fbpx
วิกิพีเดีย

เฝิงโหย่วหลาน

เฝิงโหย่วหลาน (ภาษาจีน : 冯友兰  –  4 ธันวาคม ค.ศ.1895 – 26 พฤศจิกายน ค.ศ.1990)   มีอีกชื่อหนึ่งว่า “จือเชิง” (芝生)   เป็นนักปรัชญาจีนและนักประวัติศาสตร์ปรัชญาจีน   เขาได้รับการขนามนามว่าเป็น “นักปรัชญาขงจื่อสมัยใหม่”

เฝิงโหย่วหลาน
เกิด4 ธันวาคม ค.ศ. 1895(1895-12-04)
ตำบลถังเหอ, มณฑลเหอหนาน, จักรวรรดิชิง
เสียชีวิต26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1990 (94 ปี)
ปักกิ่ง, สาธารณรัฐประชาชนจีน
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยปักกิ่ง
มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย
อาชีพนักปรัชญา
บุตรจงผู
Chinese name
อักษรจีนตัวเต็ม馮友蘭
อักษรจีนตัวย่อ冯友兰

ครอบครัว

เฝิงโหย่วหลานเกิดเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ.1895 (ตรงกับสมัยราชวงศ์ชิง รัชสมัยฮ่องเต้กวางซวี่ ปีที่ 21) ที่หมู่บ้านฉีอี๋  ตำบลถังเหอ เมืองหนานหยาง  มณฑลเหอหนาน  ตระกูลเฝิงเป็นตระกูลท้องถิ่นที่รวมตัวกันเป็นหมู่บ้าน มีพื้นที่กว่าหนึ่งพันหมู่ (亩) ปู่ของเขาชื่อว่า “เฝิงอวี้เหวิน” (冯玉文) มีอีกชื่อหนึ่งว่า “เชิ่งเจิง” (圣征) พ่อของเขาชื่อว่า “เฝิงไถอี้” (冯台异) มีอีกชื่อหนึ่งว่า “ชู่โห้ว” (树候)    แม่ของเขาชื่อว่า “อู๋ชิงจือ” (吴清芝) แม่เขาเคยทำงานเป็นหัวหน้าคณะกรรมการการศึกษาของสตรีที่ตำบลถังเหอ 。


การศึกษา

เฝิงโหย่วหลานเริ่มเรียนหนังสือที่บ้านฟาเหมิงตอนอายุ 6 ขวบ    ในปี ค.ศ.1904  เฝิงไถอี้ทำงานเป็นพนักงานธุรการและบัญชีที่โรงเรียนท้องถิ่นอู่ชาง   เขาจึงย้ายบ้านตามพ่อไปที่ตำบลอู่ชาง    ปี ค.ศ.1907  เฝิงไถอี้ย้ายไปทำงานที่ตำบลฉงหยาง  มณฑลหูเป่ย์  ครอบครัวจึงย้ายตามท่านไปที่นั่น   ในช่วงฤดูร้อนของปี ค.ศ.1908 พ่อของเขาได้ล้มป่วยแล้วเสียชีวิตที่ตำบลฉงหยางในขณะที่เขาอายุเพียง 13 ปี    เฝิงโหย่วหลานจึงกลับไปศึกษาที่บ้านเก่าในตำบลถังเหอเช่นเดิม

ปี ค.ศ.1910 ได้เข้าศึกษาระยะสั้นที่โรงเรียนประถมประจำตำบลถังเหอเป็นเวลา 1 ปี   ต่อมาปี ค.ศ.1911  ได้ศึกษาต่อที่โรงเรียนรัฐบาลแห่งหนึ่งในระดับชั้นมัธยมในตำบลจงโจว  เมืองไคเฟิง   ค.ศ.1912 ได้ย้ายไปเรียนที่โรงเรียนจีนอู่ชาง    ช่วงฤดูหนาวในปีเดียวกันได้เข้าศึกษาระยะสั้นที่มหาวิทยาลัยรัฐแห่งเซี่ยงไฮ้  ประเทศจีน    ต่อมาปี ค.ศ.1915  สามารถสอบเข้ามหาวิทยาลัยปักกิ่ง คณะนิติศาสตร์ได้   ในระหว่างที่เข้าศึกษานั้นเขาตัดสินใจเปลี่ยนไปเรียนคณะอักษรศาสตร์ ภาควิชาปรัชญาจีน    และสำเร็จการศึกษาในปี ค.ศ.1918   หลังจากนั้นได้สอนหนังสือที่วิทยาลัยเทคนิคไคเฟิง      ต่อมาปี ค.ศ.1919  เขากับเพื่อนได้ร่วมกันตีพิมพ์นิตยสารรายเดือน “เสียงของหัวใจ”《心声》  ในช่วงฤดูหนาวปีเดียวกันเขาสอบชิงทุนรัฐบาลแล้วมีสิทธิ์เรียนต่อที่ประเทศสหรัฐอเมริกา

ในเดือนมกราคม ปี ค.ศ.1920  เขาได้เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโททางด้านปรัชญาที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย  นครนิวยอร์ก  เขาได้เรียนกับจอห์น  ดิวอี้   ในช่วงฤดูร้อนของปี ค.ศ.1923  เขาผ่านการสอบวิทยานิพนธ์   ปีต่อมาวิทยานิพนธ์ของเขาได้รับการตีพิมพ์และได้รับใบปริญญาระดับมหาบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย  สาขาปรัชญา


ในช่วงปี 1923 – 1949

ปี 1923   เขาได้กลับประเทศจีนแล้วเริ่มต้นสอนหนังสือในตำแหน่งศาสตราจารย์ด้านปรัชญา  ควบตำแหน่งคณบดีคณะอักษรศาสตร์และหัวหน้าภาควิชาปรัชญาแห่งมหาวิทยาลัยจงโจว (ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัยเหอหนาน)    ในฤดูใบไม้ร่วงของปี 1925  ได้รับหน้าที่เป็นศาสตราจารย์และหัวหน้าภาควิชาปรัชญาแห่งมหาวิทยาลัยซุนยัดเซ็นเมืองกว่างโจว   ปลายปีเขาได้ย้ายไปสอนหนังสือที่ภาคเหนือของประเทศจีน    ปี ค.ศ.1926  เป็นศาสตราจารย์แห่งมหาวิทยาลัยเยียนจิง   ในช่วงฤดูใบไม้ร่วง ปี ค.ศ.1928  ได้รับหน้าที่เป็นศาสตราจารย์สอนปรัชญาและหัวหน้าภาควิชาปรัชญาแห่งมหาวิทยาลัยชิงหัว  และปีถัดไปได้รับตำแหน่งเป็นคณบดีคณะอักษรศาสตร์ควบไปด้วย

หนังสือ “ประวัติศาสตร์ปรัชญาจีน” 《中国哲学史》ของเฝิงโหย่วหลานมีสองเล่ม เล่มแรกได้ตีพิมพ์เมื่อปี 1931  ส่วนเล่มสองตีพิมพ์เมื่อปี 1934   ปรัชญาสำนักขงจื่อได้รับการยกย่องทางด้านการปกครองในประวัติศาสตร์ปรัชญาจีน

ปี ค.ศ.1934  เฝิงโหย่วหลานได้รับเชิญให้ไปเยือนที่ประเทศสาธารณรัฐเช็กและสหภาพโซเวียต     หลังจากที่กลับจากโซเวียตได้กล่าวสุนทรพจน์เกี่ยวกับความรู้เกี่ยวสหภาพโซเวียตและวัตถุนิยมเชิงประวัติศาสตร์     ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ฝ่ายพรรคก๊กมินตั๋งไม่พอใจและได้จับกุมตัวเขามาดำเนินคดี   แต่สุดท้ายก็ได้รับการปล่อยตัว    จากนั้นเขาก็เข้าหาฝ่ายก๊กมินตั๋งและเข้าร่วมพรรคก๊กมินตั๋งในที่สุด     และปี ค.ศ.1935  เขาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นตัวแทนของสภาพรรคก๊กมินตั๋งในการประชุมครั้งที่ 5 ที่ประเทศจีน

ในปี ค.ศ.1937   สงครามจีน – ญี่ปุ่นได้ปะทุขึ้น   เฝิงโหย่วหลานได้ย้ายตามมหาวิทยาลัยชิงหัวไปยังเมืองฉางชา  และย้ายไปที่เมืองคุนหมิงในภายหลัง    และได้รับหน้าที่เป็นศาสตราจารย์ด้านปรัชญาและคณบดีคณะอักษรศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยรวมซีหนาน      ต่อมาได้เกิดความแตกแยกกันของสมาชิกพรรคก๊กมินตั๋ง   เฝิงโหย่วหลานจึงเข้าร่วมพรรคก๊กมินตั๋งอีกครั้งหนึ่งในปี ค.ศ.1939     ในระหว่างที่ได้พำนักที่เมืองคุนหมิง   เขาได้ตีพิมพ์หนังสือ “ซินหลี่เสว”《新理学》ในปี 1939,  “ซินชื่อลุ่น”《新事论》ในปี 1940,  “ซินชื่อซวิ่น”《新事训》ในปี 1940,  “ซินหยวนเหริน”《新原人》ในปี 1943,  “ซินหยวนเต้า”《新厡道》ในปี 1944,  “ซินจือเหยียน”《新知言》ในปี 1946   รวมทั้งหมด 6 เล่ม  เรียกหนังสือทั้งหมดนี้ว่า “หนังสือชุดเจินหยวน 6 เล่ม” (贞元六书)   เขาได้ยกย่องลัทธิขงจื่อดั้งเดิมต่อไป  และได้รวบรวมแนวคิดของลัทธิขงจื่อ    แล้วได้เข้าร่วมขบวนการการเคลื่อนไหวชีวิตใหม่กับพรรคก๊กมินตั๋ง    ในช่วงเวลาที่สอนหนังสือที่มหาวิทยาลัยรวมซีหนาน  เฝิงโหย่วหลานมีความสัมพันธ์อันใกล้ชิดกับขุนพลระดับสูงของพรรคก๊กมินตั๋ง    ปี ค.ศ.1942  เขาไปสอนหนังสือให้สมาชิกพรรคก๊กมินตั๋งที่ฉงชิ่ง    ปี 1943  เขามีชื่อเสียงโด่งดังจากมหาวิทยาลัยซีหนาน   เขาได้ส่งจดหมาย “ครองใจประชาชน” ไปให้เจียงไคเช็กอ่าน   เจียงอ่านว่า “เคลื่อนไหวเพื่อประชาชน หลั่งน้ำตาเพื่อประชาชน (为之动容,为之泪下)”     ปี ค.ศ. 1945  เฝิงโหย่วหลานได้รับเลือกให้เป็นประธานการประชุมสภาผู้แทนประชาชนแห่งชาติของพรรคก๊กมินตั๋ง ครั้งที่ 6

ในปี ค.ศ.1946  จีนประกาศชัยชนะสงครามต่อต้านญี่ปุ่น  มหาวิทยาลัยรวมซีหนานได้แยกตัวออกมา  แล้วมหาวิทยาลัยชิงหัวได้กลับไปตั้งอยู่ที่นครเป่ย์ผิง(ปักกิ่งในปัจจุบัน)    เฝิงโหย่วหลานได้รับเชิญจากมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย  ประเทศสหรัฐอเมริกา   ให้ไปเป็นศาสตราจารย์พิเศษเป็นระยะเวลา 1 ปี     เขาได้ตีพิมพ์หนังสือ “ประวัติศาสตร์ปรัชญาจีนฉบับสังเขป” ซึ่งได้มาจากการรวบรวมการบรรยายในแต่ละครั้ง    ปี ค.ศ.1948  เขาเดินทางกลับประเทศจีนแล้วไปสอนหนังสือที่มหาวิทยาลัยชิงหัวโดยทำหน้าที่เป็นศาสตราจารย์ด้านปรัชญา คณบดีคณะอักษรศาสตร์และหัวหน้าภาควิชาปรัชญาเช่นเดิม    ต่อมาได้รับเลือกให้เป็นนักวิชาการประจำสถาบันวิจัยแห่งชาติเป็นคนแรก (ในสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) และเป็นนักวิจารณ์ในการประชุมพิจารณ์ที่สถาบันวิจัยแห่งชาติ ครั้งที่ 3

ในช่วงปี 1949 – 1976

วันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ.1949  ได้สถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน   และวันที่ 5 ตุลาคม เฝิงโหย่วหลานได้เขียนจดหมายเรียกร้องถึงเหมาเจ๋อตงว่า “สมัยก่อนการเรียนปรัชญาเพื่อส่งเสริมระบบศักดินาจะเสริมสร้างความมั่นคงให้แก่พรรคก๊กมินตั๋ง  ตอนนี้ข้าพเจ้าได้เปลี่ยนความคิดแล้วว่าเรียนลัทธิมาร์กซิสต์ดีกว่า”   เหมาเจ๋อตงตอบจดหมายกลับมาว่า “ในอดีตเคยทำผิดพลาดมาก่อน”  แล้วเตือนว่า “จงใช้ความซื่อสัตย์อย่างเหมาะสม”  เฝิงโหย่วหลานตัดสินใจลาออกจากตำแหน่งคณบดีคณะอักษรศาสตร์และหัวหน้าภาควิชาปรัชญาแห่งมหาวิทยาลัยชิงหัว     และภายในปี 1950  เขาถูกส่งตัวไปเข้าร่วมขบวนการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงสังคมที่เขตชนบท     ปี 1952  เขาถูกย้ายไปทำงานที่ภาควิชาปรัชญาแห่งมหาวิทยาลัยปักกิ่ง     หลังจากที่สร้างชาติเฝิงโหย่วหลานก็ได้ทบทวนปัญหาทางประวัติศาสตร์ด้วยตนเองอยู่หลายครั้ง   โดยประกาศต่อสาธารณชนทั้งในและนอกประเทศว่า “ลัทธิขงจื่อใหม่เป็นศัตรูของลัทธิมาร์กซ์ – เลนิน และลัทธิเหมา... เป็นศัตรูของประชาชน... เป็นการสนับสนุนสังคมกึ่งศักดินากึ่งอาณานิคมของจีนในยุคนั้นและเป็นการสยบต่ออำนาจของรัฐบาลพรรคก๊กมินตั๋ง...    ผลงานที่ผ่านมาของข้าพเจ้าล้วนไม่มีคุณค่าใดๆ ทั้งนั้น... ข้าพเจ้าได้สำนึกผิดต่อตำราที่ได้เขียนขึ้นทั้งหมดในช่วงยุค 1940’s ”   เขาได้แสดงท่าทีร่วมมือกับรัฐบาลคอมมิวนิสต์   เขาได้หาคำพูดของลัทธิมาร์กซิสต์มาใช้ในการแสดงความคิดเห็น   และได้เขียนหนังสือ “ประวัติศาสตร์ปรัชญาจีน ฉบับใหม่”  ออกมา 2 เล่ม    ปี 1955  เขาได้เข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองและร่วมอภิปรายกับหูชื่อและเหลียงชู่หมิง    ปี 1962  มีการจัดประชุมขึ้นเป็นครั้งที่ 2 โดยสภากรรมการที่ปรึกษาแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน  หลังจากเสร็จสิ้นการประชุมเฝิงโหย่วหลานได้เขียนบทกลอนให้แก่ท่านประธานเหมาว่า “คฤหาสน์หวยเหรินกำเนิดบุหงาบานสะพรั่ง สายลมแห่งวสันตฤดูส่งกลิ่นหวนหอม (怀仁堂后百花香,浩荡春风感众芳)”

เมื่อเริ่มปฏิวัติวัฒนธรรมในปี 1966   ผลงานเฝิงโหย่วหลานถูกคัดลอกไว้ในนิตยสาร “คอกวัว” (牛棚)  จนกระทั่งปี 1968 จึงยกเลิกการคัดลอก   ปี 1973  ได้เกิดขบวนการวิพากษ์วิจารณ์แนวคิดขงจื่อและหลินเปียวอย่างรุนแรง   เฝิงโหย่วหลานได้รับหน้าที่เป็นผู้ให้คำปรึกษาของทีมงานที่เขียนผลงาน “เหลียงเซี่ยว” (粱效) เพื่อให้แก๊งสี่สหายเข้าใจว่า “จงออกมาจากกรอบความคิดโบราณแล้วทำลายลัทธิขงจื่อซะ”     แล้วตีพิมพ์บทความ “วิจารณ์ความคิดลัทธิขงจื่อที่ข้าพเจ้าเคยสนับสนุน” และ “การต่อสู้ระหว่างแนวคิดโบราณกับแนวคิดสมัยใหม่” ในหนังสือพิมพ์รายวันกวางหมิง《光明日报》  ต่อมาก็ได้ผลิตผลงาน “บทวิจารณ์ขงจื่อ” เพื่อสนับสนุนแก๊งสี่สหายของเจียงชิง    ในหนังสือเหล่านี้ เฝิงโหย่วหลานได้กล่าวว่า “ลัทธิขงจื่อในช่วงก่อนปี 1949 เสริมสร้างให้คนมีอำนาจและมีฐานะร่ำรวย  โดยเฉพาะอย่างยิ่งใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองของพรรคก๊กมินตั๋ง...   หลังจากปี 1949  ลัทธิขงจื่อถูกใช้เป็นเครื่องมือในการต่อต้านการปฏิวัติของหลินเส้าฉีและหลินเปียว”   ผู้ที่สามารถเข้าร่วมขบวนการวิจารณ์ขงจื่อนับว่าเป็นความสุขที่แท้จริง มีนักปรัชญาขงจื่อรุ่นหนึ่งกล่าวว่า “ถึงเวลาที่ต้องส่งเสียงวิจารณ์ขงจื่อ” เฝิงโหย่วหลานได้ทำงานใกล้ชิดกับเจียงชิง  จนกระทั่งปี 1976  แก๊งสี่สหายของเจียงชิงสูญเสียอำนาจ  ทีมงานที่ผลิตผลงาน “เหลียงเซี่ยว” ถูกเซ้ง  ส่วนเฝิงโหย่วหลานก็ถูกดำเนินคดีแล้วติดคุกเป็นเวลานาน

ช่วงบั้นปลายชีวิต

ตั้งแต่ปี 1980  มีคำสั่งจากทางการให้เฝิงโหย่วหลานเขียนหนังสือ “ประวัติศาสตร์ปรัชญาจีน ฉบับใหม่” ขึ้นมาอีกครั้ง  โดยให้ลูกศิษย์เขียนตามคำพุดของเขา เงื่อนไขคือ “ให้เขียนประวัติศาสตร์ปรัชญาจีนโดยมีลัทธิมาร์กซิสต์ที่มีอิทธิพลในตอนนี้อยู่รวมไปด้วย   รวมไปถึงความเข้าใจและประสบการณ์ทางวัฒนธรรม”   จนกระทั่งเขียนเสร็จสมบูรณ์ในปี 1989   ลัทธิมาร์กซิสต์และแนวคิดการต่อสู้ทางชนชั้นก็ได้รวมอยู่ในหนังสือทั้งเล่ม

วันที่ 26 พฤศจิกายน ค.ศ.1990  เฝิงโหย่วหลานล้มป่วยและเสียชีวิตที่โรงพยาบาลมิตรภาพปักกิ่ง  ด้วยอายุ 95 ปี

เกร็ดความรู้

เฝิงโหย่วหลานกับหูชื่อมีมุมมองทางวิชาการและจุดยืนทางการเมืองที่แตกต่างกันมาก    หูชื่อเคยพูดต่อหน้าเฉียนมู่ (钱穆) ว่า “ใต้หล้ามีแต่คนโง่เขลาเท่านั้นที่ไม่เลือกเส้นทางที่ถูกต้อง” เหอปิ่งตี้ได้จดจำผลงาน “อิทธิพลของแนวคิดหูชื่อที่มีต่อวัฒนธรรมจีนในช่วงก่อนปี 1927” ซึ่งเป็นวิทยานิพนธ์ปริญญาโทจากวิทยาลัยสมิทซ์ของเฝิงโหย่วหลาน  ผลงานนี้ได้กล่าวถึงสวี่ย่าเฟินภรรยาของหยางเส้าเจิ้นด้วย    เฝิงโหย่วหลานได้ยินเข้าก็กล่าวว่า “ผล...  ผล...  ผลงานชิ้นนี้ยอด...  ยอด... ยอดเยี่ยมไปเลย   เพราะหลังปี 1927   เขาก็ไม่...  ไม่... ไม่มีอิทธิพลแล้วล่ะ”

ผลงานชิ้นสำคัญ

เฝิงโหย่วหลานได้ผลิตผลงานรวมกันหลายชิ้นเรียกว่า “หนังสือประวัติศาสตร์ 3 ชุด  หนังสือชุดเจินหยวน 6 เล่ม”   อันเป็นการรวบรวมผลงานที่น่าภาคภูมิใจ    หนังสือประวัติศาสตร์ปรัชญาจีนมีทั้งหมด 3 ชุด  ได้แก่  “ประวัติศาสตร์ปรัชญาจีน”   “ประวัติศาสตร์ปรัชญาจีน ฉบับสังเขป”   “ประวัติศาสตร์ปรัชญาจีน ฉบับใหม่”    หนังสือชุดเจินหยวนเป็นหนังสือปรัชญาที่รวบรวมขึ้นมาเป็นชุด มีทั้งหมด 6 เล่ม อันได้แก่  “ซินหลี่เสว”,  “ซินชื่อซวิ่น”,  “ซินชื่อลุ่น”,  “ซินหยวนเหริน”,  “ซินหยวนเต้า” และ “ซินจือเหยียน”

《中国哲学史上下册》หนังสือประวัติศาสตร์ปรัชญาจีน มีสองเล่ม  เล่มแรกตีพิมพ์เมื่อปี 1931  เล่มสองตีพิมพ์เมื่อปี 1934   หนังสือชุดนี้เป็นผลงานประวัติศาสตร์ปรัชญาจีนชุดแรกที่เขียนผ่านมุมมองของปรัชญาตะวันตก     มีหลายแนวคิดที่ได้ข้อสรุปออกมาอย่างชัดเจนซึ่งได้รับการตอบรับที่ดีจากนักวิชาการรุ่นหลัง    เรียกได้ว่าเป็น “ผลงานที่เป็นรากฐานสำคัญของประวัติศาสตร์ปรัชญาจีน”

《中国哲学简史》 หนังสือประวัติศาสตร์ปรัชญาจีน ฉบับสังเขป  รวบรวมจากตำราเรียนที่เขาจัดทำขึ้นตอนที่เป็นอาจารย์พิเศษที่มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย  ประเทศสหรัฐอเมริกา   ผลงานชิ้นนี้ได้รับการแปลจาก 10 กว่าประเทศทั่วโลก   และขายได้หลายล้านเล่ม     เป็นตำราเรียนสำคัญที่ต้องใช้ในรายวิชาประวัติปรัชญาจีนของมหาวิทยาลัยหลายแห่งในประเทศแถบตะวันตก  และเป็นการบุกเบิกวงการปรัชญาจีนให้ตื่นตัวในโลกตะวันตกและทำให้ชาวตะวันตกเข้าใจแนวคิดของคนจีนอีกด้วย

《中国哲学史新编七册》หนังสือชุดประวัติศาสตร์ปรัชญาจีน ฉบับใหม่ มีทั้งหมด 7 เล่ม  เป็นผลงานปรัชญาชิ้นสำคัญที่เฝิงโหย่วหลานให้ลูกศิษย์เขียนขึ้นตามคำพูดของเขา    เนื่องจากช่วงนั้นเขากลายเป็นคนหูหนวกตาบอด    เขาจึงให้ลูกศิษย์เขียนผลงานชุดนี้ตั้งแต่ตอนที่เขาอายุ  84 – 95 ปี  รวมเป็น 11  ปี  และเขียนเสร็จเมื่อปี 1990   เขาต้องเข้านอนโรงพยาบาลทุกปี  แล้วลูกศิษย์ของเขาก็ได้จดบันทึกหนังสือประวัติศาสตร์ปรัชญาจีนเอาไว้ตามคำพูดของเขา

《贞元六书》หนังสือชุดเจินหยวนเป็นชุดหนังสือปรัชญาที่มีทั้งหมด  6  เล่ม     แบ่งออกเป็น “ซินหลี่เสว”,  “ซินชื่อซวิ่น”.  “ซินชื่อลุ่น”, “ซินหยวนเหริน”,  “ซินหยวนเต้า”  และ “ซินจือเหยียน”   5 เล่มหลัง ได้แบ่งออกเป็นบทต่างๆ  ส่วนมากกล่าวถึงปรัชญาบริสุทธิ์   《新世训》“ซินชื่อซวิ่น” เป็นผลงานที่วิเคราะห์ปัญหาทางสังคมผ่านมุมมองของลัทธิขงจื่อใหม่   《新事论》“ซินชื่อลุ่น” เป็นผลงานที่กล่าวถึงหลักการใช้ชีวิตและการปลูกฝังคุณธรรม    《新原人》  เป็นปรัชญาชีวิตที่ได้กล่าวว่าชีวิตคนแบ่งออกเป็น 4 ช่วงอายุ  《新原道》“ซินหยวนเต้า”  เป็นการวิเคราะห์พัฒนาการของปรัชญาจีนโดยผ่านมุมมองของประวัติศาสตร์ปรัชญา 《新知言》“ซินจือเหยียน”  เป็นประวัติศาสตร์ปรัชญาตะวันตกฉบับย่อที่สรุปออกมาโดยใช้ระเบียบวิธีการวิทยาทางปรัชญา

《三松堂全集》 เป็นผลงานชีวประวัติของเฝิงโหย่วหลาน  มีทั้งหมด 15 เล่ม

ในช่วงที่รัฐบาลไต้หวันประกาศกฎอัยการศึก (วันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ.1949 – 14 กรกฎาคม ค.ศ.1987)  ผลงานของเฝิงโหย่วหลานเคยเป็นหนังสือต้องห้ามในไต้หวัน


อ้างอิง

  1. 陈来 (2008). "冯友兰先生小传". 燕园问学记. 北京大学出版社. p. 20. ISBN 978-7-301-13291-3.
  2. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2018-04-25. สืบค้นเมื่อ 2019-09-15.
  3. 中央研究院逝世院士一覽表(2009年9月8日查詢)
  4. 中央研究院歷屆評議員一覽表(2009年9月8日查詢)
  5. 5.0 5.1 5.2 《毛澤東書信選集》,北京:人民出版社,1983年,第344页
  6. 蔡仲德,《馮友蘭先生年譜初編》,鄭州:河南人民出版社,1994年,第374页
  7. 馮友蘭,《三松堂全集》十四卷,郑州:河南人民出版社,1994年,第143页
  8. 蔡仲德,《馮友蘭先生年譜初編》,鄭州:河南人民出版社,1994年,第443页
  9. 蔡仲德,《馮友蘭先生年譜初編》,鄭州:河南人民出版社,1994年,第371页
  10. 馮友蘭,《我與毛澤東的交往》,《文匯報》(香港),2005年05月22日
  11. 11.0 11.1 馮友蘭,《論孔丘》,北京:人民出版社,1975年,第5页
  12. 馮友蘭,《論孔丘》,北京:人民出版社,1975年,第2页
  13. 汪東林,《梁漱溟問答錄》,武漢:湖北人民出版社
  14. 馮友蘭,《中国哲学史新编》第一卷,北京:人民出版社,1986年,自序部分
  15. 钱穆:《师友杂忆》
  16. 何炳棣:《讀史閱世六十年》

เฝ, งโหย, วหลาน, บทความน, งต, องการเพ, มแหล, งอ, างอ, งเพ, อพ, จน, ความถ, กต, อง, ณสามารถพ, ฒนาบทความน, ได, โดยเพ, มแหล, งอ, างอ, งตามสมควร, เน, อหาท, ขาดแหล, งอ, างอ, งอาจถ, กลบออก, บทความน, องการการจ, ดหน, ดหมวดหม, ใส, งก, ภายใน, หร, อเก, บกวาดเน, อหา, ให, ณ. bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng khunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk bthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxngefingohywhlan phasacin 冯友兰 4 thnwakhm kh s 1895 26 phvscikayn kh s 1990 mixikchuxhnungwa cuxeching 芝生 epnnkprchyacinaelankprawtisastrprchyacin ekhaidrbkarkhnamnamwaepn nkprchyakhngcuxsmyihm efingohywhlanekid4 thnwakhm kh s 1895 1895 12 04 tablthngehx mnthlehxhnan ckrwrrdichingesiychiwit26 phvscikayn kh s 1990 94 pi pkking satharnrthprachachncinsisyekamhawithyalypkkingmhawithyalyokhlmebiyxachiphnkprchyabutrcngphuChinese namexksrcintwetm馮友蘭xksrcintwyx冯友兰karthxdesiyngphasacinklangmatrthanphinxinFeng Yǒulanewd iclsFeng Yu lanIPA fe ŋ jo ula n enuxha 1 khrxbkhrw 2 karsuksa 3 inchwngpi 1923 1949 4 inchwngpi 1949 1976 5 chwngbnplaychiwit 6 ekrdkhwamru 7 phlnganchinsakhy 8 xangxingkhrxbkhrw aekikhefingohywhlanekidemuxwnthi 4 thnwakhm kh s 1895 trngkbsmyrachwngsching rchsmyhxngetkwangswi pithi 21 thihmubanchixi tablthngehx emuxnghnanhyang mnthlehxhnan trakulefingepntrakulthxngthinthirwmtwknepnhmuban miphunthikwahnungphnhmu 亩 pukhxngekhachuxwa efingxwiehwin 冯玉文 mixikchuxhnungwa echingecing 圣征 phxkhxngekhachuxwa efingithxi 冯台异 mixikchuxhnungwa chuohw 树候 aemkhxngekhachuxwa xuchingcux 吴清芝 aemekhaekhythanganepnhwhnakhnakrrmkarkarsuksakhxngstrithitablthngehx 1 karsuksa aekikhefingohywhlanerimeriynhnngsuxthibanfaehmingtxnxayu 6 khwb inpi kh s 1904 efingithxithanganepnphnknganthurkaraelabychithiorngeriynthxngthinxuchang ekhacungyaybantamphxipthitablxuchang pi kh s 1907 efingithxiyayipthanganthitablchnghyang mnthlhuepy khrxbkhrwcungyaytamthanipthinn inchwngvdurxnkhxngpi kh s 1908 phxkhxngekhaidlmpwyaelwesiychiwitthitablchnghyanginkhnathiekhaxayuephiyng 13 pi efingohywhlancungklbipsuksathibanekaintablthngehxechnedimpi kh s 1910 idekhasuksarayasnthiorngeriynprathmpracatablthngehxepnewla 1 pi txmapi kh s 1911 idsuksatxthiorngeriynrthbalaehnghnunginradbchnmthymintablcngocw emuxngikhefing kh s 1912 idyayiperiynthiorngeriyncinxuchang chwngvduhnawinpiediywknidekhasuksarayasnthimhawithyalyrthaehngesiyngih praethscin txmapi kh s 1915 samarthsxbekhamhawithyalypkking khnanitisastrid inrahwangthiekhasuksannekhatdsinicepliyniperiynkhnaxksrsastr phakhwichaprchyacin aelasaerckarsuksainpi kh s 1918 hlngcaknnidsxnhnngsuxthiwithyalyethkhnikhikhefing txmapi kh s 1919 ekhakbephuxnidrwmkntiphimphnitysarrayeduxn esiyngkhxnghwic 心声 inchwngvduhnawpiediywknekhasxbchingthunrthbalaelwmisiththieriyntxthipraethsshrthxemrikaineduxnmkrakhm pi kh s 1920 ekhaidekhasuksatxinradbpriyyaoththangdanprchyathimhawithyalyokhlmebiy nkhrniwyxrk ekhaideriynkbcxhn diwxi inchwngvdurxnkhxngpi kh s 1923 ekhaphankarsxbwithyaniphnth pitxmawithyaniphnthkhxngekhaidrbkartiphimphaelaidrbibpriyyaradbmhabnthitcakmhawithyalyokhlmebiy sakhaprchyainchwngpi 1923 1949 aekikhpi 1923 ekhaidklbpraethscinaelwerimtnsxnhnngsuxintaaehnngsastracarydanprchya khwbtaaehnngkhnbdikhnaxksrsastraelahwhnaphakhwichaprchyaaehngmhawithyalycngocw pccubnkhuxmhawithyalyehxhnan invduibimrwngkhxngpi 1925 idrbhnathiepnsastracaryaelahwhnaphakhwichaprchyaaehngmhawithyalysunydesnemuxngkwangocw playpiekhaidyayipsxnhnngsuxthiphakhehnuxkhxngpraethscin pi kh s 1926 epnsastracaryaehngmhawithyalyeyiyncing inchwngvduibimrwng pi kh s 1928 idrbhnathiepnsastracarysxnprchyaaelahwhnaphakhwichaprchyaaehngmhawithyalychinghw aelapithdipidrbtaaehnngepnkhnbdikhnaxksrsastrkhwbipdwyhnngsux prawtisastrprchyacin 中国哲学史 khxngefingohywhlanmisxngelm elmaerkidtiphimphemuxpi 1931 swnelmsxngtiphimphemuxpi 1934 prchyasankkhngcuxidrbkarykyxngthangdankarpkkhrxnginprawtisastrprchyacinpi kh s 1934 efingohywhlanidrbechiyihipeyuxnthipraethssatharnrthechkaelashphaphosewiyt hlngcakthiklbcakosewiytidklawsunthrphcnekiywkbkhwamruekiywshphaphosewiytaelawtthuniymechingprawtisastr dwyehtunicungthaihfayphrrkhkkmintngimphxicaelaidcbkumtwekhamadaeninkhdi aetsudthaykidrbkarplxytw caknnekhakekhahafaykkmintngaelaekharwmphrrkhkkmintnginthisud aelapi kh s 1935 ekhaidrbkaraetngtngihepntwaethnkhxngsphaphrrkhkkmintnginkarprachumkhrngthi 5 thipraethscininpi kh s 1937 sngkhramcin yipunidpathukhun efingohywhlanidyaytammhawithyalychinghwipyngemuxngchangcha aelayayipthiemuxngkhunhminginphayhlng aelaidrbhnathiepnsastracarydanprchyaaelakhnbdikhnaxksrsastraehngmhawithyalyrwmsihnan txmaidekidkhwamaetkaeykknkhxngsmachikphrrkhkkmintng efingohywhlancungekharwmphrrkhkkmintngxikkhrnghnunginpi kh s 1939 inrahwangthiidphankthiemuxngkhunhming ekhaidtiphimphhnngsux sinhliesw 新理学 inpi 1939 sinchuxlun 新事论 inpi 1940 sinchuxswin 新事训 inpi 1940 sinhywnehrin 新原人 inpi 1943 sinhywneta 新厡道 inpi 1944 sincuxehyiyn 新知言 inpi 1946 rwmthnghmd 6 elm eriykhnngsuxthnghmdniwa hnngsuxchudecinhywn 6 elm 贞元六书 ekhaidykyxnglththikhngcuxdngedimtxip aelaidrwbrwmaenwkhidkhxnglththikhngcux aelwidekharwmkhbwnkarkarekhluxnihwchiwitihmkbphrrkhkkmintng inchwngewlathisxnhnngsuxthimhawithyalyrwmsihnan efingohywhlanmikhwamsmphnthxniklchidkbkhunphlradbsungkhxngphrrkhkkmintng pi kh s 1942 ekhaipsxnhnngsuxihsmachikphrrkhkkmintngthichngching pi 1943 ekhamichuxesiyngodngdngcakmhawithyalysihnan ekhaidsngcdhmay khrxngicprachachn ipiheciyngikhechkxan eciyngxanwa ekhluxnihwephuxprachachn hlngnataephuxprachachn 为之动容 为之泪下 pi kh s 1945 efingohywhlanidrbeluxkihepnprathankarprachumsphaphuaethnprachachnaehngchatikhxngphrrkhkkmintng khrngthi 6 2 inpi kh s 1946 cinprakaschychnasngkhramtxtanyipun mhawithyalyrwmsihnanidaeyktwxxkma aelwmhawithyalychinghwidklbiptngxyuthinkhrepyphing pkkinginpccubn efingohywhlanidrbechiycakmhawithyalyephnsileweniy praethsshrthxemrika ihipepnsastracaryphiessepnrayaewla 1 pi ekhaidtiphimphhnngsux prawtisastrprchyacinchbbsngekhp sungidmacakkarrwbrwmkarbrryayinaetlakhrng pi kh s 1948 ekhaedinthangklbpraethscinaelwipsxnhnngsuxthimhawithyalychinghwodythahnathiepnsastracarydanprchya khnbdikhnaxksrsastraelahwhnaphakhwichaprchyaechnedim txmaidrbeluxkihepnnkwichakarpracasthabnwicyaehngchatiepnkhnaerk insakhamnusysastraelasngkhmsastr 3 aelaepnnkwicarninkarprachumphicarnthisthabnwicyaehngchati khrngthi 3 4 inchwngpi 1949 1976 aekikhwnthi 1 tulakhm kh s 1949 idsthapnasatharnrthprachachncin aelawnthi 5 tulakhm efingohywhlanidekhiyncdhmayeriykrxngthungehmaecxtngwa smykxnkareriynprchyaephuxsngesrimrabbskdinacaesrimsrangkhwammnkhngihaekphrrkhkkmintng txnnikhaphecaidepliynkhwamkhidaelwwaeriynlththimarksistdikwa 5 ehmaecxtngtxbcdhmayklbmawa inxditekhythaphidphladmakxn aelwetuxnwa cngichkhwamsuxstyxyangehmaasm efingohywhlantdsiniclaxxkcaktaaehnngkhnbdikhnaxksrsastraelahwhnaphakhwichaprchyaaehngmhawithyalychinghw aelaphayinpi 1950 ekhathuksngtwipekharwmkhbwnkarekhluxnihwepliynaeplngsngkhmthiekhtchnbth pi 1952 ekhathukyayipthanganthiphakhwichaprchyaaehngmhawithyalypkking hlngcakthisrangchatiefingohywhlankidthbthwnpyhathangprawtisastrdwytnexngxyuhlaykhrng odyprakastxsatharnchnthnginaelanxkpraethswa lththikhngcuxihmepnstrukhxnglththimarks elnin aelalththiehma 6 epnstrukhxngprachachn 7 epnkarsnbsnunsngkhmkungskdinakungxananikhmkhxngcininyukhnnaelaepnkarsybtxxanackhxngrthbalphrrkhkkmintng 8 phlnganthiphanmakhxngkhaphecalwnimmikhunkhaid thngnn 9 khaphecaidsanukphidtxtarathiidekhiynkhunthnghmdinchwngyukh 1940 s ekhaidaesdngthathirwmmuxkbrthbalkhxmmiwnist ekhaidhakhaphudkhxnglththimarksistmaichinkaraesdngkhwamkhidehn aelaidekhiynhnngsux prawtisastrprchyacin chbbihm xxkma 2 elm pi 1955 ekhaidekharwmkickrrmthangkaremuxngaelarwmxphipraykbhuchuxaelaehliyngchuhming pi 1962 mikarcdprachumkhunepnkhrngthi 2 odysphakrrmkarthipruksaaehngsatharnrthprachachncin hlngcakesrcsinkarprachumefingohywhlanidekhiynbthklxnihaekthanprathanehmawa khvhasnhwyehrinkaenidbuhngabansaphrng saylmaehngwsntvdusngklinhwnhxm 怀仁堂后百花香 浩荡春风感众芳 10 emuxerimptiwtiwthnthrrminpi 1966 phlnganefingohywhlanthukkhdlxkiwinnitysar khxkww 牛棚 cnkrathngpi 1968 cungykelikkarkhdlxk pi 1973 idekidkhbwnkarwiphakswicarnaenwkhidkhngcuxaelahlinepiywxyangrunaerng efingohywhlanidrbhnathiepnphuihkhapruksakhxngthimnganthiekhiynphlngan ehliyngesiyw 粱效 ephuxihaekngsishayekhaicwa cngxxkmacakkrxbkhwamkhidobranaelwthalaylththikhngcuxsa aelwtiphimphbthkhwam wicarnkhwamkhidlththikhngcuxthikhaphecaekhysnbsnun aela kartxsurahwangaenwkhidobrankbaenwkhidsmyihm inhnngsuxphimphraywnkwanghming 光明日报 txmakidphlitphlngan bthwicarnkhngcux ephuxsnbsnunaekngsishaykhxngeciyngching inhnngsuxehlani efingohywhlanidklawwa lththikhngcuxinchwngkxnpi 1949 esrimsrangihkhnmixanacaelamithanararwy odyechphaaxyangyingichepnekhruxngmuxthangkaremuxngkhxngphrrkhkkmintng hlngcakpi 1949 lththikhngcuxthukichepnekhruxngmuxinkartxtankarptiwtikhxnghlinesachiaelahlinepiyw 11 phuthisamarthekharwmkhbwnkarwicarnkhngcuxnbwaepnkhwamsukhthiaethcring 12 minkprchyakhngcuxrunhnungklawwa thungewlathitxngsngesiyngwicarnkhngcux 13 efingohywhlanidthanganiklchidkbeciyngching cnkrathngpi 1976 aekngsishaykhxngeciyngchingsuyesiyxanac thimnganthiphlitphlngan ehliyngesiyw thukesng swnefingohywhlankthukdaeninkhdiaelwtidkhukepnewlananchwngbnplaychiwit aekikhtngaetpi 1980 mikhasngcakthangkarihefingohywhlanekhiynhnngsux prawtisastrprchyacin chbbihm khunmaxikkhrng odyihluksisyekhiyntamkhaphudkhxngekha enguxnikhkhux ihekhiynprawtisastrprchyacinodymilththimarksistthimixiththiphlintxnnixyurwmipdwy rwmipthungkhwamekhaicaelaprasbkarnthangwthnthrrm 14 cnkrathngekhiynesrcsmburninpi 1989 lththimarksistaelaaenwkhidkartxsuthangchnchnkidrwmxyuinhnngsuxthngelmwnthi 26 phvscikayn kh s 1990 efingohywhlanlmpwyaelaesiychiwitthiorngphyabalmitrphaphpkking dwyxayu 95 piekrdkhwamru aekikhefingohywhlankbhuchuxmimummxngthangwichakaraelacudyunthangkaremuxngthiaetktangknmak huchuxekhyphudtxhnaechiynmu 钱穆 wa ithlamiaetkhnongekhlaethannthiimeluxkesnthangthithuktxng 15 ehxpingtiidcdcaphlngan xiththiphlkhxngaenwkhidhuchuxthimitxwthnthrrmcininchwngkxnpi 1927 sungepnwithyaniphnthpriyyaothcakwithyalysmithskhxngefingohywhlan phlnganniidklawthungswiyaefinphrryakhxnghyangesaecindwy efingohywhlanidyinekhakklawwa phl phl phlnganchinniyxd yxd yxdeyiymipely ephraahlngpi 1927 ekhakim im immixiththiphlaelwla 16 phlnganchinsakhy aekikhefingohywhlanidphlitphlnganrwmknhlaychineriykwa hnngsuxprawtisastr 3 chud hnngsuxchudecinhywn 6 elm xnepnkarrwbrwmphlnganthinaphakhphumiic hnngsuxprawtisastrprchyacinmithnghmd 3 chud idaek prawtisastrprchyacin prawtisastrprchyacin chbbsngekhp prawtisastrprchyacin chbbihm hnngsuxchudecinhywnepnhnngsuxprchyathirwbrwmkhunmaepnchud mithnghmd 6 elm xnidaek sinhliesw sinchuxswin sinchuxlun sinhywnehrin sinhywneta aela sincuxehyiyn 中国哲学史上下册 hnngsuxprawtisastrprchyacin misxngelm elmaerktiphimphemuxpi 1931 elmsxngtiphimphemuxpi 1934 hnngsuxchudniepnphlnganprawtisastrprchyacinchudaerkthiekhiynphanmummxngkhxngprchyatawntk mihlayaenwkhidthiidkhxsrupxxkmaxyangchdecnsungidrbkartxbrbthidicaknkwichakarrunhlng eriykidwaepn phlnganthiepnrakthansakhykhxngprawtisastrprchyacin 中国哲学简史 hnngsuxprawtisastrprchyacin chbbsngekhp rwbrwmcaktaraeriynthiekhacdthakhuntxnthiepnxacaryphiessthimhawithyalyephnsileweniy praethsshrthxemrika phlnganchinniidrbkaraeplcak 10 kwapraethsthwolk aelakhayidhlaylanelm epntaraeriynsakhythitxngichinraywichaprawtiprchyacinkhxngmhawithyalyhlayaehnginpraethsaethbtawntk aelaepnkarbukebikwngkarprchyacinihtuntwinolktawntkaelathaihchawtawntkekhaicaenwkhidkhxngkhncinxikdwy 中国哲学史新编七册 hnngsuxchudprawtisastrprchyacin chbbihm mithnghmd 7 elm epnphlnganprchyachinsakhythiefingohywhlanihluksisyekhiynkhuntamkhaphudkhxngekha enuxngcakchwngnnekhaklayepnkhnhuhnwktabxd ekhacungihluksisyekhiynphlnganchudnitngaettxnthiekhaxayu 84 95 pi rwmepn 11 pi aelaekhiynesrcemuxpi 1990 ekhatxngekhanxnorngphyabalthukpi aelwluksisykhxngekhakidcdbnthukhnngsuxprawtisastrprchyacinexaiwtamkhaphudkhxngekha 贞元六书 hnngsuxchudecinhywnepnchudhnngsuxprchyathimithnghmd 6 elm aebngxxkepn sinhliesw sinchuxswin sinchuxlun sinhywnehrin sinhywneta aela sincuxehyiyn 5 elmhlng idaebngxxkepnbthtang swnmakklawthungprchyabrisuththi 新世训 sinchuxswin epnphlnganthiwiekhraahpyhathangsngkhmphanmummxngkhxnglththikhngcuxihm 新事论 sinchuxlun epnphlnganthiklawthunghlkkarichchiwitaelakarplukfngkhunthrrm 新原人 epnprchyachiwitthiidklawwachiwitkhnaebngxxkepn 4 chwngxayu 新原道 sinhywneta epnkarwiekhraahphthnakarkhxngprchyacinodyphanmummxngkhxngprawtisastrprchya 新知言 sincuxehyiyn epnprawtisastrprchyatawntkchbbyxthisrupxxkmaodyichraebiybwithikarwithyathangprchya 三松堂全集 epnphlnganchiwprawtikhxngefingohywhlan mithnghmd 15 elminchwngthirthbalithwnprakaskdxykarsuk wnthi 20 phvsphakhm kh s 1949 14 krkdakhm kh s 1987 phlngankhxngefingohywhlanekhyepnhnngsuxtxnghaminithwnxangxing aekikh 陈来 2008 冯友兰先生小传 燕园问学记 北京大学出版社 p 20 ISBN 978 7 301 13291 3 45年国民党 最优秀教授党员 华罗庚陈寅恪冯友兰 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2018 04 25 subkhnemux 2019 09 15 中央研究院逝世院士一覽表 2009年9月8日查詢 中央研究院歷屆評議員一覽表 2009年9月8日查詢 5 0 5 1 5 2 毛澤東書信選集 北京 人民出版社 1983年 第344页 蔡仲德 馮友蘭先生年譜初編 鄭州 河南人民出版社 1994年 第374页 馮友蘭 三松堂全集 十四卷 郑州 河南人民出版社 1994年 第143页 蔡仲德 馮友蘭先生年譜初編 鄭州 河南人民出版社 1994年 第443页 蔡仲德 馮友蘭先生年譜初編 鄭州 河南人民出版社 1994年 第371页 馮友蘭 我與毛澤東的交往 文匯報 香港 2005年05月22日 11 0 11 1 馮友蘭 論孔丘 北京 人民出版社 1975年 第5页 馮友蘭 論孔丘 北京 人民出版社 1975年 第2页 汪東林 梁漱溟問答錄 武漢 湖北人民出版社 馮友蘭 中国哲学史新编 第一卷 北京 人民出版社 1986年 自序部分 钱穆 师友杂忆 何炳棣 讀史閱世六十年 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title efingohywhlan amp oldid 9684595, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม