fbpx
วิกิพีเดีย

เทคนิคการสัตวแพทย์

นักเทคนิคการสัตวแพทย์ หรือ นักเทคโนโลยีการสัตวแพทย์ คือ บุคคลที่จบการศึกษา สาขาวิชาเทคนิคการสัตวแพทย์ (Veterinary Technology) ซึ่งทำหน้าที่เชิงบูรณาการในกลุ่มการดูแลสุขภาพสัตว์ ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความสามารถในการดูแลและจับบังคับสัตว์ มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการชีวิตทั้งปกติและผิดปกติของสัตว์และสามารถปฏิบัติหน้าที่การจัดการดูแลสัตว์ การตรวจชันสูตรทางปฏิบัติการและสามารถปฏิบัติหน้าที่เป็นพยาบาลสัตว์ได้ ทั้งนี้ต้องอยู่ภายใต้การควบคุมดูแล (Supervision) ของสัตวแพทย์ผู้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ ชั้น 1 เท่านั้น โดยสามารถเป็นผู้สนับสนุนในงานสัตวแพทย์ในหลายประการ แต่ไม่สามารถบำบัดรักษาโรค วินิจฉัยโรค จ่ายยา ผ่าตัด ฉีดยา หรือการกระทำอื่นๆ ที่กฎหมายกำหนดห้ามได้ โดยปัจจุบันประเทศไทย ยังไม่มีกฎหมายเป็นการเฉพาะสำหรับอาชีพเทคนิคการสัตวแพทย์ (การปฏิบัติหน้าที่ด้านพยาบาลสัตว์ หรือการสนับสนุนช่วยเหลือสัตวแพทย์ด้านบำบัดรักษา นักเทคนิคการแพทย์ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่เพียงลำพัง ต้องอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของสัตวแพทย์ผู้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ ชั้น 1 เท่านั้น ยกเว้นการปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ เช่น นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ด้านสัตว์ทดลอง ฯลฯ นักเทคนิคการสัตวแพทย์สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างอิสระ และ/หรือ ตามภาระงาน - Job description ทั้งนี้ในอเมริกาเหนือ ผู้จบการศึกษาทุกระดับ ต้องขึ้นทะเบียนเพื่อขอรับใบอนุญาตทำงาน ซึ่งขึ้นอยู่กับกฎหมายของแต่ละประเทศ และ/หรือรัฐ นอกจากนั้นการทำงานเป็นคณะ - teamwork มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อระบบบริการสุขภาพสัตว์)

การแบ่งประเภทของสาขาวิชาเทคนิคการสัตวแพทย์ ตามระบบการศึกษาของอเมริกาเหนือ (North America) แบ่งออกตามระดับการศึกษาเป็น 3 ระดับ ตามคุณวุฒิ ดังนี้

1. นักเทคนิคการสัตวแพทย์ หรือ "Veterinary Technologist" หมายถึง ผู้ที่จบการศึกษาทาง Veterinary Technology ในระดับปริญญาตรี (Bachelor Degree) ในสหรัฐอเมริกา สำหรับในแคนาดา จะเรียกว่า "Animal Health Technology" หรือ "เทคโนโลยีสุขภาพสัตว์"

โดยสามารถทำหน้าที่เป็นพยาบาลสัตว์ (Veterinary Nurse) และ สามารถปฏิบัติหน้าที่เป็นนักวิทยาศาสตร์ห้องปฏิบัติการคลินิกทางสัตวแพทย์ได้ (Veterinary Clinical Laboratory Scientist) โดยสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้หลายประการ อาทิ นักเทคนิคการสัตวแพทย์ในสวนสัตว์หรือสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำได้ (Zoo Veterinary Technologist/Technician) ปฏิบัติหน้าที่นักวิทยาศาสตร์สัตว์ทดลองในหน่วยทรัพยากรสัตว์ทดลอง (Laboratory Animal Technologist/Technician) หรือปฏิบัติงานในฟาร์มปศุสัตว์ หรือ หน่วยวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์หรือวิทยาการอื่นๆ ได้อย่างหลากหลาย

ทั้งนี้ถือว่าสาขาวิชาเทคนิคการสัตวแพทย์ เป็น "พหุวิทยาการ" และนักเทคนิคการสัตวแพทย์ เป็น "พหุวิชาชีพ" สาขาหนึ่งที่มีความสำคัญในระบบบริการสุขภาพมนุษย์และสัตว์เป็นอย่างมาก

ในประเทศไทย มีหลักสูตรเปิดสอนในระดับปริญญาตรี สาขาเทคนิคการสัตวแพทย์ ในหลายสถาบัน และ อาจจะหมายรวมถึง หลักสูตรสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพสัตว์ (Animal Health Science) ด้วย (เป็นข้อสังเกตเท่านั้น) แต่อย่างไรก็ตามยังไม่มีระบบมาตรฐานกลางในการจัดการศึกษาในสาขาวิชานี้ ทั้งนี้แต่ละสถาบันการศึกษามีอิสระในการพัฒนาหลักสูตรของตนเอง

2. เจ้าหน้าที่เทคนิคการสัตวแพทย์ หรือ "Veterinary Technician" หมายถึง ผู้ที่จบการศึกษาทาง Veterinary Technology ในระดับอนุปริญญา (Associate Degree) สำหรับในประเทศไทย อาจจะหมายถึง ผู้ที่จบการศึกษา ปว.ส. หรือ อนุปริญญา สาขาสัตวรักษ์ (เป็นข้อสังเกตเท่านั้น)

โดยสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้เหมือนกับนักเทคนิคการสัตวแพทย์ แต่อาจจะได้รับมอบหมายภาระงานที่รับผิดชอบตามกรอบมาตรฐานตำแหน่งที่แตกต่างกัน

3. ผู้ช่วยสัตวแพทย์ หรือ "Veterinary Assistant" หมายถึง ผู้ที่จบการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรทางสุขภาพสัตว์ (Animal Health) หลังจากจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ทั้งนี้สถานศึกษาบางแห่งอาจจะเรียกชื่อหลักสูตรว่าการบริบาลสัตว์ (Animal Care) หรืออาจจะเรียกชื่อหลักสูตรเป็นอย่างอื่น หรืออาจจะจัดให้มีหลักสูตรเป็นการเฉพาะอย่าง รวมทั้งบุคคลที่ได้ฝึกปฏิบัติงานโดยตรง (On-the-Job Training) จากผู้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ ชั้น 1 ด้วย โดยต้องขึ้นทะเบียนกับสมาคมหรือองค์กรอาชีพที่เกี่ยวข้อง

(มีข้อสังเกตว่า Veterinary Technologist/Technician เป็นส่วนหนึ่งของ Veterinary Acts/Veterinary Surgeons Act/VETERINARY PRACTICE ACT ไม่ได้แยกวิชาชีพนี้ออกจากวิชาชีพการสัตวแพทย์ การควบคุมทางกฎหมาย อยู่ภายใต้กฎหมายฉบับเดียวกัน)

สำหรับประเทศไทย ยังไม่มีการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรแบบเดียวกันกับในอเมริกาเหนือ แต่สำหรับการฝึกบุคคลเพื่อทำหน้าที่ผู้ช่วยสัตวแพทย์นั้นขึ้นอยู่กับสัตวแพทย์ประจำสถานพยาบาลสัตว์หรือเจ้าของกิจการสถานพยาบาลสัตว์ สามารถทำการรับสมัครบุคคลที่มีวุฒิการศึกษาต่างๆ กัน เพื่อฝึกบุคคลนั้นให้ทำหน้าที่ผู้ช่วยสัตวแพทย์โดยอิสระ

การจัดการศึกษาและประกอบอาชีพทั้ง 3 ประเภทข้างต้น ในอเมริกาเหนือจำเป็นต้องขึ้นทะเบียนเพื่อขอรับใบอนุญาตกับสมาคมหรือองค์กรอาชีพด้วย

สำหรับการจัดการศึกษาตามระบบของยุโรป นิยมจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี ในหลักสูตรการพยาบาลสัตว์ (Veterinary Nursing Science) เป็นส่วนใหญ่ โดยเน้นการเป็นพยาบาลสัตว์ (Veterinary Nurse) เป็นสำคัญ แต่สถานศึกษาบางแห่งอาจจะเปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรี ในหลักสูตรพยาธิวิทยาทางสัตวแพทย์ (Veterinary Pathology) เพื่อผลิตบัณฑิตที่สามารถปฏิบัติหน้าที่การตรวจทางห้องปฏิบัติการคลินิก เป็นการเฉพาะ และสถาบันการศึกษาบางแห่งยังเปิดสอนในระดับบัณฑิตศึกษาในสาขาวิชาสหเวชศาสตร์ทางสัตวแพทย์ต่างๆ เช่น กายภาพบำบัดทางสัตวแพทย์ เป็นต้น

สำหรับการแปลคำว่า Veterinary Technology ว่า เทคนิคการสัตวแพทย์ นั้น สาขาเทคโนโลยีการสัตวแพทย์ เข้าใจว่าน่าจะแปลผิดศัพท์บัญญัติ คำว่า Technology ควรแปลตรงตัวว่า เทคโนโลยี ดังนั้นควรแปลว่า เทคโนโลยีการสัตวแพทย์ จะเป็นการแปลคำศัพท์ตรงความหมายและศัพท์บัญญัติ

"เทคโนโลยี" และ "เทคนิค" ว่าความหมายที่ครอบคลุมแตกต่างกัน นอกจากนั้นการแปลว่า "เทคโนโลยีการสัตวแพทย์" จึงเป็นการไม่ดูถูกตัวเอง และสามารถสร้างความเข้าใจต่อสาธารณะถึงความแตกต่างระหว่างสัตวแพทยศาสตร์ และเทคโนโลยีการสัตวแพทย์ ได้ระดับหนึ่ง ดังนั้นสาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย์ โดยสาขาวิชาฯ จึงแปลคำศัพท์เป็น "เทคโนโลยีการสัตวแพทย์ " แต่โดยความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน นิยมคำว่า เทคโนโลยีสุขภาพสัตว์ อย่างที่ใช้ในแคนาดามากกว่า

บทความนี้อาศัยข้อมูลจากระบบการศึกษาของอเมริกาเหนือ อาจะเหมือนหรือแตกต่างจากระบบการศึกษาของประเทศไทย และกฎหมายที่ใช้บังคับอาจจะแตกต่างกัน และให้ข้อมูลตารมบริบทของต่างประเทศและความทันสมัยของข้อมูลมีเพียงเฉพาะ ณ วันที่เขียนข้อมูลนี้เท่านั้น ซึ่งอาจจะไม่ตรงกับในปัจจุบันที่ท่านอ่านข้อความนี้ โดย ผศ.ดร.น.สพ.สุรวัฒน์ ชลอสันติสกุล สาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย์ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

ปัจจุบันมีการเรียนการสอนในหลักสูตร วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาเทคนิคการสัตวแพทย์ ในระดับปริญญาตรีเกืดขึ้นแล้ว และเกิดขึ้นมานานแล้วถึง 17 ปี เพราะมีการผลิตนักเทคนิคการสัตวแพทย์มาแล้วเกือบ 17 รุ่น โดยการเรียนดังกล่าวอยู่ที่ คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน (อยู่ติดกับคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) ซึ่งเป็นผู้มีความรู้และความสามารถทางด้านห้องปฏิบัติการในสัตว์เกือบทุกชนิดไม่จำเป็นจะต้องจำกัดเพียงสัตว์เล็ก หรือ สัตว์ทดลอง แต่ขยายไปถึงสัตว์เศรษฐกิจด้วย อีกทั้งยังสามารถปฏิบัติงานในหน่วยงานราชการ เป็นเจ้าของกิจการทางแล็ปเอกชน และเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับผู้ที่สนใจในการศึกษาต่อในระดับปริญญาโท และเอกที่ต้องใช้พื้นฐานของความรู้ด้านสัตวศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ สัตวแพทย์ แบบผสมผสานกัน และเป็นคณะที่กำลังได้รับความนิยมในปัจจุบัน และเริ่มมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในองค์กรต่างๆ ในส่วนของการเปรียบเที่ยบกับ นายสัตวแพทย์นั้น ไม่สามารถกล่าวได้ว่าวิชาชีพต้องอยู่ภายใต้วิชาชีพใด เพราะขึ้นอยู่กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกัน และลำดับการทำงาน ซึ่งบางครั้งอาจเกี่ยวกันมาก และสอดคล้องกัน หรือบางงานอาจแยกออกจากกันอย่างชัดเจน มีความเป็นเอกภาพในวิชาชีพของตนเอง

และในปัจจุบันมีการก่อตั้ง สมาคมเทคนิคการสัตวแพทย์แห่งประเทศไทย เกิดขึ้นแล้ว (VETERINARY TECHNOLOGY ASSOIATION OF THAILAND,VTAT ) มีหน้าที่กำกับดูแลในเนื้อหาของวิชาชีพนี้ เป็นแหล่งข้อมูล และควบคุมส่งเสริมการทำงานในสายงานนี้ให้เป็นที่รู้จักในสังคมมากขึ้น และควมคุมคุณภาพในการผลิตบุคลากรในวิชาชีพนี้ร่วมกับ คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อีกไม่นาน VTAT จะมีแหล่งข่าวสารผ่านทางเวปไชด์ให้ได้หาข้อมูลเพิ่มเติมกัน

เทคน, คการส, ตวแพทย, บทความน, องการการจ, ดหน, ดหมวดหม, ใส, งก, ภายใน, หร, อเก, บกวาดเน, อหา, ให, ณภาพด, ณสามารถปร, บปร, งแก, ไขบทความน, ได, และนำป, ายออก, จารณาใช, ายข, อความอ, นเพ, อช, ดข, อบกพร, องบทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, . bthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxngbthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir nkethkhnikhkarstwaephthy hrux nkethkhonolyikarstwaephthy khux bukhkhlthicbkarsuksa sakhawichaethkhnikhkarstwaephthy Veterinary Technology sungthahnathiechingburnakarinklumkarduaelsukhphaphstw sungepnphumikhwamrukhwamsamarthinkarduaelaelacbbngkhbstw mikhwamruphunthanekiywkbkrabwnkarchiwitthngpktiaelaphidpktikhxngstwaelasamarthptibtihnathikarcdkarduaelstw kartrwcchnsutrthangptibtikaraelasamarthptibtihnathiepnphyabalstwid thngnitxngxyuphayitkarkhwbkhumduael Supervision khxngstwaephthyphurbibxnuyatprakxbwichachiphkarstwaephthy chn 1 ethann odysamarthepnphusnbsnuninnganstwaephthyinhlayprakar aetimsamarthbabdrksaorkh winicchyorkh cayya phatd chidya hruxkarkrathaxun thikdhmaykahndhamid odypccubnpraethsithy yngimmikdhmayepnkarechphaasahrbxachiphethkhnikhkarstwaephthy karptibtihnathidanphyabalstw hruxkarsnbsnunchwyehluxstwaephthydanbabdrksa nkethkhnikhkaraephthyimsamarthptibtihnathiephiynglaphng txngxyuphayitkarkhwbkhumduaelkhxngstwaephthyphurbibxnuyatprakxbwichachiphkarstwaephthy chn 1 ethann ykewnkarptibtihnathixun echn nkwicy nkwithyasastrdanstwthdlxng l nkethkhnikhkarstwaephthysamarthptibtihnathiidxyangxisra aela hrux tampharangan Job description thngniinxemrikaehnux phucbkarsuksathukradb txngkhunthaebiynephuxkhxrbibxnuyatthangan sungkhunxyukbkdhmaykhxngaetlapraeths aela hruxrth nxkcaknnkarthanganepnkhna teamwork mibthbathsakhyyingtxrabbbrikarsukhphaphstw karaebngpraephthkhxngsakhawichaethkhnikhkarstwaephthy tamrabbkarsuksakhxngxemrikaehnux North America aebngxxktamradbkarsuksaepn 3 radb tamkhunwuthi dngni1 nkethkhnikhkarstwaephthy hrux Veterinary Technologist hmaythung phuthicbkarsuksathang Veterinary Technology inradbpriyyatri Bachelor Degree inshrthxemrika sahrbinaekhnada caeriykwa Animal Health Technology hrux ethkhonolyisukhphaphstw odysamarththahnathiepnphyabalstw Veterinary Nurse aela samarthptibtihnathiepnnkwithyasastrhxngptibtikarkhlinikthangstwaephthyid Veterinary Clinical Laboratory Scientist odysamarthptibtihnathiidhlayprakar xathi nkethkhnikhkarstwaephthyinswnstwhruxsthanaesdngphnthustwnaid Zoo Veterinary Technologist Technician ptibtihnathinkwithyasastrstwthdlxnginhnwythrphyakrstwthdlxng Laboratory Animal Technologist Technician hruxptibtinganinfarmpsustw hrux hnwywicythangwithyasastrkaraephthyhruxwithyakarxun idxyanghlakhlaythngnithuxwasakhawichaethkhnikhkarstwaephthy epn phhuwithyakar aelankethkhnikhkarstwaephthy epn phhuwichachiph sakhahnungthimikhwamsakhyinrabbbrikarsukhphaphmnusyaelastwepnxyangmakinpraethsithy mihlksutrepidsxninradbpriyyatri sakhaethkhnikhkarstwaephthy inhlaysthabn aela xaccahmayrwmthung hlksutrsakhawichawithyasastrsukhphaphstw Animal Health Science dwy epnkhxsngektethann aetxyangirktamyngimmirabbmatrthanklanginkarcdkarsuksainsakhawichani thngniaetlasthabnkarsuksamixisrainkarphthnahlksutrkhxngtnexng2 ecahnathiethkhnikhkarstwaephthy hrux Veterinary Technician hmaythung phuthicbkarsuksathang Veterinary Technology inradbxnupriyya Associate Degree sahrbinpraethsithy xaccahmaythung phuthicbkarsuksa pw s hrux xnupriyya sakhastwrks epnkhxsngektethann odysamarthptibtihnathiidehmuxnkbnkethkhnikhkarstwaephthy aetxaccaidrbmxbhmaypharanganthirbphidchxbtamkrxbmatrthantaaehnngthiaetktangkn3 phuchwystwaephthy hrux Veterinary Assistant hmaythung phuthicbkarsuksainradbprakasniybtrthangsukhphaphstw Animal Health hlngcakcbkarsuksaradbmthymsuksatxnplay thngnisthansuksabangaehngxaccaeriykchuxhlksutrwakarbribalstw Animal Care hruxxaccaeriykchuxhlksutrepnxyangxun hruxxaccacdihmihlksutrepnkarechphaaxyang rwmthngbukhkhlthiidfukptibtinganodytrng On the Job Training cakphurbibxnuyatprakxbwichachiphkarstwaephthy chn 1 dwy odytxngkhunthaebiynkbsmakhmhruxxngkhkrxachiphthiekiywkhxng mikhxsngektwa Veterinary Technologist Technician epnswnhnungkhxng Veterinary Acts Veterinary Surgeons Act VETERINARY PRACTICE ACT imidaeykwichachiphnixxkcakwichachiphkarstwaephthy karkhwbkhumthangkdhmay xyuphayitkdhmaychbbediywkn sahrbpraethsithy yngimmikarsuksainradbprakasniybtraebbediywknkbinxemrikaehnux aetsahrbkarfukbukhkhlephuxthahnathiphuchwystwaephthynnkhunxyukbstwaephthypracasthanphyabalstwhruxecakhxngkickarsthanphyabalstw samarththakarrbsmkhrbukhkhlthimiwuthikarsuksatang kn ephuxfukbukhkhlnnihthahnathiphuchwystwaephthyodyxisrakarcdkarsuksaaelaprakxbxachiphthng 3 praephthkhangtn inxemrikaehnuxcaepntxngkhunthaebiynephuxkhxrbibxnuyatkbsmakhmhruxxngkhkrxachiphdwysahrbkarcdkarsuksatamrabbkhxngyuorp niymcdkarsuksaradbpriyyatri inhlksutrkarphyabalstw Veterinary Nursing Science epnswnihy odyennkarepnphyabalstw Veterinary Nurse epnsakhy aetsthansuksabangaehngxaccaepidsxnhlksutrpriyyatri inhlksutrphyathiwithyathangstwaephthy Veterinary Pathology ephuxphlitbnthitthisamarthptibtihnathikartrwcthanghxngptibtikarkhlinik epnkarechphaa aelasthabnkarsuksabangaehngyngepidsxninradbbnthitsuksainsakhawichashewchsastrthangstwaephthytang echn kayphaphbabdthangstwaephthy epntnsahrbkaraeplkhawa Veterinary Technology wa ethkhnikhkarstwaephthy nn sakhaethkhonolyikarstwaephthy ekhaicwanacaaeplphidsphthbyyti khawa Technology khwraepltrngtwwa ethkhonolyi dngnnkhwraeplwa ethkhonolyikarstwaephthy caepnkaraeplkhasphthtrngkhwamhmayaelasphthbyyti ethkhonolyi aela ethkhnikh wakhwamhmaythikhrxbkhlumaetktangkn nxkcaknnkaraeplwa ethkhonolyikarstwaephthy cungepnkarimduthuktwexng aelasamarthsrangkhwamekhaictxsatharnathungkhwamaetktangrahwangstwaephthysastr aelaethkhonolyikarstwaephthy idradbhnung dngnnsakhawichaethkhonolyikarstwaephthy odysakhawicha cungaeplkhasphthepn ethkhonolyikarstwaephthy aetodykhwamkhidehnswntwkhxngphuekhiyn niymkhawa ethkhonolyisukhphaphstw xyangthiichinaekhnadamakkwabthkhwamnixasykhxmulcakrabbkarsuksakhxngxemrikaehnux xacaehmuxnhruxaetktangcakrabbkarsuksakhxngpraethsithy aelakdhmaythiichbngkhbxaccaaetktangkn aelaihkhxmultarmbribthkhxngtangpraethsaelakhwamthnsmykhxngkhxmulmiephiyngechphaa n wnthiekhiynkhxmulniethann sungxaccaimtrngkbinpccubnthithanxankhxkhwamni ody phs dr n sph surwthn chlxsntiskul sakhawichaethkhonolyikarstwaephthy khnastwsastraelaethkhonolyikarekstr mhawithyalysilpakr withyaekhtsarsnethsephchrburipccubnmikareriynkarsxninhlksutr withyasastrbnthit sakhaethkhnikhkarstwaephthy inradbpriyyatriekudkhunaelw aelaekidkhunmananaelwthung 17 pi ephraamikarphlitnkethkhnikhkarstwaephthymaaelwekuxb 17 run odykareriyndngklawxyuthi khnaethkhnikhkarstwaephthy mhawithyalyekstrsastr withyaekhtbangekhn xyutidkbkhnastwaephthysastr mhawithyalyekstrsastr sungepnphumikhwamruaelakhwamsamarththangdanhxngptibtikarinstwekuxbthukchnidimcaepncatxngcakdephiyngstwelk hrux stwthdlxng aetkhyayipthungstwesrsthkicdwy xikthngyngsamarthptibtinganinhnwynganrachkar epnecakhxngkickarthangaelpexkchn aelaepnphunthanthisakhysahrbphuthisnicinkarsuksatxinradbpriyyaoth aelaexkthitxngichphunthankhxngkhwamrudanstwsastr withyasastr aela stwaephthy aebbphsmphsankn aelaepnkhnathikalngidrbkhwamniyminpccubn aelaerimmibthbathsakhymakkhuninxngkhkrtang inswnkhxngkarepriybethiybkb naystwaephthynn imsamarthklawidwawichachiphtxngxyuphayitwichachiphid ephraakhunxyukbhnwynganthiekiywkhxngkn aelaladbkarthangan sungbangkhrngxacekiywknmak aelasxdkhlxngkn hruxbangnganxacaeykxxkcakknxyangchdecn mikhwamepnexkphaphinwichachiphkhxngtnexngaelainpccubnmikarkxtng smakhmethkhnikhkarstwaephthyaehngpraethsithy ekidkhunaelw VETERINARY TECHNOLOGY ASSOIATION OF THAILAND VTAT mihnathikakbduaelinenuxhakhxngwichachiphni epnaehlngkhxmul aelakhwbkhumsngesrimkarthanganinsaynganniihepnthiruckinsngkhmmakkhun aelakhwmkhumkhunphaphinkarphlitbukhlakrinwichachiphnirwmkb khnaethkhnikhkarstwaephthy mhawithyalyekstrsastr xikimnan VTAT camiaehlngkhawsarphanthangewpichdihidhakhxmulephimetimkn bthkhwamekiywkbaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy aephthysastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title ethkhnikhkarstwaephthy amp oldid 5930843, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม