fbpx
วิกิพีเดีย

เวียนนาซีเซสชัน

กลุ่ม ‘เวียนนาซีเซสชัน’ (อังกฤษ: Vienna Secession) เป็นกลุ่มศิลปินที่ทรงพลังกลุ่มหนึ่งของออสเตรีย เนื่องจากเต็มไปด้วยบุคลากรรุ่นใหม่มากมายที่มีพลังผลักดันในการทำงานอย่างท่วมท้น ปรัชญาและแนวการทำงานของกลุ่มนั้นก็เป็นดังคำที่จารึกไว้เหนือประตูทางเข้าอาคารซีเซสชันที่ว่า “ในยุคสมัยมันคือศิลปะ ในศิลปะมันคืออิสรภาพ” (Der Zeit ihre Kunst, der Kunst Ihre Freiheit)

ประวัติ

 
“โปสเตอร์ของนิทรรศการครั้งแรกในปี 1898”

กลุ่มเวียนนาซีเซสชันก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1897 โดย กุสตาฟ คลิมต์, โคโลมาน โมเซอร์, โยเซฟ ฮอฟฟ์มันน์, โยเซฟ มาเรีย ออลบริช, แมค คลิงเกอร์ และศิลปินอีกหลายคน อย่างไรก็ตาม ออทโท วากเนอร์ ก็เป็นศิลปินอีกคนของกลุ่มที่เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง แม้จะไม่ใช่หนึ่งในผู้ก่อตั้งก็ตาม ก่อนจะมาเป็นกลุ่มซีเซสชัน เดิมศิลปินในกลุ่มเคยร่วมประท้วงสถาบันศิลปะเวียนนา (The Vienna Künstlerhaus) เนื่องด้วยเหตุที่สถาบันไม่อนุญาตให้นักออกแบบต่างชาติที่ไม่ใช่ชาวออสเตรียนหรือเยอรมันเข้าร่วมแสดงงาน ซึ่งปรากฏการณ์นี้มีอยู่ทั่วไป ทั้งในฝรั่งเศส อังกฤษ และเยอรมัน แสดงให้เห็นถึงการขัดแย้ง ระหว่างกลุ่มประเพณีนิยมและกลุ่มความคิดใหม่ ทำให้ศิลปินแยกตัวออกมาจากสถาบันและก่อตั้งกลุ่มเวียนนาซีเซสชันขึ้นมา

งานแสดงศิลปกรรมครั้งแรกที่จัดขึ้นโดยกลุ่มซีเซสชันนี้จัดขึ้นในเดือนมีนาคม ปี ค.ศ. 1898 มีผู้เข้าชมมากกว่า 57,000 คน และหนึ่งในผู้ที่มาเข้าชมก็คือ จักรพรรดิฟรันซ์ โยเซฟที่ 1 ซึ่งเป็นแขกในงานแสดงด้วยนั่นเอง แสดงให้เห็นถึงความสามารถและความสำเร็จในชื่อเสียงของศิลปินในกลุ่มที่สามารถดึงดูดผู้เข้าชมงานได้มากถึงเพียงนี้ การจัดงานแสดงศิลปกรรมครั้งแรกของกลุ่มซีเซสชันนี้ไม่ได้จัดขึ้น ณ สถานที่ทำการของกลุ่มอย่างที่เข้าใจกัน เนื่องจากอาคารยังอยู่ในระหว่างการดำเนินงานก่อสร้าง ทางกลุ่มจึงได้เช่าที่ทำการใหญ่ของสมาคมชาวสวนแห่งกรุงเวียนนา (Vienna Horticultural Association) เป็นสถานที่จัดงานบรรยากาศของห้องจัดงานนั้นสร้างความแปลกและความรู้สึกใหม่ๆด้วยพรรณไม้ต่าง ๆ อีกทั้งการจัดแขวนผลงานนั้นก็ยังสร้างปรากฏการณ์ใหม่ ภาพทุกภาพถูกแขวนอยู่ในระดับสายตาเท่า ๆ กันทุกภาพไม่มีการแขวนเหลื่อมหรือซ้อนกันอย่างเช่นการจัดแสดงในที่อื่น ๆ นั่นคือการนำแนวคิดใหม่ ๆ มาสู่การทำงานในรูปแบบใหม่ของกลุ่ม

 
“The Beethoven friezes ของ กุสตาฟ คลิมต์”

การเกิดขึ้นของกลุ่มซีเซสชันนั้น ทำให้กลุ่มสมาคมศิลปินแห่งกรุงเวียนนาต้องเสื่อมความนิยมลงไปมาก จนกระทั่งกลุ่มของพวกเขาสามารถเข้ามามีบทบาทขึ้นแทนที่กลุ่มสมาคมศิลปินแห่งเวียนนาในที่สุดในปี ค.ศ. 1900 ศิลปินที่เคยอยู่กับกลุ่มของสมาคมศิลปินเวียนนาจึงต่างมุ่งหันเข้ามาเป็นสมาชิกกลุ่มซีเซสชันนี้กันอย่างมากมาย บนความสำเร็จนี้ของกลุ่มซีเซสชัน ได้ทำให้ศิลปะสมัยใหม่เกิดตื่นตัวไปทั่วทั้งวงการศิลปะของออสเตรียและยุโรปและในการจัดแสดงงานศิลปกรรมครั้งที่ 14 ที่จัดขึ้นในเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม ปี ค.ศ. 1902 นั้นถือว่าเป็นชุดที่สมบูรณ์ที่สุดในจำนวนการจัดการแสดงภาพทั้งหมดของกลุ่มซีเซสชัน ออกแบบโดย โยเซฟ ฮอฟฟ์มันน์ เพื่ออุทิศให้แก่ ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน กลายเป็นงานที่เป็นที่รู้จักและชื่นชมกันเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะผลงานประติมากรรม Beethoven ของ แมค คลิงเกอร์ และ The Beethoven friezes ของ กุสตาฟ คลิมต์

ในปี ค.ศ. 1903 ดังที่ได้กล่าวแล้วว่ากลุ่มซีเซสชันนั้นประกอบด้วยศิลปินที่ทำงานในหลายแนวทางทั้งงานจิตรกรรม สถาปัตยกรรม และช่างออกแบบในสายงานต่าง ๆทางศิลปกรรมอีกมากมาย โยเซฟ ฮอฟฟ์มันน์ และ โคโลมาน โมเซอร์ สองศิลปินในกลุ่มซีเซสชันซึ่งเป็นนักออกแบบผลิตภัณฑ์ ทั้งสองร่วมกันก่อตั้งโรงงานผลิตเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งในชื่อ โรงงานเวียนนา (Wiener Wekstatte) และสถานที่แห่งนี้ก็กลายเป็นโรงงานระบายงานจากการทำงานของศิลปินต่าง ๆ ในกลุ่มซีเซสชันอีกทางหนึ่งด้วย

แต่ความสำเร็จของกลุ่มซีเซสซันนี้ไม่ได้สร้างผลที่ดีติดตามมาแต่เพียงอย่างเดียว การที่กลุ่มซีเซสซันเริ่มมีชื่อเสียงโด่งดังขึ้นมากในยุโรปและอเมริกาหลังจากออกไปจัดการแสดงในต่างประเทศหลายครั้งนั้น ทำให้สมาชิกมีมากขึ้นและหลากหลายสายทางกันมากขึ้น ซึ่งทำให้เกิดการควบคุมสมาชิกต่าง ๆ นั้นได้ยากมากขึ้นอีกด้วย เนื่องจากเริ่มมีกระแสการเมืองที่คุกรุ่นขึ้นภายใน จนกระทั่งแตกออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ กลุ่มของ กุสตาฟ คลิมต์และกลุ่ม โยเซฟ ฮอฟฟ์มันน์ ซึ่งในกลุ่มหลังนั้นมีกระแสจากกลุ่มในเยอรมันที่คอยหนุนหลังอยู่อีกที อีกทั้งในตอนนั้นกระแสต่อต้านคลิมต์เกี่ยวกับความแข็งกระด้างในอุปนิสัยของเขาเองจากเหล่าสื่อมวลชน อีกทั้งกรณีที่เขามีข้อพิพาทต่อเหล่าคณาจารย์และคณะกรรมการของมหาวิทยาลัยแห่งกรุงเวียนนา เรื่องภาพเขียนทั้ง 3 ภาพของเขาที่มหาวิทยาลัยแห่งกรุงเวียนนา ซึ่งทำให้สมาชิกซึ่งเป็นอาจารย์อยู่ในสถาบันศิลปะบางคนนั้นเริ่มต่อต้านแนวความคิดของคลิมต์ถึงขนาดที่แทงข้างหลังเขาในการเสนอชื่อตนเพื่อเข้ารับตำแหน่งศาสตราจารย์ต่อทางสถาบันแทน คลิมต์จึงเริ่มมีแรงกดดันต่าง ๆ เกิดขึ้นมากมายจากรอบด้าน ในที่สุดในการให้สัมภาษณ์ต่อสื่อมวลชนครั้งหนึ่งเขาก็ประกาศว่าขอถอนตัวออกจากกลุ่มซีเซสซันและในที่สุดเขาก็ถอนตัวออกไปจากกลุ่มจริง ๆ ในช่วงปี ค.ศ. 1905 ศิลปินอีกหลายคนที่อยู่ในกลุ่มของ คลิมต์ก็แยกตัวตามออกมาเช่นกัน สุดท้ายกลุ่มซีเซสชันจึงจบลง

รูปแบบงาน

 
“หน้าปกนิตยสาร Ver Sacrum”

งานของกลุ่มเวียนนาซีเซสชันไม่เหมือนกับงานของกลุ่มความเคลื่อนไหวอื่น ๆ รูปแบบงานของกลุ่มนี้มีความหลากหลายมาก อาทิ เช่น งานสถาปัตยกรรมอย่าง อาคารซีเซสชันที่เปรียบเสมือนกับสัญลักษณ์ของกลุ่ม งานประติมากรรม งานตกแต่งอาคาร หรือ แม้กระทั่งงานจิตรกรรม แนวความคิดแต่เริ่มของพวกเขาคือความต้องการที่จะฉีกแนวงานของออกจากกรอบหรือขนบแบบเดิม ๆ เพื่อที่จะได้สร้างงานรูปแบบใหม่ที่ไม่เคยถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์มาก่อน แนวงานของพวกเขาเกิดจากส่วนผสมที่หลากหลายดูคล้ายกับศิลปะแบบอาร์ตนูโว (Art Nouveau) แต่งานที่มีออกมาก็แอบแฝงความเป็นงานแบบสัญลักษณ์ (Symbolist) เอาไว้ ดังจะเห็นได้จากงานของคลิมต์ เป็นต้น

นอกจากนี้เมื่ออิทธิพลของอาร์ตนูโวแบบฝรั่งเศสหมดลงไปการเปลี่ยนแปลงและเน้นถึงแบบแผนของการใช้รูปทรงเรขาคณิตและการออกแบบโมดูลาร์ (Modular Design) ทำให้รูปแบบของงานออกแบบเปลี่ยนรูปไปจากเดิมมาเป็นการใช้รูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้วงกลมในการจัดวางแบบซ้ำ ๆ กันและใช้แบบผสม ในส่วนที่ตกแต่งและเป็นองค์ประกอบประเภทลวดลาย ขึ้นอยู่กับการใช้องค์ประกอบที่ซ้ำ ๆ กัน แบบรูปทรงเรขาคณิตเหล่านี้เป็นรูปทรงที่ไม่ใช่รูปทรงที่เห็นมาก่อนหรือถูกใช้แบบงานเครื่องจักร ซึ่งมีลักษณะเหมือนการปะติดปะต่อ แต่เป็นการใช้ให้งานดูมีชีวิตชีวากว่าเดิม และในช่วงนี้เองกลุ่มเวียนนาซีเซสชันก็ได้มีการออกนิตยสาร ชื่อว่า “Ver Sacrum” ที่แสดงให้เห็นถึงแนวงานของกลุ่มซีเซสชันให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น

สถาปัตยกรรม

 
“อาคารทำการของกลุ่มซีเซสชัน”

อาคารที่ทำการของกลุ่มนั้น ทางกลุ่มซีเซสชันได้ลงทุนด้วยเงินจำนวนมากจากการกู้ยืมธนาคาร การออกแบบและการตกแต่งภายในนั้นเป็นไปแบบช่วยกันคนละไม้คนละมือ แต่ความคิดส่วนใหญ่ทั้งหมดมาจากแนวความคิดของ กุสตาฟ คลิมต์ ซึ่งเป็นผู้นำกลุ่มนั้นเอง ลักษณะอาคารจะเป็นโครงสร้างและรูปแบบเหมือนกับสถาปัตยกรรมในยุคกรีกและอียิปต์ ซึ่งเป็นไปตามแนวอิทธิพลทางศิลปะของสมาชิกส่วนมากในกลุ่ม แต่สำหรับแนวทางของคลิมต์นั้น เขาไม่ได้ลอกแบบศิลปะแบบกรีกหรืออียิปต์มาใช้อย่างเต็มตัว แต่เขาได้นำมันมาประยุกต์กับแนวคิดใหม่ของ ‘โมเดิร์น อาร์ต’ (Modern art) หรือ ศิลปะสมัยนิยม ซึ่งในออสเตรียในขณะนั้นนอกจากจะมุ่งสร้างประเทศด้วยศิลปกรรมตามแบบอย่างปารีสแล้ว โมเดิร์น อาร์ต ยังเป็นสิ่งที่แทรกซึมเข้าไปในผังเมืองที่ถูกกำหนดขึ้นใหม่ด้วยในส่วนที่เรียกว่า ‘ริงสตราสส์’ (Ringstasse) อีกด้วย

ผลงานอาคารในแบบโมเดิร์นอาร์ตที่เป็นตัวอย่างขึ้นชื่อคือผลงานของ ออทโท วากเนอร์ ซึ่งปรากฏอยู่ในหลายแห่งของริงสตราสส์ในกรุงเวียนนา อาคารที่เห็นได้ชัดก็คืออาคารที่ทำการไปรษณีย์ (Postal Saving Bank) ในเวียนนา แนวการออกแบบนี้ได้สร้างแรงบันดาลใจให้กับ โยเซฟ มาเรีย ออลบริช หนึ่งในศิลปินกลุ่มซีเซสชัน โดยเขาได้นำมาประยุกต์กับแนวความคิดรูปแบบเก่าไปสู่รูปแบบใหม่เพื่อใช้ในการออกแบบอาคารซีเซสชันอย่างลงตัว เหนืออาคารนั้นเป็นรูปทรงกลมคล้ายโดมในศิลปะแบบไบแซนไทน์ (Byzantine) การใช้รูปทรงนี้เข้ามาเป็นรูปแบบของอาคาร ทำให้ตัวอาคารมองดูคล้ายกับวิหาร

ปัจจุบันอาคารหลังนี้ได้ตกมาเป็นสมบัติของแกลเลอรี เบลเฟเดเรอร์ (Austrain Gallery Belvedere) ซึ่งจัดแสดงผลงานศิลปะร่วมสมัยของศิลปินมากมาย ๆหมุนเวียนกันมาจัดอยู่เรื่อย ๆ แต่ก็ยังคงเปิดแสดงผลงาน The Beethoven friezes ของคลิมต์อยู่เสมอ

ศิลปินสำคัญในกลุ่มซีเซสชัน

  • กุสตาฟ คลิมต์ (Gustav Klimt)
  • โยเซฟ ฮอฟฟ์มันน์ (Josef Hoffmann)
  • โยเซฟ มาเรีย ออลบริช (Joseph Maria Olbrich)
  • ออทโท วากเนอร์ (Otto Wagner)
  • แมค คลิงเกอร์ (Max Klinger)
  • อดอล์ฟ โบม (Adolf Bohm)
  • อัลเฟรด โรลเลอร์ (Alfred Roller)
  • คาร์ล โมลล์ (Carl Moll)
  • เฟอร์ดินันด์ อันดรี (Ferdinand Andri)

อ้างอิง

  • หนึ่งธิดา [นามแฝง]. “กุสตาฟ คลิมต์ (Gustav Klimt)”. กรุงเทพฯ, ประเทศไทย. สำนักพิมพ์พิราบ, 2546. ISBN 974-7430-47-9
  • อภิชาตเกรียงไกร, วิจิตร. “พิพิธภัณฑ์หอศิลปส่องชีวิตกรุงเวียนนา: The Vienna Secession”. กรุงเทพฯ, ประเทศไทย. อาร์ต เร็คคอร์ด อิน ไทยแลนด์, ปีที่ 1, ฉบับที่ 9, 2537, หน้า 14-17.
  • Vergo, Peter. “Art in Vienna, 1898-1918 : Klimt, Kokoschka, Schiele and their contemporaies”. London, United Kingdom. Phaidon, 1975. ISBN 071-4-81690-0

แหล่งข้อมูล


เว, ยนนาซ, เซสช, กล, งกฤษ, vienna, secession, เป, นกล, มศ, ลป, นท, ทรงพล, งกล, มหน, งของออสเตร, เน, องจากเต, มไปด, วยบ, คลากรร, นใหม, มากมายท, พล, งผล, กด, นในการทำงานอย, างท, วมท, ปร, ชญาและแนวการทำงานของกล, มน, นก, เป, นด, งคำท, จาร, กไว, เหน, อประต, ทางเข, . klum ewiynnasiesschn xngkvs Vienna Secession epnklumsilpinthithrngphlngklumhnungkhxngxxsetriy enuxngcaketmipdwybukhlakrrunihmmakmaythimiphlngphlkdninkarthanganxyangthwmthn prchyaaelaaenwkarthangankhxngklumnnkepndngkhathicarukiwehnuxpratuthangekhaxakharsiesschnthiwa inyukhsmymnkhuxsilpa insilpamnkhuxxisrphaph Der Zeit ihre Kunst der Kunst Ihre Freiheit enuxha 1 prawti 2 rupaebbngan 3 sthaptykrrm 4 silpinsakhyinklumsiesschn 5 xangxing 6 aehlngkhxmulprawti aekikh opsetxrkhxngnithrrskarkhrngaerkinpi 1898 klumewiynnasiesschnkxtngkhunemuxwnthi 3 emsayn kh s 1897 ody kustaf khlimt okholman omesxr oyesf hxffmnn oyesf maeriy xxlbrich aemkh khlingekxr aelasilpinxikhlaykhn xyangirktam xxthoth wakenxr kepnsilpinxikkhnkhxngklumthiepnthiruckxyangkwangkhwang aemcaimichhnunginphukxtngktam kxncamaepnklumsiesschn edimsilpininklumekhyrwmprathwngsthabnsilpaewiynna The Vienna Kunstlerhaus enuxngdwyehtuthisthabnimxnuyatihnkxxkaebbtangchatithiimichchawxxsetriynhruxeyxrmnekharwmaesdngngan sungpraktkarnnimixyuthwip thnginfrngess xngkvs aelaeyxrmn aesdngihehnthungkarkhdaeyng rahwangklumpraephniniymaelaklumkhwamkhidihm thaihsilpinaeyktwxxkmacaksthabnaelakxtngklumewiynnasiesschnkhunmanganaesdngsilpkrrmkhrngaerkthicdkhunodyklumsiesschnnicdkhunineduxnminakhm pi kh s 1898 miphuekhachmmakkwa 57 000 khn aelahnunginphuthimaekhachmkkhux ckrphrrdifrns oyesfthi 1 sungepnaekhkinnganaesdngdwynnexng aesdngihehnthungkhwamsamarthaelakhwamsaercinchuxesiyngkhxngsilpininklumthisamarthdungdudphuekhachmnganidmakthungephiyngni karcdnganaesdngsilpkrrmkhrngaerkkhxngklumsiesschnniimidcdkhun n sthanthithakarkhxngklumxyangthiekhaickn enuxngcakxakharyngxyuinrahwangkardaeninngankxsrang thangklumcungidechathithakarihykhxngsmakhmchawswnaehngkrungewiynna Vienna Horticultural Association epnsthanthicdnganbrryakaskhxnghxngcdngannnsrangkhwamaeplkaelakhwamrusukihmdwyphrrnimtang xikthngkarcdaekhwnphlngannnkyngsrangpraktkarnihm phaphthukphaphthukaekhwnxyuinradbsaytaetha knthukphaphimmikaraekhwnehluxmhruxsxnknxyangechnkarcdaesdnginthixun nnkhuxkarnaaenwkhidihm masukarthanganinrupaebbihmkhxngklum The Beethoven friezes khxng kustaf khlimt karekidkhunkhxngklumsiesschnnn thaihklumsmakhmsilpinaehngkrungewiynnatxngesuxmkhwamniymlngipmak cnkrathngklumkhxngphwkekhasamarthekhamamibthbathkhunaethnthiklumsmakhmsilpinaehngewiynnainthisudinpi kh s 1900 silpinthiekhyxyukbklumkhxngsmakhmsilpinewiynnacungtangmunghnekhamaepnsmachikklumsiesschnniknxyangmakmay bnkhwamsaercnikhxngklumsiesschn idthaihsilpasmyihmekidtuntwipthwthngwngkarsilpakhxngxxsetriyaelayuorpaelainkarcdaesdngngansilpkrrmkhrngthi 14 thicdkhunineduxnemsaynthungphvsphakhm pi kh s 1902 nnthuxwaepnchudthismburnthisudincanwnkarcdkaraesdngphaphthnghmdkhxngklumsiesschn xxkaebbody oyesf hxffmnn ephuxxuthisihaek ludwic fan ebothefn klayepnnganthiepnthiruckaelachunchmknepnxyangmak odyechphaaphlnganpratimakrrm Beethoven khxng aemkh khlingekxr aela The Beethoven friezes khxng kustaf khlimtinpi kh s 1903 dngthiidklawaelwwaklumsiesschnnnprakxbdwysilpinthithanganinhlayaenwthangthngngancitrkrrm sthaptykrrm aelachangxxkaebbinsayngantang thangsilpkrrmxikmakmay oyesf hxffmnn aela okholman omesxr sxngsilpininklumsiesschnsungepnnkxxkaebbphlitphnth thngsxngrwmknkxtngorngnganphlitefxrniecxraelakhxngtkaetnginchux orngnganewiynna Wiener Wekstatte aelasthanthiaehngnikklayepnorngnganrabayngancakkarthangankhxngsilpintang inklumsiesschnxikthanghnungdwyaetkhwamsaerckhxngklumsiesssnniimidsrangphlthiditidtammaaetephiyngxyangediyw karthiklumsiesssnerimmichuxesiyngodngdngkhunmakinyuorpaelaxemrikahlngcakxxkipcdkaraesdngintangpraethshlaykhrngnn thaihsmachikmimakkhunaelahlakhlaysaythangknmakkhun sungthaihekidkarkhwbkhumsmachiktang nnidyakmakkhunxikdwy enuxngcakerimmikraaeskaremuxngthikhukrunkhunphayin cnkrathngaetkxxkepn 2 klumihy khux klumkhxng kustaf khlimtaelaklum oyesf hxffmnn sunginklumhlngnnmikraaescakklumineyxrmnthikhxyhnunhlngxyuxikthi xikthngintxnnnkraaestxtankhlimtekiywkbkhwamaekhngkradanginxupnisykhxngekhaexngcakehlasuxmwlchn xikthngkrnithiekhamikhxphiphathtxehlakhnacaryaelakhnakrrmkarkhxngmhawithyalyaehngkrungewiynna eruxngphaphekhiynthng 3 phaphkhxngekhathimhawithyalyaehngkrungewiynna sungthaihsmachiksungepnxacaryxyuinsthabnsilpabangkhnnnerimtxtanaenwkhwamkhidkhxngkhlimtthungkhnadthiaethngkhanghlngekhainkaresnxchuxtnephuxekharbtaaehnngsastracarytxthangsthabnaethn khlimtcungerimmiaerngkddntang ekidkhunmakmaycakrxbdan inthisudinkarihsmphasntxsuxmwlchnkhrnghnungekhakprakaswakhxthxntwxxkcakklumsiesssnaelainthisudekhakthxntwxxkipcakklumcring inchwngpi kh s 1905 silpinxikhlaykhnthixyuinklumkhxng khlimtkaeyktwtamxxkmaechnkn sudthayklumsiesschncungcblngrupaebbngan aekikh hnapknitysar Ver Sacrum ngankhxngklumewiynnasiesschnimehmuxnkbngankhxngklumkhwamekhluxnihwxun rupaebbngankhxngklumnimikhwamhlakhlaymak xathi echn ngansthaptykrrmxyang xakharsiesschnthiepriybesmuxnkbsylksnkhxngklum nganpratimakrrm ngantkaetngxakhar hrux aemkrathngngancitrkrrm aenwkhwamkhidaeterimkhxngphwkekhakhuxkhwamtxngkarthicachikaenwngankhxngxxkcakkrxbhruxkhnbaebbedim ephuxthicaidsrangnganrupaebbihmthiimekhythukcarukiwinprawtisastrmakxn aenwngankhxngphwkekhaekidcakswnphsmthihlakhlaydukhlaykbsilpaaebbxartnuow Art Nouveau aetnganthimixxkmakaexbaefngkhwamepnnganaebbsylksn Symbolist exaiw dngcaehnidcakngankhxngkhlimt epntnnxkcakniemuxxiththiphlkhxngxartnuowaebbfrngesshmdlngipkarepliynaeplngaelaennthungaebbaephnkhxngkarichrupthrngerkhakhnitaelakarxxkaebbomdular Modular Design thaihrupaebbkhxngnganxxkaebbepliynrupipcakedimmaepnkarichrupthrngsiehliymphunpha ichwngklminkarcdwangaebbsa knaelaichaebbphsm inswnthitkaetngaelaepnxngkhprakxbpraephthlwdlay khunxyukbkarichxngkhprakxbthisa kn aebbrupthrngerkhakhnitehlaniepnrupthrngthiimichrupthrngthiehnmakxnhruxthukichaebbnganekhruxngckr sungmilksnaehmuxnkarpatidpatx aetepnkarichihngandumichiwitchiwakwaedim aelainchwngniexngklumewiynnasiesschnkidmikarxxknitysar chuxwa Ver Sacrum thiaesdngihehnthungaenwngankhxngklumsiesschnihchdecnmakyingkhunsthaptykrrm aekikh xakharthakarkhxngklumsiesschn xakharthithakarkhxngklumnn thangklumsiesschnidlngthundwyengincanwnmakcakkarkuyumthnakhar karxxkaebbaelakartkaetngphayinnnepnipaebbchwyknkhnlaimkhnlamux aetkhwamkhidswnihythnghmdmacakaenwkhwamkhidkhxng kustaf khlimt sungepnphunaklumnnexng lksnaxakharcaepnokhrngsrangaelarupaebbehmuxnkbsthaptykrrminyukhkrikaelaxiyipt sungepniptamaenwxiththiphlthangsilpakhxngsmachikswnmakinklum aetsahrbaenwthangkhxngkhlimtnn ekhaimidlxkaebbsilpaaebbkrikhruxxiyiptmaichxyangetmtw aetekhaidnamnmaprayuktkbaenwkhidihmkhxng omedirn xart Modern art hrux silpasmyniym sunginxxsetriyinkhnannnxkcakcamungsrangpraethsdwysilpkrrmtamaebbxyangparisaelw omedirn xart yngepnsingthiaethrksumekhaipinphngemuxngthithukkahndkhunihmdwyinswnthieriykwa ringstrass Ringstasse xikdwyphlnganxakharinaebbomedirnxartthiepntwxyangkhunchuxkhuxphlngankhxng xxthoth wakenxr sungpraktxyuinhlayaehngkhxngringstrassinkrungewiynna xakharthiehnidchdkkhuxxakharthithakariprsniy Postal Saving Bank inewiynna aenwkarxxkaebbniidsrangaerngbndalicihkb oyesf maeriy xxlbrich hnunginsilpinklumsiesschn odyekhaidnamaprayuktkbaenwkhwamkhidrupaebbekaipsurupaebbihmephuxichinkarxxkaebbxakharsiesschnxyanglngtw ehnuxxakharnnepnrupthrngklmkhlayodminsilpaaebbibaesnithn Byzantine karichrupthrngniekhamaepnrupaebbkhxngxakhar thaihtwxakharmxngdukhlaykbwiharpccubnxakharhlngniidtkmaepnsmbtikhxngaeklelxri eblefederxr Austrain Gallery Belvedere sungcdaesdngphlngansilparwmsmykhxngsilpinmakmay hmunewiynknmacdxyueruxy aetkyngkhngepidaesdngphlngan The Beethoven friezes khxngkhlimtxyuesmxsilpinsakhyinklumsiesschn aekikhkustaf khlimt Gustav Klimt oyesf hxffmnn Josef Hoffmann oyesf maeriy xxlbrich Joseph Maria Olbrich xxthoth wakenxr Otto Wagner aemkh khlingekxr Max Klinger xdxlf obm Adolf Bohm xlefrd orlelxr Alfred Roller kharl omll Carl Moll efxrdinnd xndri Ferdinand Andri xangxing aekikhhnungthida namaefng kustaf khlimt Gustav Klimt krungethph praethsithy sankphimphphirab 2546 ISBN 974 7430 47 9 xphichatekriyngikr wicitr phiphithphnthhxsilpsxngchiwitkrungewiynna The Vienna Secession krungethph praethsithy xart erkhkhxrd xin ithyaelnd pithi 1 chbbthi 9 2537 hna 14 17 Vergo Peter Art in Vienna 1898 1918 Klimt Kokoschka Schiele and their contemporaies London United Kingdom Phaidon 1975 ISBN 071 4 81690 0aehlngkhxmul aekikhhttp theviennasecession com http www castyourart com en 2011 12 06 vienna secession http www senses artnouveau com biography php artist sec http www secession at ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ewiynnasiesschn amp oldid 8225691, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม