fbpx
วิกิพีเดีย

ฮะดีษกุดซีย์

ฮะดีษกุดซีย์ คือ วัจนะของท่านศาสดามุฮัมหมัด (ศ็อลฯ) ที่ได้รายงานมาจากพระองค์อัลลอฮ์ (ซ.บ.) มีชื่อเรียกอีกว่า ฮะดีษร็อบบานีย์ และฮะดีษอิลาฮีย์. สารัตถะแห่งความหมายของฮะดีษนั้นมาจากอัลลอฮ์ ส่วนการใช้คำนั้นมาจากท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ซึ่งสารัตถะทางความหมายอาจผ่านสื่อกลางโดยมะลาอิกะฮ์ หรือการดลจิต (อิลฮาม) และหรือการหลับฝัน เพื่อส่งถึงท่านศาสดา. ฮะดีษเหล่านี้โดนส่วนมากจะขึ้นต้นด้วยคำว่า “กอลัลลอฮ์” หรือ “ยะกูลุ้ลลอฮ์”. ฮะดีษกุดซีย์กับอัลกุรอานมีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง เพราะอัลกุรอานทั้งด้านสารัตถะแห่งความหมายและตัวบทนั้นมาจากพระองค์เท่านั้น แต่ฮะดีษกุดซีย์เฉพาะสารัตถะแห่งความหมายเท่านั้นที่มาจากพระองค์. ในแง่มุมด้านความเป็นมุอ์ญิซาต หรือเนื้อหาความเข้าใจระหว่างอัลกุรอานและฮะดีษกุดซีย์ก็มีความแตกต่างกันอยู่ด้วย.วัจนะทั้งหลายจากบรรดาศาสดาท่านก่อนๆ ที่ได้บันทึกไว้ก็ถูกนับว่าเป็นฮะดีษกุดซีย์เช่นเดียวกัน . เนื้อหาของฮะดีษกุดซีย์ส่วนมากจะเป็นเรื่องของอัคลาก (จริยธรรม) และอิรฟาน (รหัสยะ).เนื้อหาที่สำคัญและทัศนะที่ขัดแย้งเกี่ยวกับฮะดีษกุดซีย์คือ ความเป็นวะฮีย์หรือไม่ใช่วะฮีย์ของอักขระตัวบท. ส่วนมากฮะดีษกุดซีย์ของศาสดา (ศ็อลฯ) ถูกบันทึกโดยอะนัส บินมาลิก , อะบูฮุรัยเราะฮ์ , อิบนิอับบาส และท่านอะลี (อ).

ฮะดีษกุดซีย์ถูกส่งมายังท่านศาสดามุฮัมหมัด ภายหลังจากสงครามอุฮุด ที่กล่าวถึงความกล้าหาญของอะลีว่า "ไม่มีบุรุษใดนอกจากอะลี และไม่มีดาบใดนอกจากซุ้ลฟิก็อร"

การตั้งชื่อ

คำว่า “กุดซีย์” (قدسی) เป็นคำประสมระหว่างคำนามกับคำวิเศษณ์ คือคำว่ากุดส์ ซึ่งหมายถึง ความสะอาด ความบริสุทธิ์. มีหลักฐานและเหตุผลมากมายสำหรับการตั้งชื่อฮะดีษกุดซีย์ ซึ่งเหตุผลที่แข็งแรงที่สุด ก็คือการเกี่ยวโยงไปยังพระองค์นั่นเอง. ความเป็นมาของการตั้งชื่อดังกล่าวเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลัง กิรมานีย์ เป็นหนึ่งในบุคคลแรกๆ ที่เรียกฮะดีษนี้ด้วยนามสามชื่อด้วยกันคือ กุดซีย์ , อิลาฮีย์ และร็อบบานีย์. แต่เมื่อทำการตรวจสอบถึงการใช้คำเรียกชื่อฮะดีษนี้ตามที่ถูกบันทึกในหนังสือต่างๆ ทำให้เห็นว่า ชื่อที่ใช้เรียกมากที่สุด และเก่าแก่ที่สุดคือ “ฮิลาฮีย์”. อิบนิกะษีรก็เป็นผู้หนึ่งที่ใช้ชื่อเรียกดังกล่าว. ส่วนคำว่าฮะดีษกุดซีย์ถูกเรียกขึ้นในภายหลัง แต่ได้รับความนิยมและเป็นที่คุ้นหูอย่างรวดเร็ว จนถูกเรียกแทนชื่อฮิลาฮีย์เป็นต้นมา. เกรเฮมให้ทัศนะว่า อับดุลลอฮ์บินฮะซันฏอยยิบีย์ (เสียปี ๗๔๓) เป็นบุคคลแรกที่ใช้เรียกว่าฮะดีษกุดซีย์ แต่ในความเป็นจริง อะมีร ฮะมีดุดดีน (เสียปี ๖๖๗) ใช้เรียกก่อนเขาเสียอีก. และมีอีกหลายท่านที่เรียกว่าฮะดีษนี้ว่ากุดซีย์เช่น ๑. กอยซอรี (เสีย ๗๕๑) ในหนังสือ ชัรห์ฟุซูซุลฮิกัม ๒. ชะฮีดเอาวัล (เสีย ๗๘๖) ในหนังสือ อัลกอวาอิด วัลฟะวาอิด ๓. กิรมานีย์ ในหนังสือ ชัรห์ ซอเฮี๊ยะห์บุคอรีย์ ๔. ญุรญานีย์ (เสีย ๘๑๖) ในหนังสือ ตะอ์รีฟาต ๕. อิบนิฮะญัร อัสกะลอนีย์ (เสีย ๘๕๒) ในหนังสือ ฟัตฮุลบารีย์ นักวิชาการไม่ได้พูดถึงชื่อที่เฉพาะ ในขณะที่พวกเขาใช้ประโยชน์จากฮะดีษกุดซีย์นี้ จนบางครั้งมีการจำชื่อฮะดีษกุดซีย์ว่า “อัลอะฮาดีษุลมะลาอิกียะฮ์” เป็นต้น 

  • คำนิยาม

    ในคำนิยามต่างๆ ของฮะดีษกุดซีย์ มีอยู่คำนิยามหนึ่งที่มีความเห็นตรงกันคือ ฮะดีษกุดซีย์เป็นวัจนะที่ท่านศาสดามุฮัมหมัด (ศ็อลฯ) ได้รับจากพระเจ้า. แต่เนื่องจากบทนิยามข้างต้นไม่ได้รับการปกป้องเท่าที่ควร จึงเป็นเหตุให้บรรดานักบันทึกฮะดีษทั้งหลายได้ทำการอธิบายถึงดัชนีและสารบัญต่างๆที่เฉพาะ และรวมถึงจุดต่างของฮะดีษกุดซีย์กับอัลกรุอานขึ้น.

    จำนวนเนื้อหาสำคัญและข้อปลีกย่อยของสารบัญฮะดีษกุดซีย์ และความแตกต่างนั้น ได้ถูกกล่าวไว้แตกต่างกันไป. เช่นท่านเชคบะฮาอีย์ได้อธิบายเป็นหัวข้อเดียวกันทั้งหมด ในขณะที่ท่านบะลูชีย์ได้อธิบายไว้ถึงสิบสี่หัวข้อด้วยกัน.

    ประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับฮะดีษกุดซีย์ที่มีการถกกันมากที่สุดคือ

    ๑. คำศัพท์ต่างๆ

    ๒. วิธีการแปลสาส์นดังกล่าวถึงท่านศาสดาอิสลาม

    ๓. ความมหัศจรรย์ของฮะดีษกุดซีย์ และเชิญชวนสู่การท้าพิสูจน์

    ๔. เงื่อนไขการสัมผัส และการอ่าน

    ๕. การอนุญาตให้อ่านในขณะนมาซ

    ๖.เนื้อหาต่างๆของฮะดีษกุดซีย์


วิชาดิรอยะฮ์ (ตรวจสอบสายรายงานฮะดีษ)เมื่อลงรายละเอียดฮะดีษกุดซีย์ในแขนงวิชาดิรอยะฮ์ จะพบถึงการถกกี่ยวกับเนื้อหาดังกล่าวมากมาย เช่น ในหลักฐานของญุรญานีย์ , อะบุ้ลบะกออ์ , ตะฮานะวีย์ และอื่นๆ ทั้งนี้จะต้องค้นคว้าจากสมัยของหนังสือ กะวาอิดุ้ตตะฮ์ดีษ ของท่านกอซิมีย์ (เสีย ๑๓๓๔) และหลังจากเล่มดังกล่าวในยุคหลังมานี้ก็สามารถค้นพบถึงหลักฐานได้เป็นอย่างดี. ในหลักฐานของชีอะฮ์ก็มีบันทึกไว้เช่นกัน เช่น เชคบะฮาอีย์ ได้บันทึกไว้ในอัลวะญีซะฮ์ และมัชริกุ้ลชัมซัยน์ และท่านมีรดามอด ในหนังสืออัรรอวาเชี๊ยะ อัซซะมาวียะฮ์ ซึ่งได้กล่าวอธิบายไว้อย่างชัดเจน.เนื้อหาฮะดีษ

เนื้อหาหลักของฮะดีษกุดซีย์จะกล่าวถึงวิธีการภาวนาจิต , จรรยามารยาท , การขัดเกลาจิตวิญญาณ , การส่งเสริมให้มีจิตบริสุทธิ์ และขอลุแก่โทษ , การระลึกถึงคุณงามความดีจากการปฏิบัติดี , การร่วมกิจกรรมกับบุคคลที่มีศรัทธาและสานสัมพันธ์กับพวกเขา , การส่งเสริมให้ปฏิบัติดี และห้ามปรามปฏิบัติชั่ว , อธิบายถึงความประเสริฐถึงการมีอยู่ของพระเจ้าองค์เดียวที่ทรงประทานรางวัลแด่ผู้ปฏิบัติดี และเรื่องราวของบรรดาศาสดาแห่งพระเจ้า เป็นต้น. และในเรื่องราวของหลักนิติศาสตร์ไม่ได้กล่าวถึงหลักการปฏิบัติภาคบังคับ (วาญิบ) เอาไว้ แต่จะพูดถึงมรรคผลและบทลงโทษของการปฏิบัติดีและปฏิบัติชั่วเอาไว้ และจะเน้นย้ำถึงหลักปฏิบัติแบบอาสา (มุสตะฮับ) ไว้มากมาย. ในหลักฐานของมัสฮับชีอะฮ์ฮะดีษกุดซีย์บางส่วนจะกล่าวถึงการพิสูจน์การเป็นอิมามัตและสิทธิของอิมาม ซึ่งถูกจำแนกไว้เป็นหมวดๆ. เมื่อสังเกตเนื้อหาของฮะดีษกุดซีย์ จะพบว่าเนื้อหาที่ส่งผล (ต่อผู้อ่าน)มากที่สุดจะเป็นในเรื่องราวของการภาวนาจิต และจรรยามารยาท และพื้นฐานของซูฟีย์เองก็ได้ถูกรวบรวมจากเนื้อหาฮะดีษนี้เช่นเดียวกัน อย่างเช่นในบันทึกของท่านมุห์ยุดดีน อิบนิ อะรอบีย์. แต่ในวิชาอิรฟานและจริยศาสตร์ไม่ค่อยมีการนำไปต่อยอดให้เห็น แต่ในทางนิติศาสตร์จะเห็นถึงการนำมาใช้ในการวินิจฉัยเพื่อการปฏิบัติกันเป็นจำนวนมาก.บางส่วนจากบทฮะดีษ จะกล่าวถึงการสนทนาของพระเจ้าในวันกิยามัต (วันแห่งการตัดสิน) กับบรรดาชาวสวรรค์และชาวนรก. และบางบทจะกล่าวถึงค่ำคืนแห่งการเมี๊ยะรอจของศาสดาอิสลามและการรับวะฮีย์ (สาส์นจากฟากฟ้า) เหตุนี้จึงมีการนำดุอาบท “อิดอียะตุ้ซซิร” มาอ่านกัน

  • ความเป็นวะฮีย์


เนื้อหาที่สำคัญและทัศนะที่แตกต่างกันในเรื่องของฮะดีษกุดซีย์ก็คือ ฮะดีษกุดซีย์เป็นวะฮีย์จากพระเจ้า และตัวบทจากศาสดาจริงหรือไม่?. นักค้นคว้าจำนวนหนึ่งเชื่อว่า คำและตัวบทของฮะดีษกุดซีย์ก็เหมือนกับฮะดีษบทอื่นๆ ที่เป็นวัจนะท่านศาสดาอิสลาม. จากทัศนะนี้ทำให้เข้าใจได้ว่า ฮะดีษกุดซีย์และคัมภีร์อัลกุรอานนั้นมีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง แต่ฮะดีษกุดซีย์นี้กลับมีความแตกต่างจากบรรดาฮะดีษอื่นๆเช่นกัน เพราะสารัตถะแห่งความหมายนั้นมาจากพระเจ้านั้นเอง ทั้งนี้ทั้งนั้นก็มีนักวิชาการหลายท่านเช่นกันที่เชื่อว่า คำและตัวบทฮะดีษกุดซีย์เหมือนกับอัลกุรอาน. ทัศนะนี้ส่วนมากจะเป็นนักวิชาการยุคเก่าก่อน ซึ่งให้เหตุผลว่า เพราะไม่ใช่สิ่งที่ถูกสร้างขึ้นมาใหม่ (ตามความเชื่อที่เป็นเอกฉันท์ของฮะลิลซุนนะฮ์ในหมวด อัลกุรอานไม่ใช่สิ่งถูกสร้างใหม่) ซึ่งนั้นก็คือมีความเหมือนกับอัลกุรอาน

  • วิธีรับสาส์น

    หัวข้อการรับสาส์นจากพระเจ้าของท่านศาสดาอิสลามในเรื่องของฮะดีษกุดซีย์ก็มีทัศนะที่ขัดแย้งกัน ทัศนะหนึ่งเชื่อว่า ท่านศาสดารับโองการอัลกุรอานโดยผ่านท่านญิบรออีล (ทูตสวรรค์) และการรับฮะดีษกุดซีย์นั้นจะไม่ผ่านสื่อใดๆ. แต่บางทัศนะก็เชื่อว่ามีความเป็นไปได้ที่ฮะดีษกุดซีย์จะถูกส่งโดยญิบรออีล วิธีการส่งผ่านฮะดีษกุดซีย์จะเป็นในรูปแบบการหลับ อิลฮาม (ดลใจ)


  • รูปแบบต่างๆ


รูปแบบเนื้อหาของฮะดีษกุดซีย์ได้ถูกอธิบายไว้สองแบบด้วยกันคือ รูปแบบที่หนึ่งเป็นวิธีของนักวิชาการรุ่นเก่าได้อ้างอิงรูปแบบว่า “รอซูลของอัลลอฮ์กล่าวว่า พระองค์กล่าวว่า...” (قال رسول اللّه(ص)فیما یروی عن ربه) และอีกรูปแบบหนึ่งจากวิธีของนักวิชาการรุ่นหลังว่า “อัลลอฮ์กล่าวโดยผ่านท่านรอซูลของพระองค์ว่า...” (قال اللّه تعالی فیما رواه عنه(ص)) ซึ่งทั้งสองรูปแบบข้างต้นนั้นถูกนำมาใช้กันทั่วไป เพราะทั้งสองได้ให้ความหมายว่า คำกล่าว (ฮะดีษกุดซีย์) ของท่านศาสดาบันทึกจากพระเจ้า เพื่อไม่ให้สับสนกับอัลกุรอาน

  • หมวดต่างๆ
    ฮะดีษกุดซีย์สามารถแบ่งได้เป็นสองหมวดคือ เป็นฮะดีษซึ่งบันทึกจากคำดำรัสของพระเจ้าเท่านั้น และอีกอย่างหนึ่งคือเป็นฮะดีษที่โดยส่วนมากจะกล่าวถึงเรื่องเล่าต่างๆซึ่งบันทึกจากคำดำรัสของพระเจ้า. 

    นักบันทึกฮะดีษของฮะฮ์ลิสซุนนะฮ์ต่างยอมรับว่าฮะดีษกุดซีย์ได้รับการบันทึกจากท่านศาสดาเพียงเท่านั้น แต่บรรดาซูฟีย์ยอมรับว่า นอกเหนือจากศาสดาอิสลามแล้วบรรดาศาสดาท่านอื่นๆก่อนหน้านี้ก็ได้มีรายงานไว้เช่นกัน และหนี่งจากนั้นคือเตารอต อินญีต และษะบูร ดังเช่นท่านมุห์ยุดดีน อิบนิ อะรอบีย์ ในหนังสือ มิชกาตุ้ลอันวาร ได้นำเสนอฮะดีษในหมวดที่สองว่าด้วยเรื่อง (مرفوعةً الی اللّه بغیر اسنادٍ الی رسول اللّه) การอ้างอิงคำกล่าวของพระองค์โดยผ่านท่านศาสดาเอาไว้. 

  • ความน่าเชื่อถือ


ความน่าเชื่อถือของฮะดีษกุดซีย์ก็เป็นอีกหัวข้อหนึ่งที่มีความขัดแย้งกันในบรรดานักวิชาการฮะดีษวิทยา. โดยบางท่านได้อธิบายถึงฮะดีษกุดซีย์ไว้ที่บทนำในหนังพวกเขาเอง บางครั้งก็อธิบายไว้ในหมวด เศาะเฮี๊ยะห์ และฎออีฟ ด้วยเหตุนี้ทำให้ฮะดีษกุดซีย์ถูกคัดแยกเป็นฮะดีษต่าง ๆ เช่น เศาะเฮี๊ยะห์ ฮะซัน และฎออีฟ. นักฮะดีษฮะฮ์ลิสซุนนะฮ์บางท่านได้อ้างถึงการไม่มีหลักฐานของฮะดีษกุดซีย์ เช่น ฮะดีษ (لولاک لما خلقت الافلاک). ซึ่งพวกเขาได้รวบรวมฮะดีษเหล่านี้ไว้โดยอ้างจากความน่าเชื่อถือแล้วแยกเป็นหมวดหมู่ ซึ่งเชื่อว่าเกือบครึ่งเป็นฮะดีษที่ฎออีฟ. เช่นฮัจญีอะห์มัด ในหนังสือ موسوعة الاحادیث القدسیة الصحیحة و الضعیفة ว่าจำนวน ๓๓๕ เป็นฮะดีษเศาะเฮี๊ยะห์และฮะซัน และ ๕๘๕ เป็นฮะดีษฎออีฟ และญะอ์ลีย์.

ฮะดีษกุดซีย์ถูกวิพากษ์ในแง่ของสายรายงานและตัวบท โดยเฉพาะการหยุดชะงักหรือดำเนินต่อของการรายงาน. Massignon เชื่อว่าฮะดีษกุดซีย์เป็นชนิดหนึ่งของชัตฮิยาตซูฟียะฮ์ (คำกล่าวที่อัศจรรย์เชิงเร้นลับ) แต่การส่งมอบสายรายงานของฮะดีษนี้ใช่ว่าจะไม่มีหลักฐาน เนื่องจากส่วนมากของนักซูฟีย์ (นักพรต) จะบันทึกโดยไม่ได้ให้ความสำคัญกับสายรายงานสักเท่าใดนัก และฮะดีษส่วนมากที่มีอยู่ก็ถูกบันทึกไว้เช่นนี้ในหลักฐานรุ่นก่อน อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาถึงฮะดีษกุดซีย์ในบทบาทชัตฮิยาตซูฟียะฮ์ (คำกล่าวที่อัศจรรย์เชิงเร้นลับ) จะเห็นถึงความคล้ายคลึงกันในชัตฮิยาต (คำกล่าวที่อัศจรรย์) และการค้นคว้าของนักซูฟีย์ในการตรวจสอบความถูกต้องของฮะดีษกุดซีย์ทำให้สะท้อนถึงความน่าจะเป็นไปด้อย่างเหมาะสมที่สุด. นอกจากนี้ฮะดีษกุดซีย์ยังได้รับการวิพากษ์อีกสองกรณีคือ เป็นฮะดีษที่รายงานโดยลูกหลานของท่านศาสดาอิสลาม หรือว่าเป็นฮะดีษที่ถูกบันทึกจากพระเจ้า และก็ยังถูกนำไปเปรียบเทียบกับเนื้อหาของคัมภีร์ในศาสนาคริสต์อีกด้วย.

เห็นได้ชัดว่าความอุตสาหะของนักซูฟีย์ในการยอมรับและใช้ประโยชน์จากหลักฐานที่อิงไปยังคัมภีร์โตราเพื่อให้ได้มาซึ่งความถูกต้องของฮะดีษกุดซีย์ ในขณะที่ส่วนมากจากฮะดีษเหล่านี้มีปรากฏชัดในหลักฐานชั้นต้นที่เชื่อถือได้ทั้งของซุนนีและชีอะฮ์ แม้กระทั่งได้นำมาอ้างอิงถึงการวินิจฉัยในหลักนิติศาสตร์อิสลาม.

  • จำนวน
    มีความคิดเห็นที่แตกต่างกันในจำนวนของฮะดีษกุดซีย์. บ้างก็ว่าหนึ่งร้อย บ้างก็ว่าสองร้อย จำนวนเหล่านี้ได้เพิ่มขึ้นในผลงานการบันทึกยุคหลัง เช่น ในหนังสือ เมาซูอะตุ้ลฮะดีษ อัลกุดซียะฮ์ : อัศเศาะเอี๊ยะห์ วัฎฎออีฟะฮ์ ของอัจญีอะห์มัด ซึ่งได้คำนวณถึงจำนวนฮะดีษที่เศาะเอี๊ยะห์และฎออีฟไว้ประมาณ เก้าร้อยสิบเก้า ฮะดีษ แต่ทั้งหมดนี้ก็ไม่ได้อยู่สภาพที่สมบูรณ์ และจำนวนที่ขัดแย้งกันบ่งบอกถึงความบกพร่องของตัวมันเอง. 

  • ผู้รายงาน


ในรายละเอียดผู้รายงานฮะดีษกุดซีย์ ว่าเป็นเศาะฮะบะฮ์ท่านใดเป็นผู้รายงานจากท่านศาสดาอิสลามนั้น ก็ไม่สามารถให้ทัศนะที่ชัดเจนได้ แต่หากตามการยืนยันจากหนังสือ อัลญาเมี๊ยะอ์ ฟีลอะฮาดีษ อัลกุดซียะฮ์ ของอับดุสสาม อัลละวิช ซึ่งได้จัดระเบียบถึงสายรายงานเอาไว้ได้บอกว่า ส่วนมากของฮะดีษได้รับการบันทึกจาก อะนัสบินมาลิก , ฮะบูฮุร็อยเราะฮ์ ,อิบนิอับบาส และท่านอะลี(อ). ในหนังสือฮะดีษของชีอะฮ์บันทึกไว้ว่า ฮะดีษกุดซีย์นั้นได้รับการบันทึกจากท่านศาสดาอิสลามโดยอะอิมมะฮ์(ลูกหลานท่านศาสดาอิสลาม(อ.)) และบางครั้งท่านศาสดารับคำดำรัสโดยตรงจากพระเจ้า หรือทูตของพระเจ้า (ญิบรออีล) หรือคำดำรัสของพระเจ้าแก่ศาสดาท่านก่อนๆ. 

  • หนังสือต่างๆ

    ฮะดีษกุดซีย์สามารถพบได้ในคลังบันทึกวิชาฮะดีษทั้งของซุนนีและชีอะฮ์. หนังสือที่เก่าแก่ที่สุดในเรื่องนี้คือ อัลมะวาอิส ฟิลอะฮาดิษ อัลกุดซียะฮ์ ของท่านฆอซซาลีย์ แต่ก็ยังมีข้อสงสัยเกี่ยวกับความถูกต้องอยู่. อีกเล่มหนึ่งที่มีความเก่าแก่เหมือนกันคือ อัลอะฮาดิษ อัลอิลาฮียะฮ์ ของท่านซอฮิร บินตอฮิร บินมุฮัมหมัด นีชาบูรีย์. และเจ้าของหนังสือที่เป็นที่รู้จักที่สุดในเรื่องนี้คือ ท่านมุห์ยุดดีน อิบนิ อะระบีย์ , ท่านมุลลา อะลีกอรีย์ , ท่านมุฮัมหมัดอับดุลรออูฟ มะนาวีย์ และท่านมุฮัมหมัดมะดะนีย์. และในบันทึกของชีอะฮ์ที่เก่าแก่ที่สุดคือ อัลบะลาเฆาะฮ์ อัลมุบีน ของท่านซัยยิดเคาะลัฟ ฮุวัยซีย์ (เสีย ๑๐๗๔). หลังจากนั้นก็ อัลญะวาฮิร อัซซุนนียะฮ์ ฟิลอะฮาดิษ อัลกุดซียะฮ์ ของท่านเชคโฮร ออมิลีย์.

    และต่อไปนี้คือหนังสือยุคปัจจุบันที่บันทึกฮะดีษกุดซีย์เอาไว้

    เมาซูอะตุ้ลฮะดีษ อัลกุดซียะฮ์ อัศเศาะเอี๊ยะห์ วัฎฎออีฟะฮ์ ของ อัจญีอะห์มัด.

    อัลญาเมี๊ยอ์ะ ฟีลอะฮาดิษ อัลกุดซียะฮ์ ของ อับดุสสาม อัลละวิช.

    อัลอะฮาดีษ อัลกุดซียะฮ์ อัลมุชตะรีกะฮ์ บัยนัสซุนนะฮ์ วัชชีอะฮ์ ของ มุห์ซิน ฮุซัยนีย์ อะมีนีย์. 

ท้ายบท

แม่แบบ:پانویس

  1. کامل ابن اثیر، ج ۲، ص ۱۰۷.

ฮะด, ษก, ดซ, บทความน, องการการจ, ดหน, ดหมวดหม, ใส, งก, ภายใน, หร, อเก, บกวาดเน, อหา, ให, ณภาพด, ณสามารถปร, บปร, งแก, ไขบทความน, ได, และนำป, ายออก, จารณาใช, ายข, อความอ, นเพ, อช, ดข, อบกพร, อง, จนะของท, านศาสดาม, มหม, อลฯ, ได, รายงานมาจากพระองค, ลลอฮ, อเร, ยกอ,. bthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxnghadiskudsiy khux wcnakhxngthansasdamuhmhmd sxl thiidraynganmacakphraxngkhxllxh s b michuxeriykxikwa hadisrxbbaniy aelahadisxilahiy sartthaaehngkhwamhmaykhxnghadisnnmacakxllxh swnkarichkhannmacakthansasda sxl sungsartthathangkhwamhmayxacphansuxklangodymalaxikah hruxkardlcit xilham aelahruxkarhlbfn ephuxsngthungthansasda hadisehlaniodnswnmakcakhuntndwykhawa kxlllxh hrux yakulullxh hadiskudsiykbxlkurxanmikhwamaetktangknxyangsineching ephraaxlkurxanthngdansartthaaehngkhwamhmayaelatwbthnnmacakphraxngkhethann aethadiskudsiyechphaasartthaaehngkhwamhmayethannthimacakphraxngkh inaengmumdankhwamepnmuxyisat hruxenuxhakhwamekhaicrahwangxlkurxanaelahadiskudsiykmikhwamaetktangknxyudwy wcnathnghlaycakbrrdasasdathankxn thiidbnthukiwkthuknbwaepnhadiskudsiyechnediywkn enuxhakhxnghadiskudsiyswnmakcaepneruxngkhxngxkhlak criythrrm aelaxirfan rhsya enuxhathisakhyaelathsnathikhdaeyngekiywkbhadiskudsiykhux khwamepnwahiyhruximichwahiykhxngxkkhratwbth swnmakhadiskudsiykhxngsasda sxl thukbnthukodyxans binmalik xabuhuryeraah xibnixbbas aelathanxali x hadiskudsiythuksngmayngthansasdamuhmhmd phayhlngcaksngkhramxuhud thiklawthungkhwamklahaykhxngxaliwa immiburusidnxkcakxali aelaimmidabidnxkcaksulfikxr 1 kartngchux aekikhkhawa kudsiy قدسی epnkhaprasmrahwangkhanamkbkhawiessn khuxkhawakuds sunghmaythung khwamsaxad khwambrisuththi mihlkthanaelaehtuphlmakmaysahrbkartngchuxhadiskudsiy sungehtuphlthiaekhngaerngthisud kkhuxkarekiywoyngipyngphraxngkhnnexng khwamepnmakhxngkartngchuxdngklawepnsingthiekidkhunphayhlng kirmaniy epnhnunginbukhkhlaerk thieriykhadisnidwynamsamchuxdwyknkhux kudsiy xilahiy aelarxbbaniy aetemuxthakartrwcsxbthungkarichkhaeriykchuxhadisnitamthithukbnthukinhnngsuxtang thaihehnwa chuxthiicheriykmakthisud aelaekaaekthisudkhux hilahiy xibnikasirkepnphuhnungthiichchuxeriykdngklaw swnkhawahadiskudsiythukeriykkhuninphayhlng aetidrbkhwamniymaelaepnthikhunhuxyangrwderw cnthukeriykaethnchuxhilahiyepntnma ekrehmihthsnawa xbdullxhbinhasntxyyibiy esiypi 743 epnbukhkhlaerkthiicheriykwahadiskudsiy aetinkhwamepncring xamir hamiduddin esiypi 667 icheriykkxnekhaesiyxik aelamixikhlaythanthieriykwahadisniwakudsiyechn 1 kxysxri esiy 751 inhnngsux chrhfususulhikm 2 chahidexawl esiy 786 inhnngsux xlkxwaxid wlfawaxid 3 kirmaniy inhnngsux chrh sxehiyahbukhxriy 4 yuryaniy esiy 816 inhnngsux taxrifat 5 xibnihayr xskalxniy esiy 852 inhnngsux fthulbariy nkwichakarimidphudthungchuxthiechphaa inkhnathiphwkekhaichpraoychncakhadiskudsiyni cnbangkhrngmikarcachuxhadiskudsiywa xlxahadisulmalaxikiyah epntn khaniyaminkhaniyamtang khxnghadiskudsiy mixyukhaniyamhnungthimikhwamehntrngknkhux hadiskudsiyepnwcnathithansasdamuhmhmd sxl idrbcakphraeca aetenuxngcakbthniyamkhangtnimidrbkarpkpxngethathikhwr cungepnehtuihbrrdankbnthukhadisthnghlayidthakarxthibaythungdchniaelasarbytangthiechphaa aelarwmthungcudtangkhxnghadiskudsiykbxlkruxankhun canwnenuxhasakhyaelakhxplikyxykhxngsarbyhadiskudsiy aelakhwamaetktangnn idthukklawiwaetktangknip echnthanechkhbahaxiyidxthibayepnhwkhxediywknthnghmd inkhnathithanbaluchiyidxthibayiwthungsibsihwkhxdwykn praedntang ekiywkbhadiskudsiythimikarthkknmakthisudkhux1 khasphthtang 2 withikaraeplsasndngklawthungthansasdaxislam 3 khwammhscrrykhxnghadiskudsiy aelaechiychwnsukarthaphisucn 4 enguxnikhkarsmphs aelakarxan 5 karxnuyatihxaninkhnanmas 6 enuxhatangkhxnghadiskudsiywichadirxyah trwcsxbsayraynganhadis emuxlngraylaexiydhadiskudsiyinaekhnngwichadirxyah caphbthungkarthkkiywkbenuxhadngklawmakmay echn inhlkthankhxngyuryaniy xabulbakxx tahanawiy aelaxun thngnicatxngkhnkhwacaksmykhxnghnngsux kawaxiduttahdis khxngthankxsimiy esiy 1334 aelahlngcakelmdngklawinyukhhlngmaniksamarthkhnphbthunghlkthanidepnxyangdi inhlkthankhxngchixahkmibnthukiwechnkn echn echkhbahaxiy idbnthukiwinxlwayisah aelamchrikulchmsyn aelathanmirdamxd inhnngsuxxrrxwaechiya xssamawiyah sungidklawxthibayiwxyangchdecn enuxhahadisenuxhahlkkhxnghadiskudsiycaklawthungwithikarphawnacit crryamaryath karkhdeklacitwiyyan karsngesrimihmicitbrisuththi aelakhxluaekoths karralukthungkhunngamkhwamdicakkarptibtidi karrwmkickrrmkbbukhkhlthimisrththaaelasansmphnthkbphwkekha karsngesrimihptibtidi aelahampramptibtichw xthibaythungkhwampraesriththungkarmixyukhxngphraecaxngkhediywthithrngprathanrangwlaedphuptibtidi aelaeruxngrawkhxngbrrdasasdaaehngphraeca epntn aelaineruxngrawkhxnghlknitisastrimidklawthunghlkkarptibtiphakhbngkhb wayib exaiw aetcaphudthungmrrkhphlaelabthlngothskhxngkarptibtidiaelaptibtichwexaiw aelacaennyathunghlkptibtiaebbxasa mustahb iwmakmay inhlkthankhxngmshbchixahhadiskudsiybangswncaklawthungkarphisucnkarepnximamtaelasiththikhxngximam sungthukcaaenkiwepnhmwd emuxsngektenuxhakhxnghadiskudsiy caphbwaenuxhathisngphl txphuxan makthisudcaepnineruxngrawkhxngkarphawnacit aelacrryamaryath aelaphunthankhxngsufiyexngkidthukrwbrwmcakenuxhahadisniechnediywkn xyangechninbnthukkhxngthanmuhyuddin xibni xarxbiy aetinwichaxirfanaelacriysastrimkhxymikarnaiptxyxdihehn aetinthangnitisastrcaehnthungkarnamaichinkarwinicchyephuxkarptibtiknepncanwnmak bangswncakbthhadis caklawthungkarsnthnakhxngphraecainwnkiyamt wnaehngkartdsin kbbrrdachawswrrkhaelachawnrk aelabangbthcaklawthungkhakhunaehngkaremiyarxckhxngsasdaxislamaelakarrbwahiy sasncakfakfa ehtunicungmikarnaduxabth xidxiyatussir maxankn khwamepnwahiyenuxhathisakhyaelathsnathiaetktangknineruxngkhxnghadiskudsiykkhux hadiskudsiyepnwahiycakphraeca aelatwbthcaksasdacringhruxim nkkhnkhwacanwnhnungechuxwa khaaelatwbthkhxnghadiskudsiykehmuxnkbhadisbthxun thiepnwcnathansasdaxislam cakthsnanithaihekhaicidwa hadiskudsiyaelakhmphirxlkurxannnmikhwamaetktangknxyangsineching aethadiskudsiyniklbmikhwamaetktangcakbrrdahadisxunechnkn ephraasartthaaehngkhwamhmaynnmacakphraecannexng thngnithngnnkminkwichakarhlaythanechnknthiechuxwa khaaelatwbthhadiskudsiyehmuxnkbxlkurxan thsnaniswnmakcaepnnkwichakaryukhekakxn sungihehtuphlwa ephraaimichsingthithuksrangkhunmaihm tamkhwamechuxthiepnexkchnthkhxnghalilsunnahinhmwd xlkurxanimichsingthuksrangihm sungnnkkhuxmikhwamehmuxnkbxlkurxan withirbsasnhwkhxkarrbsasncakphraecakhxngthansasdaxislamineruxngkhxnghadiskudsiykmithsnathikhdaeyngkn thsnahnungechuxwa thansasdarboxngkarxlkurxanodyphanthanyibrxxil thutswrrkh aelakarrbhadiskudsiynncaimphansuxid aetbangthsnakechuxwamikhwamepnipidthihadiskudsiycathuksngodyyibrxxil withikarsngphanhadiskudsiycaepninrupaebbkarhlb xilham dlic rupaebbtangrupaebbenuxhakhxnghadiskudsiyidthukxthibayiwsxngaebbdwyknkhux rupaebbthihnungepnwithikhxngnkwichakarrunekaidxangxingrupaebbwa rxsulkhxngxllxhklawwa phraxngkhklawwa قال رسول الل ه ص فیما یروی عن ربه aelaxikrupaebbhnungcakwithikhxngnkwichakarrunhlngwa xllxhklawodyphanthanrxsulkhxngphraxngkhwa قال الل ه تعالی فیما رواه عنه ص sungthngsxngrupaebbkhangtnnnthuknamaichknthwip ephraathngsxngidihkhwamhmaywa khaklaw hadiskudsiy khxngthansasdabnthukcakphraeca ephuximihsbsnkbxlkurxan hmwdtanghadiskudsiysamarthaebngidepnsxnghmwdkhux epnhadissungbnthukcakkhadarskhxngphraecaethann aelaxikxyanghnungkhuxepnhadisthiodyswnmakcaklawthungeruxngelatangsungbnthukcakkhadarskhxngphraeca nkbnthukhadiskhxnghahlissunnahtangyxmrbwahadiskudsiyidrbkarbnthukcakthansasdaephiyngethann aetbrrdasufiyyxmrbwa nxkehnuxcaksasdaxislamaelwbrrdasasdathanxunkxnhnanikidmiraynganiwechnkn aelahningcaknnkhuxetarxt xinyit aelasabur dngechnthanmuhyuddin xibni xarxbiy inhnngsux michkatulxnwar idnaesnxhadisinhmwdthisxngwadwyeruxng مرفوعة الی الل ه بغیر اسناد الی رسول الل ه karxangxingkhaklawkhxngphraxngkhodyphanthansasdaexaiw khwamnaechuxthuxkhwamnaechuxthuxkhxnghadiskudsiykepnxikhwkhxhnungthimikhwamkhdaeyngkninbrrdankwichakarhadiswithya odybangthanidxthibaythunghadiskudsiyiwthibthnainhnngphwkekhaexng bangkhrngkxthibayiwinhmwd esaaehiyah aeladxxif dwyehtunithaihhadiskudsiythukkhdaeykepnhadistang echn esaaehiyah hasn aeladxxif nkhadishahlissunnahbangthanidxangthungkarimmihlkthankhxnghadiskudsiy echn hadis لولاک لما خلقت الافلاک sungphwkekhaidrwbrwmhadisehlaniiwodyxangcakkhwamnaechuxthuxaelwaeykepnhmwdhmu sungechuxwaekuxbkhrungepnhadisthidxxif echnhcyixahmd inhnngsux موسوعة الاحادیث القدسیة الصحیحة و الضعیفة wacanwn 335 epnhadisesaaehiyahaelahasn aela 585 epnhadisdxxif aelayaxliy hadiskudsiythukwiphaksinaengkhxngsayraynganaelatwbth odyechphaakarhyudchangkhruxdaenintxkhxngkarrayngan Massignon echuxwahadiskudsiyepnchnidhnungkhxngchthiyatsufiyah khaklawthixscrryechingernlb aetkarsngmxbsayrayngankhxnghadisniichwacaimmihlkthan enuxngcakswnmakkhxngnksufiy nkphrt cabnthukodyimidihkhwamsakhykbsayraynganskethaidnk aelahadisswnmakthimixyukthukbnthukiwechnniinhlkthanrunkxn xyangirktamemuxphicarnathunghadiskudsiyinbthbathchthiyatsufiyah khaklawthixscrryechingernlb caehnthungkhwamkhlaykhlungkninchthiyat khaklawthixscrry aelakarkhnkhwakhxngnksufiyinkartrwcsxbkhwamthuktxngkhxnghadiskudsiythaihsathxnthungkhwamnacaepnipdxyangehmaasmthisud nxkcaknihadiskudsiyyngidrbkarwiphaksxiksxngkrnikhux epnhadisthiraynganodylukhlankhxngthansasdaxislam hruxwaepnhadisthithukbnthukcakphraeca aelakyngthuknaipepriybethiybkbenuxhakhxngkhmphirinsasnakhristxikdwy ehnidchdwakhwamxutsahakhxngnksufiyinkaryxmrbaelaichpraoychncakhlkthanthixingipyngkhmphirotraephuxihidmasungkhwamthuktxngkhxnghadiskudsiy inkhnathiswnmakcakhadisehlanimipraktchdinhlkthanchntnthiechuxthuxidthngkhxngsunniaelachixah aemkrathngidnamaxangxingthungkarwinicchyinhlknitisastrxislam canwnmikhwamkhidehnthiaetktangknincanwnkhxnghadiskudsiy bangkwahnungrxy bangkwasxngrxy canwnehlaniidephimkhuninphlngankarbnthukyukhhlng echn inhnngsux emasuxatulhadis xlkudsiyah xsesaaexiyah wddxxifah khxngxcyixahmd sungidkhanwnthungcanwnhadisthiesaaexiyahaeladxxifiwpraman ekarxysibeka hadis aetthnghmdnikimidxyusphaphthismburn aelacanwnthikhdaeyngknbngbxkthungkhwambkphrxngkhxngtwmnexng phuraynganinraylaexiydphuraynganhadiskudsiy waepnesaahabahthanidepnphurayngancakthansasdaxislamnn kimsamarthihthsnathichdecnid aethaktamkaryunyncakhnngsux xlyaemiyax filxahadis xlkudsiyah khxngxbdussam xllawich sungidcdraebiybthungsayraynganexaiwidbxkwa swnmakkhxnghadisidrbkarbnthukcak xansbinmalik habuhurxyeraah xibnixbbas aelathanxali x inhnngsuxhadiskhxngchixahbnthukiwwa hadiskudsiynnidrbkarbnthukcakthansasdaxislamodyxaximmah lukhlanthansasdaxislam x aelabangkhrngthansasdarbkhadarsodytrngcakphraeca hruxthutkhxngphraeca yibrxxil hruxkhadarskhxngphraecaaeksasdathankxn hnngsuxtanghadiskudsiysamarthphbidinkhlngbnthukwichahadisthngkhxngsunniaelachixah hnngsuxthiekaaekthisudineruxngnikhux xlmawaxis filxahadis xlkudsiyah khxngthankhxssaliy aetkyngmikhxsngsyekiywkbkhwamthuktxngxyu xikelmhnungthimikhwamekaaekehmuxnknkhux xlxahadis xlxilahiyah khxngthansxhir bintxhir binmuhmhmd nichaburiy aelaecakhxnghnngsuxthiepnthiruckthisudineruxngnikhux thanmuhyuddin xibni xarabiy thanmulla xalikxriy thanmuhmhmdxbdulrxxuf manawiy aelathanmuhmhmdmadaniy aelainbnthukkhxngchixahthiekaaekthisudkhux xlbalaekhaah xlmubin khxngthansyyidekhaalf huwysiy esiy 1074 hlngcaknnk xlyawahir xssunniyah filxahadis xlkudsiyah khxngthanechkhohr xxmiliy aelatxipnikhuxhnngsuxyukhpccubnthibnthukhadiskudsiyexaiwemasuxatulhadis xlkudsiyah xsesaaexiyah wddxxifah khxng xcyixahmd xlyaemiyxa filxahadis xlkudsiyah khxng xbdussam xllawich xlxahadis xlkudsiyah xlmuchtarikah bynssunnah wchchixah khxng muhsin husyniy xaminiy thaybth aekikhaemaebb پانویس کامل ابن اثیر ج ۲ ص ۱۰۷ ekhathungcak https th wikipedia org w index php title hadiskudsiy amp oldid 7662577, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม