fbpx
วิกิพีเดีย

เฮนรี จอร์จ

เฮนรี จอร์จ (อังกฤษ: Henry George; 2 กันยายน ค.ศ. 183929 ตุลาคม ค.ศ. 1897) เป็นนักเศรษฐศาสตร์การเมืองชาวอเมริกัน ผู้เขียนหนังสือ เรื่อง Progress and Poverty และได้เขียนบทความต่าง ๆ เกี่ยวกับที่ดินไว้มากมาย หนังสืออื่น ๆ ของเฮนรี จอร์จที่ควรกล่าวถึงคือ Social Problems, Protection or Free Trade ซึ่งได้มีการอ่านทั้งเล่มและบันทึกไว้ในบันทึกของสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริกา, The Condition of Labor ซึ่งเป็นจดหมายเปิดผนึกถึงสันตะปาปาเพื่ออธิบายตอบสาส์นเวียนของพระองค์ และ The Science of Political Economy ซึ่งพิมพ์หลังมรณะ

เฮนรี จอร์จ

ประวัติโดยสังเขป

 
Science of political economy, 1898

เฮนรี จอร์จเกิดที่ฟิลาเดลเฟีย เขาเรียนจบเพียงประถม 6 เพราะความยากจน ต้องหยุดการเรียนขณะอยู่ชั้นมัธยม 1 แล้วก็ออกทำงานเป็นเด็กรับใช้ (cabin boy) ในเรือสินค้า ซึ่งเดินทางรอบโลก แต่ในการเดินทางไปกับเรือสินค้าครั้งที่ 2 ในฐานะกะลาสีชั้นสามารถ (able seaman) จอร์จก็ลาออกมาเป็นช่างเรียงพิมพ์ แล้วก็ได้เป็นผู้รายงานข่าว ผู้เขียนบทบรรณาธิการของ นสพ.ซานฟรานซิสโกไทมส์ บรรณาธิการจัดการ และยังเขียนเรื่องให้นิตยสารต่าง ๆ อีกด้วย ความรู้ความสามารถของจอร์จเกิดจากความช่างสังเกตและการพากเพียรศึกษาด้วยตนเอง

เมื่อเดินทางจากซานฟรานซิสโกไปทำงานที่นิวยอร์ก จอร์จได้เห็นความยากจนร้ายแรงในเมืองใหญ่ทั้ง ๆ ที่ในเมืองใหญ่ปรากฏทรัพย์สินมหาศาล จึงเกิดแรงบันดาลใจให้ค้นหาสาเหตุของความแตกต่างนี้ เขาได้พบว่า อุตสาหกรรมปฏิวัติ ซึ่งคือการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิตจากระบบครัวเรือนมาเป็นระบบโรงงานเพราะความก้าวหน้าอย่างมโหฬารของเครื่องจักรกลที่ช่วยเพิ่มผลผลิต กลับทำให้คนงานเดือดร้อนจากค่าแรงต่ำ และค่าแรงทั่วไปมีแต่แนวโน้มจะต่ำลงในขณะที่ที่ดินแพงขึ้น การเก็งกำไรกักตุนที่ดินยิ่งทำให้หาที่ดินทำกินและหางานทำยากมากขึ้น ค่าแรงยิ่งต่ำ และทำให้วัฏจักรเศรษฐกิจแกว่งตัวรุนแรง

ในชั้นแรก จอร์จได้ใช้เวลา 4 เดือนในปี 1871 เขียนหนังสือขนาดเล็ก 48 หน้า เรื่อง Our Land and Land Policy พิมพ์ 1,000 เล่ม แต่ไม่ได้รับความสนใจมากนัก หลังจากนั้นกว่า 6 ปี คือในปี 1877 เขาจึงเริ่มเขียนหนังสือ Progress and Poverty ขนาด 565 หน้าเพื่ออธิบายสาเหตุและวิธีแก้ไขความยากจนให้ละเอียดยิ่งขึ้น ใช้เวลา 1 ปี 7 เดือนจึงเขียนจบ พิมพ์ครั้งแรกปี 1879 เมื่อรวมกับการปาฐกถาในสหรัฐฯ เอง สกอตแลนด์ อังกฤษ ไอร์แลนด์ ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ รวมทั้งการโต้วาทีกับพรรคสังคมนิยมในนิวยอร์กและลอนดอน และการเขียนหนังสือและบทความจำนวนมาก ก็ทำให้เขามีชื่อเสียงในขณะที่เขามีชีวิตอยู่ เป็นลำดับ 3 ของสหรัฐฯ ต่อจาก Thomas Edison และ Mark Twain

เฮนรี จอร์จตาย 4 วันก่อนการเลือกตั้งนายกเทศมนตรีนครนิวยอร์ก ซึ่งเขาเข้าสมัครรับเลือกตั้งด้วยเป็นครั้งที่ 2 ห่างจากครั้งแรก 11 ปี (ครั้งแรกเขาแพ้ Abram S. Hewitt แต่ชนะ Theodore Roosevelt ผู้ซึ่งต่อมาได้เป็นประธานาธิบดีสหรัฐฯ) การสมัครรับเลือกตั้งทั้งสองครั้งเพราะสหภาพแรงงานขอร้อง งานศพของจอร์จมีผู้คนกว่าแสนคนมาเคารพศพและร่วมขบวนศพไปยังสุสานใน Brooklyn

หนังสือ Progress and Poverty ที่ลือลั่นและขายดีในสมัยของจอร์จเองได้รับการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากมาย และกลุ่มผู้นิยมจอร์จได้ใช้เป็นตำราสั่งสอนกันต่อ ๆ มาจนถึงปัจจุบัน และใน ค.ศ. 1963 ห้องสมุดทำเนียบขาวได้เลือกหนังสือนี้ไว้ในกลุ่มหนังสืออเมริกันดีเด่น เฮนรี จอร์จเองก็ได้รับการยกย่องจากบุคคลสำคัญจำนวนมาก สำหรับองค์การเอกชนในประเทศต่าง ๆ ที่สนับสนุนแนวคิดของเฮนรี จอร์จ มีปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ International Directory of Georgist Organizations ที่ http://www.cgocouncil.org/showcgo.php

ทฤษฎีและแนวความคิด

เฮนรี จอร์จเห็นปัญหาความยากจน สาเหตุ และวิธีแก้ไขพอกล่าวได้อย่างสั้น ๆ ดังนี้

ปัญหาความยากจนจาก *ระบบ* ของรัฐเอง

1. ความก้าวหน้าอย่างมโหฬารของเครื่องจักรกลที่ช่วยเพิ่มผลผลิต กลับทำให้คนงานยากจนจากค่าแรงต่ำ

2. ค่าแรงทั่วไปมีแต่จะต่ำลงในขณะที่ที่ดินกลับมีแนวโน้มแพงขึ้น เพราะความเจริญก้าวหน้าของส่วนรวมไปเพิ่มราคาให้ที่ดิน

3. การเก็งกำไรกักตุนที่ดินยิ่งทำให้ที่ดินแพง หาที่ดินทำกินและหางานทำยากมากขึ้นไปอีก ค่าแรงยิ่งต่ำ และทำให้วัฏจักรเศรษฐกิจแกว่งตัวรุนแรง ก่อความเดือดร้อนทุกข์ยากมากขึ้น

สาเหตุ

1. รัฐปล่อยให้เอกชนถือกรรมสิทธิ์ที่ดินโดยเก็บภาษีเพียงเล็กน้อย

2. ทำให้รัฐต้องเก็บภาษีจากการลงแรงลงทุนของแต่ละบุคคลเป็นส่วนใหญ่ ยิ่งเป็นการลดรายได้ของเอกชน และเพิ่มต้นทุนการผลิตทำให้ค่าครองชีพสูง

3. ถ้าปล่อยไว้ ไม่แก้ไข เจ้าของที่ดินยิ่งได้ประโยชน์ คนจนยิ่งเดือดร้อน

วิธีแก้ไข

1. ยกเลิกภาษีทั้งหลายที่เป็นภาระแก่การลงแรงลงทุน เช่น ภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม

2. เก็บภาษีมูลค่าที่ดินเท่าหรือเกือบเท่าค่าเช่ารายปีที่ควรเป็น

เฮนรี จอร์จกล่าวโจมตีการปล่อยให้เอกชนได้ประโยชน์จากกรรมสิทธิ์ที่ดินอย่างยืดยาว แต่พอถึงข้อเสนอแก้ความยากจนจากความไม่ยุติธรรมนี้เขากลับเสนอเพียงให้เก็บภาษีมูลค่าที่ดินเท่ากับค่าเช่าที่ดินรายปีและยกเลิกภาษีอื่น ๆ เหตุผลของเขาคือ:--

“ข้าพเจ้าไม่เสนอให้ซื้อหรือริบกรรมสิทธิ์ของเอกชนในที่ดิน กรณีแรกจะเป็นการไม่ยุติธรรม กรณีที่สองไม่เป็นสิ่งจำเป็น จงปล่อยให้บุคคลที่ยึดถือที่ดินอยู่ขณะนี้ยังคงมีกรรมสิทธิ์ในสิ่งที่เขาพอใจจะเรียกว่าที่ดิน ‘ของเขา’ ต่อไปถ้าเขาต้องการ ปล่อยให้เขาเรียกมันต่อไปว่าเป็นที่ดิน ‘ของเขา’ ปล่อยให้เขาซื้อขายและให้เป็นมรดกและทำพินัยกรรมยกให้กันได้ เราอาจจะปล่อยให้พวกเขาเก็บเปลือกไว้ได้โดยไม่มีอันตรายถ้าเราเอาเนื้อในออกมาแล้ว ไม่จำเป็นจะต้องริบที่ดิน จำเป็นแต่เพียงจะต้องริบค่าเช่าเท่านั้น

“ทั้งการที่จะเก็บค่าเช่ามาเป็นสาธารณประโยชน์นั้นก็ไม่จำเป็นว่ารัฐจะต้องเข้าไปเกี่ยวข้องกับการให้เช่าที่ดินด้วย ซึ่งมีทางทำให้เกิดฉันทาคติ การสมรู้ยินยอม และการฉ้อราษฎร์บังหลวงขึ้นได้ ไม่จำเป็นจะต้องจัดตั้งจักรกลใหม่ขึ้นมาอีกแต่ประการใด จักรกลเช่นนี้มีอยู่แล้ว แทนที่จะขยายมันออก ทั้งหมดที่เราจะต้องทำก็คือทำให้มันง่ายขึ้นและลดขนาดของมันลงเท่านั้น โดยการให้เจ้าของที่ดินได้รับเปอร์เซนต์จากค่าเช่าบ้าง ซึ่งอาจจะน้อยกว่ามูลค่าและความสูญเสียในการที่องค์การของรัฐจะเป็นผู้ให้เช่าที่ดินเองมาก และโดยการใช้ประโยชน์จากจักรกลที่มีอยู่แล้วนี้ เราก็อาจจะทำให้เกิดสิทธิของส่วนรวมร่วมกันในที่ดินได้โดยการ เก็บค่าเช่ามาเป็นสาธารณประโยชน์ ซึ่งไม่ทำให้เกิดการตื่นเต้นสะดุ้งสะเทือนกัน

“เราได้เก็บค่าเช่าแล้วเป็นบางส่วนในรูปของภาษี เราเพียงแต่จะต้องเปลี่ยนแปลงวิธีการเก็บภาษีบางประการเท่านั้นเพื่อให้ได้ค่าเช่าทั้งหมด

"เพราะฉะนั้นสิ่งที่ข้าพเจ้าเสนอในฐานะวิธีแก้ไขง่าย ๆ แต่ได้ผลใหญ่หลวง ซึ่งจะยกค่าแรงขึ้นสูง เพิ่มผลตอบแทนของทุน กำจัดความข้นแค้น ยกเลิกความยากจน ทำให้มีงานรายได้ดีว่างสำหรับผู้ใดก็ตามที่ต้องการงานทำ ทำให้ไม่มีขอบเขตจำกัดพลังความสามารถของมนุษย์ ทำให้อาชญากรรมลดลง ยกระดับศีลธรรม รสนิยม และสติปัญญา ทำให้การปกครองบริสุทธิ์หมดจดขึ้น และทำให้อารยธรรมเจริญสูงส่งยิ่งขึ้น เหล่านี้ ก็คือ – การริบเอาค่าเช่าโดยการเก็บภาษี

"โดยวิธีนี้ รัฐก็จะกลายเป็นเจ้าของที่ดินทั่วไปได้โดยไม่ต้องเรียกตนเองเช่นนั้น และโดยไม่ต้องรับหน้าที่ใหม่แม้แต่ประการเดียว โดยรูปแบบแล้ว กรรมสิทธิ์ในที่ดินจะยังคงเป็นอยู่เหมือนกับในขณะนี้ ไม่จำเป็นจะต้องทำให้เจ้าของที่ดินหมดสภาพความเป็นเจ้าของ และไม่จำเป็นจะต้องจำกัดปริมาณที่ดินที่ผู้หนึ่งผู้ใดจะยึดถือ เพราะว่าโดยที่รัฐเป็นผู้เก็บค่าเช่าในรูปของภาษี ที่ดินจึงย่อมเป็นกรรมสิทธิ์ของส่วนรวมโดยแท้จริง ไม่ว่าจะมีชื่อใครเป็นผู้ครอบครอง หรือจะอยู่ในส่วนใดก็ตาม และสมาชิกของประชาคมทุกคนย่อมจะมีส่วนในผลประโยชน์แห่งความเป็นเจ้าของที่ดินเหล่านี้"


การเก็บภาษีที่ดินเพิ่ม และเลิกภาษีอื่น ๆ มีความเป็นธรรม เพราะ:-

1. ทุกคนที่เกิดมาในโลกนี้ต้องมีที่ดินเพื่ออยู่อาศัยและทำกิน เพราะถ้าไม่มี เขาตาย แต่เขาเกิดมาแล้ว เขาก็มีสิทธิ์มีชีวิตต่อไป

2. ไม่มีมนุษย์คนไหนลงแรงหรือลงทุนผลิตหรือสร้างที่ดินขึ้นมา จึงไม่ควรมีใครอ้างว่ามีสิทธิ์ในที่ดิน

3. มูลค่าของที่ดินส่วนใหญ่ (โดยเฉพาะที่ดินย่านชุมชนซึ่งมีราคาสูง) เกิดจากกิจกรรมของส่วนรวมที่แยกไม่ออกว่าเป็นของคนไหนเท่าไรและจากภาษีที่เก็บเอาไปสร้างสิ่งสาธารณูปโภค แต่ที่แน่ ๆ คือมูลค่าที่ดินไม่ได้เกิดจากบุคคลในฐานะเจ้าของที่ดิน (ยกเว้นการเก็งกำไรที่ดิน) เจ้าของที่ดินอาจลงแรงลงทุนก่อสร้างและทำการผลิตหรือค้าในที่ดินของตนเอง แต่ที่ทำเช่นนั้นเขาทำในฐานะผู้ลงแรงและหรือผู้ลงทุน ซึ่งเขาควรได้รับผลตอบแทนจากการลงแรงหรือลงทุนของเขาเต็มที่ ส่วนประโยชน์จากมูลค่าที่ดินควรเป็นของส่วนรวม (แต่ไม่ใช่เอาที่ดินมาแบ่งกันเพราะที่ดินมีมูลค่าแตกต่างกันตามทำเลและสภาพอื่น ๆ ที่แตกต่างกัน ซึ่งให้ผลตอบแทนแก่การลงแรงลงทุนต่างกัน และจะต้องแบ่งกันไม่รู้จบเพราะคนในครอบครัวมีตายมีเกิดทำให้จำนวนเปลี่ยนแปลงเรื่อย ๆ)

4. การซื้อที่ดินมิใช่การลงทุนที่แท้ คือลงทุนผลิตของกินของใช้ (โภคทรัพย์) หรือเครื่องมือช่วยการผลิต (ทุน) แต่เป็นการซื้อสิทธิ์สืบต่อตามกฎหมายที่ไม่เป็นธรรมเพื่ออำนาจเรียกแบ่งผลตอบแทนจากผู้ทำงานและนายทุน และการเก็งกำไรกักตุนที่ดินกันไว้มาก ๆ ทำให้ที่ดินแพง ค่าแรงต่ำ หางานทำยาก คนจนก็เดือดร้อนยิ่งขึ้น

5. การเก็บภาษีจากรายได้จากการลงแรงลงทุนผลิต (รวมทั้งจำหน่าย) ไม่ยุติธรรม เพราะเป็นการเอาจากแต่ละคนไปบำรุงส่วนรวม ในกรณีนี้ควรเก็บจากมูลค่าที่ดินเพราะมูลค่าที่ดินเกิดจากกิจกรรมของส่วนรวม และภาษีมูลค่าที่ดินจะขจัดความได้เปรียบเสียเปรียบกันเนื่องจากการได้ครอบครองที่ดินดีเลวมากน้อยผิดกันออกไปด้วย


ผลร้ายของการเก็บภาษีที่ดินน้อยไปและเก็บภาษีอื่น ๆ มากไป :-

1. สังคมมีความแตกต่าง เกิดการแตกแยก

2. ผิดศีลข้ออทินนาทาน เอาจากกลุ่มอื่นไปให้แก่กลุ่มเจ้าของที่ดินด้วยวิธีการภาษี โดยภาษีและกิจกรรมของส่วนรวมไปทำให้สังคมมีความน่าอยู่และปลอดภัยขึ้น ที่ดินก็เลยแพง จึงมีการเก็งกำไรที่ดินกันในวงกว้างทั่วไป ที่ดินก็ยิ่งแพงขึ้น คนยากคนจนหรือจะแข่งขันด้วยได้ จำใจต้องยอมเป็นผู้เช่า ต้องเสีย 2 ต่อ ทั้งค่าเช่าที่ดิน ทั้งภาษีอื่น ๆ

3. ภาษีปัจจุบันเป็นตัวถ่วง แทนที่จะกระตุ้นเศรษฐกิจ ดูตัวอย่างสหรัฐฯ เขากระตุ้นเศรษฐกิจด้วยวิธีลดภาษีอื่น ๆ มาหลายต่อหลายหนแล้ว

4. การไม่เก็บภาษีที่ดินหรือเก็บน้อยไปก็กลับเป็นตัวถ่วงเศรษฐกิจซ้ำเข้าไปอีก เพราะที่ดินถูกเก็งกำไรเก็บกักกันไว้เฉย ๆ มากมาย หรือใช้ประโยชน์ไม่เต็มที่ ทำให้การจ้างงานน้อย และค่าแรงต่ำ ผลตอบแทนต่อการใช้ทุนเครื่องทุ่นแรงก็ต่ำ

5. ภาษีเงินได้ ภาษีกำไร พวกนี้ไปลดรายได้จริงของคนทำงานและผู้ลงทุน

6. ภาษีทางอ้อมจำพวกภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีสรรพสามิต และภาษีขาเข้า ไปทำให้ของแพง และทำให้ความสามารถแข่งขันกับต่างประเทศลด ไม่ดึงดูดนักลงทุนและนักท่องเที่ยวเหมือนฮ่องกง สิงคโปร์

7. ราคา/ค่าเช่าที่ดินและบ้านแพงกว่าที่ควร แฟลต/คอนโดในเมืองก็มีน้อย เกิดปัญหาต้องเดินทางเช้าเข้าเมืองเย็นกลับออกนอกเมืองติดขัดอัดแอเสียเวลามาก เกิดปัญหาแหล่งเสื่อมโทรมหรือชุมชนแออัดในเมือง การย้ายบ้านก็ยากเพราะต้องใช้เงินมาก

8. เพราะที่ดินมีราคา จึงมีคดีที่ดินเป็นภาระแก่ศาลยุติธรรมมากมาย คนจำนวนมากต้องเสียเงินเสียเวลาขึ้นศาลกันนาน ๆ ระหว่างนั้นที่ดินก็อาจไม่ได้ใช้ประโยชน์ (ถ้าเก็บภาษีที่ดินเท่าค่าเช่าศักย์ ราคาที่ดินจะเป็นศูนย์หรือเกือบศูนย์ คนเราจะซื้อขายที่ดินได้ง่าย แม้ราคาที่ดินจะเป็นศูนย์ เอาเป็นหลักทรัพย์ค้ำกู้ไม่ได้ แต่การซื้อขายที่ดินเองก็คงไม่ต้องกู้แล้ว และก็จะทำให้คนเรากู้หนี้เพื่อลงทุนอย่างอื่นเกินตัวไม่ได้ ถือว่าถูกหลักเศรษฐกิจพอเพียง)

ลัทธิ ภาษีเดี่ยว จากที่ดินของเฮนรี จอร์จจะว่าเป็นสังคมนิยม แรงงานนิยม หรือ ทุนนิยม ก็ได้

ที่ว่าเป็นสังคมนิยมนั้นถูกเฉพาะเมื่อคิดถึงปัจจัยที่ดินอย่างเดียว (คือถือว่าที่ดินเป็นของสังคม จึงเก็บภาษีที่ดินมาบำรุงสังคม แต่ไม่ต้องการให้รัฐเข้าไปจัดการที่ดินโดยตรง เช่น บังคับจัดแบ่งที่ดิน)

ที่ว่าเป็นแรงงานนิยมก็ถูกเพราะพยายามไม่เก็บภาษีจากแรงงานเลย

แต่ก็ต้องถือว่าเป็นทุนนิยมสุดขั้วด้วยอย่างไม่เคยปรากฏ เพราะพยายามไม่เก็บภาษีจากทุนเหมือนกัน

วิธีของเฮนรี จอร์จนี้ไม่คิดเอาของที่ส่วนบุคคลควรมีควรได้มาเป็นของส่วนรวมเลย เช่น ค่าแรงสมอง/แรงกาย และผลตอบแทนต่อทุน จึงคิดเลิกภาษีทางอ้อมที่ไปเพิ่มต้นทุนการผลิตและภาษีเงินได้ซึ่งเป็นภาษีทางตรง

เขาขอให้เก็บภาษีที่ดินอย่างเดียว จึงเรียกว่า ภาษีเดี่ยว (Single Tax แต่สมัยนี้คงต้องรวมภาษีทรัพยากรธรรมชาติหรือค่าภาคหลวง ค่าเอกสิทธิ์ ค่าสัมปทาน และค่าชดใช้การก่อมลพิษทำความเสียหายแก่แผ่นดินและทรัพยากรธรรมชาติด้วย)

ส่วนเฮนรี จอร์จเองได้เขียนไว้ในคำนำของหนังสือ Progress and Poverty ว่าสิ่งที่ตนได้พยายามกระทำนั้นถือว่าก่อให้เกิดความสอดคล้องต้องกันระหว่างอุดมคติของฝ่ายเสรีนิยมในเรื่อง เสรีภาพ และ ปัจเจกนิยม (Individualism) กับจุดประสงค์ของฝ่ายสังคมนิยมในเรื่อง ความยุติธรรมทางเศรษฐกิจ เป็นการเชื่อมสัจจะตามความคิดของสำนัก Smith และ Ricardo กับสัจจะตามความคิดของสำนัก Proudhon และ Lassalle ให้รวมเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

อย่างไรก็ตาม การเก็บภาษีที่ดินเพิ่มและเลิกภาษีอื่น ๆ ควรค่อย ๆ ทำ อาจใช้เวลาหลายสิบปี เพื่อมิให้เจ้าของที่ดินเดือดร้อนมากเกินไป

อ้างอิง

  1. The Life of Henry George III. เรียกข้อมูลวันที่ 4 มิย. 2550.
  2. Who Was Henry George? คำนำในหนังสือ Progress and Poverty ฉบับครบ 100 ปี. เรียกข้อมูลวันที่ 9 เมย. 2550.
  3. HOW THE BOOK CAME TO BE WRITTEN คำนำในหนังสือ Progress and Poverty ฉบับครบ 25 ปี. เรียกข้อมูลวันที่ 9 เมย. 2550.
  4. Henry George Papers, 1840s-1950. เรียกข้อมูลวันที่ 9 เมย. 2550.
  5. Henry George Shool of Social Science Bulletin 1968-9, New York, N.Y., p.23.
  6. [1]. เรียกข้อมูลวันที่ 6 กย. 2551.
  7. Progress and Poverty ฉบับภาษาไทย. หน้า 405-406. เรียกข้อมูลวันที่ 3 มิย. 2550.
  8. Progress and Poverty ฉบับภาษาไทย. ภาค 7. เรียกข้อมูลวันที่ 11 เมย. 2550.
  9. Progress and Poverty ฉบับภาษาไทย. ภาค 9. เรียกข้อมูลวันที่ 11 เมย. 2550
  10. Progress and Poverty ฉบับภาษาไทย. หน้า XX. เรียกข้อมูลวันที่ 11 เมย. 2550.

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

  • The New Physiocratic League
  • ยูโทเพียไทย
  • งานเขียนและพูดของเฮนรี จอร์จ (ผลงานเกือบทั้งหมดคลิกเปิดดูข้อความได้)
  • A Chronology of the Life and Work of Henry George
  • The Prophet of San Francisco
  • Major Works of Henry George
  • The Complete Works of Henry George

เฮนร, จอร, งกฤษ, henry, george, นยายน, 1839, ลาคม, 1897, เป, นน, กเศรษฐศาสตร, การเม, องชาวอเมร, เข, ยนหน, งส, เร, อง, progress, poverty, และได, เข, ยนบทความต, าง, เก, ยวก, บท, นไว, มากมาย, หน, งส, ออ, ของท, ควรกล, าวถ, งค, social, problems, protection, free, t. ehnri cxrc xngkvs Henry George 2 knyayn kh s 1839 29 tulakhm kh s 1897 epnnkesrsthsastrkaremuxngchawxemrikn phuekhiynhnngsux eruxng Progress and Poverty aelaidekhiynbthkhwamtang ekiywkbthidiniwmakmay hnngsuxxun khxngehnri cxrcthikhwrklawthungkhux Social Problems Protection or Free Trade sungidmikarxanthngelmaelabnthukiwinbnthukkhxngsphaphuaethnrasdrshrthxemrika 1 The Condition of Labor sungepncdhmayepidphnukthungsntapapaephuxxthibaytxbsasnewiynkhxngphraxngkh aela The Science of Political Economy sungphimphhlngmrnaehnri cxrc enuxha 1 prawtiodysngekhp 2 thvsdiaelaaenwkhwamkhid 3 xangxing 4 duephim 5 aehlngkhxmulxunprawtiodysngekhp aekikh Science of political economy 1898 ehnri cxrcekidthifilaedlefiy ekhaeriyncbephiyngprathm 6 ephraakhwamyakcn txnghyudkareriynkhnaxyuchnmthym 1 aelwkxxkthanganepnedkrbich cabin boy ineruxsinkha sungedinthangrxbolk aetinkaredinthangipkberuxsinkhakhrngthi 2 inthanakalasichnsamarth able seaman cxrcklaxxkmaepnchangeriyngphimph aelwkidepnphurayngankhaw phuekhiynbthbrrnathikarkhxng nsph sanfransisokithms brrnathikarcdkar aelayngekhiyneruxngihnitysartang xikdwy khwamrukhwamsamarthkhxngcxrcekidcakkhwamchangsngektaelakarphakephiyrsuksadwytnexng 2 emuxedinthangcaksanfransisokipthanganthiniwyxrk cxrcidehnkhwamyakcnrayaernginemuxngihythng thiinemuxngihypraktthrphysinmhasal cungekidaerngbndalicihkhnhasaehtukhxngkhwamaetktangni ekhaidphbwa xutsahkrrmptiwti sungkhuxkarepliynaeplngrupaebbkarphlitcakrabbkhrweruxnmaepnrabborngnganephraakhwamkawhnaxyangmohlarkhxngekhruxngckrklthichwyephimphlphlit klbthaihkhnnganeduxdrxncakkhaaerngta aelakhaaerngthwipmiaetaenwonmcatalnginkhnathithidinaephngkhun karekngkairkktunthidinyingthaihhathidinthakinaelahanganthayakmakkhun khaaerngyingta aelathaihwtckresrsthkicaekwngtwrunaernginchnaerk cxrcidichewla 4 eduxninpi 1871 ekhiynhnngsuxkhnadelk 48 hna eruxng Our Land and Land Policy phimph 1 000 elm aetimidrbkhwamsnicmaknk hlngcaknnkwa 6 pi khuxinpi 1877 ekhacungerimekhiynhnngsux Progress and Poverty khnad 565 hnaephuxxthibaysaehtuaelawithiaekikhkhwamyakcnihlaexiydyingkhun ichewla 1 pi 7 eduxncungekhiyncb phimphkhrngaerkpi 1879 3 emuxrwmkbkarpathkthainshrth exng skxtaelnd xngkvs ixraelnd frngess xxsetreliy aelaniwsiaelnd rwmthngkarotwathikbphrrkhsngkhmniyminniwyxrkaelalxndxn aelakarekhiynhnngsuxaelabthkhwamcanwnmak kthaihekhamichuxesiynginkhnathiekhamichiwitxyu epnladb 3 khxngshrth txcak Thomas Edison aela Mark Twain 2 ehnri cxrctay 4 wnkxnkareluxktngnaykethsmntrinkhrniwyxrk sungekhaekhasmkhrrbeluxktngdwyepnkhrngthi 2 hangcakkhrngaerk 11 pi khrngaerkekhaaeph Abram S Hewitt aetchna Theodore Roosevelt phusungtxmaidepnprathanathibdishrth karsmkhrrbeluxktngthngsxngkhrngephraashphaphaerngngankhxrxng ngansphkhxngcxrcmiphukhnkwaaesnkhnmaekharphsphaelarwmkhbwnsphipyngsusanin Brooklyn 4 hnngsux Progress and Poverty thiluxlnaelakhaydiinsmykhxngcxrcexngidrbkaraeplepnphasatang makmay aelaklumphuniymcxrcidichepntarasngsxnkntx macnthungpccubn aelain kh s 1963 hxngsmudthaeniybkhawideluxkhnngsuxniiwinklumhnngsuxxemrikndiedn 5 ehnri cxrcexngkidrbkarykyxngcakbukhkhlsakhycanwnmak 6 sahrbxngkhkarexkchninpraethstang thisnbsnunaenwkhidkhxngehnri cxrc mipraktxyuinewbist International Directory of Georgist Organizations thi http www cgocouncil org showcgo phpthvsdiaelaaenwkhwamkhid aekikhehnri cxrcehnpyhakhwamyakcn saehtu aelawithiaekikhphxklawidxyangsn dngnipyhakhwamyakcncak rabb khxngrthexng1 khwamkawhnaxyangmohlarkhxngekhruxngckrklthichwyephimphlphlit klbthaihkhnnganyakcncakkhaaerngta2 khaaerngthwipmiaetcatalnginkhnathithidinklbmiaenwonmaephngkhun ephraakhwamecriykawhnakhxngswnrwmipephimrakhaihthidin3 karekngkairkktunthidinyingthaihthidinaephng hathidinthakinaelahanganthayakmakkhunipxik khaaerngyingta aelathaihwtckresrsthkicaekwngtwrunaerng kxkhwameduxdrxnthukkhyakmakkhunsaehtu1 rthplxyihexkchnthuxkrrmsiththithidinodyekbphasiephiyngelknxy2 thaihrthtxngekbphasicakkarlngaernglngthunkhxngaetlabukhkhlepnswnihy yingepnkarldrayidkhxngexkchn aelaephimtnthunkarphlitthaihkhakhrxngchiphsung3 thaplxyiw imaekikh ecakhxngthidinyingidpraoychn khncnyingeduxdrxnwithiaekikh1 ykelikphasithnghlaythiepnpharaaekkarlngaernglngthun echn phasienginid phasimulkhaephim2 ekbphasimulkhathidinethahruxekuxbethakhaecharaypithikhwrepnehnri cxrcklawocmtikarplxyihexkchnidpraoychncakkrrmsiththithidinxyangyudyaw aetphxthungkhxesnxaekkhwamyakcncakkhwamimyutithrrmniekhaklbesnxephiyngihekbphasimulkhathidinethakbkhaechathidinraypiaelaykelikphasixun ehtuphlkhxngekhakhux khaphecaimesnxihsuxhruxribkrrmsiththikhxngexkchninthidin krniaerkcaepnkarimyutithrrm krnithisxngimepnsingcaepn cngplxyihbukhkhlthiyudthuxthidinxyukhnaniyngkhngmikrrmsiththiinsingthiekhaphxiccaeriykwathidin khxngekha txipthaekhatxngkar plxyihekhaeriykmntxipwaepnthidin khxngekha plxyihekhasuxkhayaelaihepnmrdkaelathaphinykrrmykihknid eraxaccaplxyihphwkekhaekbepluxkiwidodyimmixntraythaeraexaenuxinxxkmaaelw imcaepncatxngribthidin caepnaetephiyngcatxngribkhaechaethann thngkarthicaekbkhaechamaepnsatharnpraoychnnnkimcaepnwarthcatxngekhaipekiywkhxngkbkarihechathidindwy sungmithangthaihekidchnthakhti karsmruyinyxm aelakarchxrasdrbnghlwngkhunid imcaepncatxngcdtngckrklihmkhunmaxikaetprakarid ckrklechnnimixyuaelw aethnthicakhyaymnxxk thnghmdthieracatxngthakkhuxthaihmnngaykhunaelaldkhnadkhxngmnlngethann odykarihecakhxngthidinidrbepxresntcakkhaechabang sungxaccanxykwamulkhaaelakhwamsuyesiyinkarthixngkhkarkhxngrthcaepnphuihechathidinexngmak aelaodykarichpraoychncakckrklthimixyuaelwni erakxaccathaihekidsiththikhxngswnrwmrwmkninthidinidodykar ekbkhaechamaepnsatharnpraoychn sungimthaihekidkartunetnsadungsaethuxnkn eraidekbkhaechaaelwepnbangswninrupkhxngphasi eraephiyngaetcatxngepliynaeplngwithikarekbphasibangprakarethannephuxihidkhaechathnghmd ephraachannsingthikhaphecaesnxinthanawithiaekikhngay aetidphlihyhlwng sungcaykkhaaerngkhunsung ephimphltxbaethnkhxngthun kacdkhwamkhnaekhn ykelikkhwamyakcn thaihminganrayiddiwangsahrbphuidktamthitxngkarngantha thaihimmikhxbekhtcakdphlngkhwamsamarthkhxngmnusy thaihxachyakrrmldlng ykradbsilthrrm rsniym aelastipyya thaihkarpkkhrxngbrisuththihmdcdkhun aelathaihxarythrrmecriysungsngyingkhun ehlani kkhux karribexakhaechaodykarekbphasi odywithini rthkcaklayepnecakhxngthidinthwipidodyimtxngeriyktnexngechnnn aelaodyimtxngrbhnathiihmaemaetprakarediyw odyrupaebbaelw krrmsiththiinthidincayngkhngepnxyuehmuxnkbinkhnani imcaepncatxngthaihecakhxngthidinhmdsphaphkhwamepnecakhxng aelaimcaepncatxngcakdprimanthidinthiphuhnungphuidcayudthux ephraawaodythirthepnphuekbkhaechainrupkhxngphasi thidincungyxmepnkrrmsiththikhxngswnrwmodyaethcring imwacamichuxikhrepnphukhrxbkhrxng hruxcaxyuinswnidktam aelasmachikkhxngprachakhmthukkhnyxmcamiswninphlpraoychnaehngkhwamepnecakhxngthidinehlani 7 karekbphasithidinephim aelaelikphasixun mikhwamepnthrrm ephraa 1 thukkhnthiekidmainolknitxngmithidinephuxxyuxasyaelathakin ephraathaimmi ekhatay aetekhaekidmaaelw ekhakmisiththimichiwittxip2 immimnusykhnihnlngaernghruxlngthunphlithruxsrangthidinkhunma cungimkhwrmiikhrxangwamisiththiinthidin3 mulkhakhxngthidinswnihy odyechphaathidinyanchumchnsungmirakhasung ekidcakkickrrmkhxngswnrwmthiaeykimxxkwaepnkhxngkhnihnethairaelacakphasithiekbexaipsrangsingsatharnupophkh aetthiaen khuxmulkhathidinimidekidcakbukhkhlinthanaecakhxngthidin ykewnkarekngkairthidin ecakhxngthidinxaclngaernglngthunkxsrangaelathakarphlithruxkhainthidinkhxngtnexng aetthithaechnnnekhathainthanaphulngaerngaelahruxphulngthun sungekhakhwridrbphltxbaethncakkarlngaernghruxlngthunkhxngekhaetmthi swnpraoychncakmulkhathidinkhwrepnkhxngswnrwm aetimichexathidinmaaebngknephraathidinmimulkhaaetktangkntamthaelaelasphaphxun thiaetktangkn sungihphltxbaethnaekkarlngaernglngthuntangkn aelacatxngaebngknimrucbephraakhninkhrxbkhrwmitaymiekidthaihcanwnepliynaeplngeruxy 4 karsuxthidinmiichkarlngthunthiaeth khuxlngthunphlitkhxngkinkhxngich ophkhthrphy hruxekhruxngmuxchwykarphlit thun aetepnkarsuxsiththisubtxtamkdhmaythiimepnthrrmephuxxanaceriykaebngphltxbaethncakphuthanganaelanaythun aelakarekngkairkktunthidinkniwmak thaihthidinaephng khaaerngta hanganthayak khncnkeduxdrxnyingkhun5 karekbphasicakrayidcakkarlngaernglngthunphlit rwmthngcahnay imyutithrrm ephraaepnkarexacakaetlakhnipbarungswnrwm inkrninikhwrekbcakmulkhathidinephraamulkhathidinekidcakkickrrmkhxngswnrwm 8 aelaphasimulkhathidincakhcdkhwamidepriybesiyepriybknenuxngcakkaridkhrxbkhrxngthidindielwmaknxyphidknxxkipdwyphlraykhxngkarekbphasithidinnxyipaelaekbphasixun makip 1 sngkhmmikhwamaetktang ekidkaraetkaeyk2 phidsilkhxxthinnathan exacakklumxunipihaekklumecakhxngthidindwywithikarphasi odyphasiaelakickrrmkhxngswnrwmipthaihsngkhmmikhwamnaxyuaelaplxdphykhun thidinkelyaephng cungmikarekngkairthidinkninwngkwangthwip thidinkyingaephngkhun khnyakkhncnhruxcaaekhngkhndwyid caictxngyxmepnphuecha txngesiy 2 tx thngkhaechathidin thngphasixun 3 phasipccubnepntwthwng aethnthicakratunesrsthkic dutwxyangshrth ekhakratunesrsthkicdwywithildphasixun mahlaytxhlayhnaelw4 karimekbphasithidinhruxekbnxyipkklbepntwthwngesrsthkicsaekhaipxik ephraathidinthukekngkairekbkkkniwechy makmay hruxichpraoychnimetmthi thaihkarcangngannxy aelakhaaerngta phltxbaethntxkarichthunekhruxngthunaerngkta5 phasienginid phasikair phwkniipldrayidcringkhxngkhnthanganaelaphulngthun6 phasithangxxmcaphwkphasimulkhaephim phasisrrphsamit aelaphasikhaekha ipthaihkhxngaephng aelathaihkhwamsamarthaekhngkhnkbtangpraethsld imdungdudnklngthunaelankthxngethiywehmuxnhxngkng singkhopr7 rakha khaechathidinaelabanaephngkwathikhwr aeflt khxnodinemuxngkminxy ekidpyhatxngedinthangechaekhaemuxngeynklbxxknxkemuxngtidkhdxdaexesiyewlamak ekidpyhaaehlngesuxmothrmhruxchumchnaexxdinemuxng karyaybankyakephraatxngichenginmak8 ephraathidinmirakha cungmikhdithidinepnpharaaeksalyutithrrmmakmay khncanwnmaktxngesiyenginesiyewlakhunsalknnan rahwangnnthidinkxacimidichpraoychn 9 thaekbphasithidinethakhaechasky rakhathidincaepnsunyhruxekuxbsuny khneracasuxkhaythidinidngay aemrakhathidincaepnsuny exaepnhlkthrphykhakuimid aetkarsuxkhaythidinexngkkhngimtxngkuaelw aelakcathaihkhnerakuhniephuxlngthunxyangxunekintwimid thuxwathukhlkesrsthkicphxephiyng lththi phasiediyw cakthidinkhxngehnri cxrccawaepnsngkhmniym aerngnganniym hrux thunniym kidthiwaepnsngkhmniymnnthukechphaaemuxkhidthungpccythidinxyangediyw khuxthuxwathidinepnkhxngsngkhm cungekbphasithidinmabarungsngkhm aetimtxngkarihrthekhaipcdkarthidinodytrng echn bngkhbcdaebngthidin thiwaepnaerngnganniymkthukephraaphyayamimekbphasicakaerngnganelyaetktxngthuxwaepnthunniymsudkhwdwyxyangimekhyprakt ephraaphyayamimekbphasicakthunehmuxnknwithikhxngehnri cxrcniimkhidexakhxngthiswnbukhkhlkhwrmikhwridmaepnkhxngswnrwmely echn khaaerngsmxng aerngkay aelaphltxbaethntxthun cungkhidelikphasithangxxmthiipephimtnthunkarphlitaelaphasienginidsungepnphasithangtrngekhakhxihekbphasithidinxyangediyw cungeriykwa phasiediyw Single Tax aetsmynikhngtxngrwmphasithrphyakrthrrmchatihruxkhaphakhhlwng khaexksiththi khasmpthan aelakhachdichkarkxmlphisthakhwamesiyhayaekaephndinaelathrphyakrthrrmchatidwy swnehnri cxrcexngidekhiyniwinkhanakhxnghnngsux Progress and Poverty wasingthitnidphyayamkrathannthuxwakxihekidkhwamsxdkhlxngtxngknrahwangxudmkhtikhxngfayesriniymineruxng esriphaph aela pceckniym Individualism kbcudprasngkhkhxngfaysngkhmniymineruxng khwamyutithrrmthangesrsthkic epnkarechuxmsccatamkhwamkhidkhxngsank Smith aela Ricardo kbsccatamkhwamkhidkhxngsank Proudhon aela Lassalle ihrwmekhaepnxnhnungxnediywkn 10 xyangirktam karekbphasithidinephimaelaelikphasixun khwrkhxy tha xacichewlahlaysibpi ephuxmiihecakhxngthidineduxdrxnmakekinipxangxing aekikh The Life of Henry George III eriykkhxmulwnthi 4 miy 2550 2 0 2 1 Who Was Henry George khanainhnngsux Progress and Poverty chbbkhrb 100 pi eriykkhxmulwnthi 9 emy 2550 HOW THE BOOK CAME TO BE WRITTEN khanainhnngsux Progress and Poverty chbbkhrb 25 pi eriykkhxmulwnthi 9 emy 2550 Henry George Papers 1840s 1950 eriykkhxmulwnthi 9 emy 2550 Henry George Shool of Social Science Bulletin 1968 9 New York N Y p 23 1 eriykkhxmulwnthi 6 ky 2551 Progress and Poverty chbbphasaithy hna 405 406 eriykkhxmulwnthi 3 miy 2550 Progress and Poverty chbbphasaithy phakh 7 eriykkhxmulwnthi 11 emy 2550 Progress and Poverty chbbphasaithy phakh 9 eriykkhxmulwnthi 11 emy 2550 Progress and Poverty chbbphasaithy hna XX eriykkhxmulwnthi 11 emy 2550 duephim aekikhphasiediyw The New Physiocratic Leagueaehlngkhxmulxun aekikhThe New Physiocratic League yuothephiyithy nganekhiynaelaphudkhxngehnri cxrc phlnganekuxbthnghmdkhlikepiddukhxkhwamid A Chronology of the Life and Work of Henry George The Prophet of San Francisco Major Works of Henry George The Complete Works of Henry Georgeekhathungcak https th wikipedia org w index php title ehnri cxrc amp oldid 9213873, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม