrephuxrangbehturayehlanninwnkhun 12 kha eduxn 6 ph s 2217 phngsawdarphmaklawwakhmphirxuppatsntikidrbkarsathyayrwmkbphrapritrxun inkhrngnn aelacakkarsathyaymntphrapritrni phiraythihlxkhlxnxyuinphrarachwngksabsuyiphmd chawwngtangidrbkhwamsukhthwnhnaaetnnma 13 khrntxmaemuxmikarepliynaephndinrahwangrchsmykhxngphraecaphacidxkbphraecatayawdi in ph s 2380 idekidkhwamimsngbkhunphayinpraeths phraxacaryphuth chawphmaeriykwa yxngknsayadx aeplxuppatsntiihphrasngkhkbchawemuxngrwmknsathyay khwamimsngbphayinpraethskxntrthanip aelatxmain ph s 2452 phraxacaryaeldisayadx wdxxnglngityxdekhaictnln n cnghwdemaalaeling thanidpruksakbphraxacaryyatanaophngmyin aelwaetngkhmphirorkhntrthipni epnaenwthangkarsathyayephuxrangbxhiwatkorkhthirabadxyuinkhnann thanrabuwakarsathyaymhasmysutraelaxuppatsnti caxanwyphlihphncakxupsrrkhxntraythukxyangid 14 karaephrhlay aekikhkhmphirniepnkhmphiraetngkhuninxanackrlanna aetidesuxmkhwamniymiphlngcakxanackrlannatkxyuitxanackhxngphmacnaethbimmiikhrruck xyangirktammihlkthankhmphirphrakhathaxuppatasnti chbbhnunginlannasungekhiyniwinsmudkhxy hmukcin xabnachad inbanaephnkrabuwa inpiculskrach 1279 pidbik eduxn 8 ehnux ephy wnsukr pikun sptsk ph s 2478 ecaphaphekhiyntnchbbni khux naynxyping marwichy banpratuthaaephepnprathanphrxmthngphriyalukaelayatithukkhn idcangkhnekhiynthrrm 5 phuk khux mlchy 1 phuk xinthnil 1 phuk sngymaprittkhlsutr 1 phuk nkhrthan 1 phuk aelaxuppatsnti 1 phuk phrxmthngsrangbxnathway phrakhrubasriwichy ptikhahk thanwdsriosda aelathnnkhundxysuethph khxkuslbuyeyiyngni cngepnpccykhachutwaehngphukha naynxyping thnghlaythukkhntrabthungniphphaninxnakhtkalonnethxy 15 krannktam aemcaniymnxylngipinlanna aetklbidrbkhwamniymsathyayinpraethsphma idcdphimphkhrngaerkodyorngphimphphxnwaca yangkung ph s 2488 mithngchbbbaliaelachbbnissy chbbaeplkhatxkha khxngphrachmphuthipthchasungaeplcbinwnphuth aerm 2 kha eduxn 5 ph s 2379 txmakrathrwngmhadithyaelakarsasnakhxngphmaidcdphimphbthswdmntchbbhlwngthieriykwa sirimngkhlaprittx phrapritrephuxsirimngkhl in ph s 2500 nbwaepnewlananthikhnithyimruckkhmphirni cnkrathngphraethphemthacary echa thitpy oy p th 9 xditecaxawaswdophtharam cnghwdnkhrswrrkh txmaidrbsmnskdiepn phrathrrmkhunaphrn idcharaaelacdphimphepnchbbbalixksrithyineduxnsinghakhm ph s 2505 odyidrbtnchbbbalixksrphmacakphrathmmannthmhaethra thrrmacriya ecaxawaswdthamaoxinpccubn thinatnchbbmacakpraethsphmaemux ph s 2503 16 khmphirnimichbbaeplhlaychbb ethathithrabmi 4 chbb khux chbbcittphawn phramhapraethuxng skhsiri p th 8 aepliwin ph s 2522 cdphimphephyaephrhlaykhrngodycittphawnwithyalyaelawdthamaox chbbwdthamaox phs myuri ecriy nachbbkhxngphramhapraethuxngmakhdeklasanwnihmcdphimphin ph s 2544 enuxnginnganthabuychlxngmngkhlxayu 81 pikhxngphrathmmannthmhaethra xkhrmha bnthit ecaxawaswdthamaox cnghwdlapang chbbxacarysuriy miphlkic cdphimphin ph s 2539 odynachbbkhxngphramhapraethuxngmakhdeklasanwnihmechnkn chbb s phiess esthiyrphngs wrrnpk cdphimphkhrngthi 1 in ph s 2539 chbbnimikhaaeplipheraaslaslwy miechingxrrthxthibaykhxkhwambangaehngiwthayelm aelacdphimphkhrngthi 2 in ph s 2544odywdophtharam cnghwdnkhrswrrkh aetmiidcdphimphechingxrrthiw chbbphrakhnthsaraphiwngs aehngwdthamaox cnghwdlapang aeplemuxpi 2552 inchux bthswdxuppatsntixangxing aekikh phrakhnthsaraphiwngs 2552 hna 5 phrakhnthsaraphiwngs 2552 hna 5 phrakhnthsaraphiwngs 2552 hna 6 phrakhnthsaraphiwngs 2552 hna 6 phrakhnthsaraphiwngs 2552 hna 6 rs smhmay eprmcitt 2545 hna 5 Bode Mabel Haynes 1909 hna 47 phrakhnthsaraphiwngs 2552 hna 7 phrathrrmkhunaphrn phrathrrmkhunaphrn phrathrrmkhunaphrn phrakhnthsaraphiwngs 2552 hna 11 12 phrakhnthsaraphiwngs 2552 hna 13 phrakhnthsaraphiwngs 2552 hna 14 phrathrrmkhunaphrn phrakhnthsaraphiwngs 2552 hna 6brrnanukrm aekikhwikisxrs mingantnchbbekiywkb xuppatasntibthswdxuppatsnti phrakhnthsaraphiwngs 2552 bthswdxuppatsnti lapang wdthamaox Bode Mabel Haynes 1909 The Pali literature of Burma London Royal Asiatic society rs smhmay eprmcitt 2545 exksar prakxbkareswnaeruxng wrrnkrrmthangphraphuththsasnalanna inkarcdprachum smmnathangwichakareruxng phraphuththsasnainlanna odykhnasasnaaela prchya rahwangwnthi 20 21 krkdakhm ph s 2545 n sunyfukxbrm thnakharithyphanichy t banpng x hangdng c echiyngihm phrathrrmkhunaphrn echa thitpyoy p th 9 xangody pht phupresrsth nkwichakarsasnachanaykar p th 7 exksareruxng karswdxuppatasntimhasntinghlwng ekhathungcak https th wikipedia org w index php title xuppatasnti amp oldid 8699663, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม