fbpx
วิกิพีเดีย

โครงสร้างกั้นระหว่างเลือดกับอัณฑะ

โครงสร้างกั้นระหว่างเลือดกับอัณฑะ (อังกฤษ: blood–testis barrier) เป็นโครงสร้างกั้นทางกายภาพระหว่างหลอดเลือดและหลอดสร้างอสุจิของอัณฑะสัตว์ ชื่อ "โครงสร้างกั้นเลือด–อัณฑะ" ทำให้เกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน เพราะโครงสร้างกั้นนี้ไม่ได้กั้นระหว่างเลือดและอวัยวะโดยสมบูรณ์ แต่เป็นการก่อตัวขึ้นระหว่างเซลล์เซอร์โตลีของหลอดสร้างอสุจิ และแยกระยะต่อ ๆ ไปของเซลล์สืบพันธุ์ออกจากเลือด โดยคำที่ถูกต้องมากขึ้นควรเป็น "โครงสร้างกั้นเซลล์เซอร์โตลี" (SCB)

โครงสร้างกั้นเลือด–อัณฑะ
เยื่อบุผิวต้นกำเนิดของอัณฑะ. 1 เบซาลลามินา, 2 สเปอร์มาโทโกเนีย, 3 สเปอร์มาโทไซต์ลำดับที่ 1, 4 สเปอร์มาโทไซต์ลำดับที่ 2, 5 สเปอร์มาทิด, 6 สเปอร์มาทิดที่สมบูรณ์, 7 เซลล์เซอร์โตลี, 8 ไทต์จังก์ชัน (โครงสร้างกั้นเลือด–อัณฑะ)
ตัวระบุ
MeSHD001814
อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์
[แก้ไขบนวิกิสนเทศ]

โครงสร้าง แก้

ผนังของหลอดสร้างอสุจิบุด้วยชั้นของเซลล์สืบพันธุ์ดั้งเดิมและเซลล์เซอร์โตลี โครงสร้างกั้นนี้เกิดขึ้นจากไทต์จังก์ชัน แอดเฮียเรนส์จังก์ชัน และ แกปจังก์ชัน ระหว่างเซลล์เซอร์โตลี ซึ่งเป็นเซลล์พยุงของหลอดสร้างอสุจิและแบ่งหลอดสร้างอสุจิออกเป็นส่วนฐาน (basal compartment) ซึ่งเป็นส่วนด้านนอกของกลีบย่อย สัมผัสกับเลือดและน้ำเหลือง และส่วนในช่องภายในหลอด (adluminal compartment) ซึ่งเป็นส่วนด้านในของกลีบย่อย ไม่สัมผัสกับเลือดและน้ำเหลือง ส่วนไทต์จังก์ชันเกิดจากโมเลกุลยึดติดระหว่างเซลล์ระหว่างเซลล์ที่ยึดติดกับเส้นใยแอคตินภายในเซลล์ สำหรับการมองเห็นเส้นใยแอคตินภายในหลอดสร้างอสุจินั้น ดูได้ที่การศึกษาด้านการดูด้วยกล้องอิมมูโนฟลูออเรสเซนส์ของเชอร์มา และคณะ

หน้าที่ แก้

การมีอยู่ของโครงสร้างกั้นเซลล์เซอร์โตลีนั้น ช่วยให้เซลล์เซอร์โตลีสามารถควบคุมสภาพแวดล้อมของช่องภายในหลอดได้ ซึ่งเป็นที่ที่เซลล์สืบพันธุ์ (สเปอร์มาโทไซต์, สเปอร์มาทิด และ ตัวอสุจิ) พัฒนาขึ้นโดยอิทธิพลขององค์ประกอบทางเคมีของของเหลวภายในช่องภายในหลอด นอกจากนี้ยังช่วยป้องกันการเคลื่อนผ่านของสารที่พิษต่อเซลล์เข้าสู่หลอดสร้างอสุจิด้วย

ของเหลวในช่องภายในหลอดของหลอดสร้างอสุจินั้นค่อนข้างต่างจากน้ำเลือด ซึ่งมีโปรตีนและกลูโคสเพียงเล็กน้อย แต่อุดมไปด้วยฮอร์โมนเพศชาย ฮอร์โมนเอสโทรเจน โพแทสเซียม อิโนซิทอลและกลูตามิก และ กรดแอสปาร์ติก องค์ประกอบจะถูกควบคุมโดยโครงสร้างกั้นเลือด–อัณฑะ

โครงสร้างกั้นยังปกป้องเซลล์สืบพันธุ์จากสารรบกวนที่อยู่ในเลือด ป้องกันไม่ให้สารที่เกิดจากแอนติเจนเข้าสู่การไหลเวียนและสร้างการตอบสนองภาวะภูมิต้านตนเอง และยังอาจช่วยสร้างการไล่ระดับการออสโมซิสที่เอื้อต่อการไหลของของเหลวภายในช่องว่างภายในหลอดด้วย

หมายเหตุ แก้

สเตอรอยด์เจาะทะลุโครงสร้างกั้นได้ โปรตีนบางตัวสามารถทะลุผ่านเซลล์เซอร์โตลีไปยังเซลล์ไลดิชได้ เพื่อทำหน้าที่ในการพาราครีน

นัยสำคัญทางคลินิก แก้

การตอบสนองต่อภูมิตนเอง แก้

โครงสร้างกั้นเลือด–อัณฑะอาจได้รับความเสียหายได้จากการบาดเจ็บที่อัณฑะ (รวมถึงการบิดและการกระแทก) โดยการผ่าตัด หรือเป็นผลมาจากการตัดหลอดนำอสุจิ เมื่อโครงสร้างกั้นเลือด–อัณฑะแตกออก ตัวอสุจิจะเข้าสู่กระแสเลือด ระบบภูมิคุ้มกันจะสร้างการตอบสนองต้านตนเองต่อตัวอสุจิขึ้น เนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันไม่อาจยอมรับต่อสารก่อภูมิต้านทานอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของตัวอสุจิได้ โดยสารภูมิต้านทานต้านตัวอสุจิที่ระบบภูมิคุ้มกันสร้างขึ้นมาจะสามารถจับกับสารก่อภูมิต้านทานต่าง ๆ บนพื้นผิวของตัวอสุจิที่กำลังพัฒนาในอัณฑะได้ หากเกิดจากจับที่หัวของตัวอสุจิ ตัวอสุจิอาจมีความสามารถในการผสมกับเซลล์ไข่ได้น้อยลง และหากจับที่หาง การเคลื่อนไหวของตัวอสุจิจะลดลง

ดูเพิ่ม แก้

  • โครงสร้างกั้นระหว่างเลือดกับอากาศ – เยื่อที่แบ่งระหว่างอากาศในถุงลมกับเลือดในหลอดเลือดฝอยปอด
  • โครงสร้างกั้นระหว่างเลือดกับสมอง – ขอบเขตหลอดเลือดฝอยแบบซึมผ่านได้บ้างที่เลือกสารจากเลือดเข้าสู่สมอง
  • โครงสร้างกั้นระหว่างเลือดกับตา – โครงสร้างกั้นทางกายภาพระหว่างหลอดเลือดในพื้นที่และพื้นที่ส่วนใหญ่ของตา
  • โครงสร้างกั้นระหว่างเลือดกับจอตา – ส่วนหนึ่งของโครงสร้างกั้นระหว่างเลือดกับตาที่ป้องกันสารบางชนิดเข้าสู่จอตา
  • โครงสร้างกั้นระหว่างเลือดกับต่อมไทมัส – โครงสร้างกั้นที่เกิดจากหลอดเลือดฝอยที่ต่อเนื่องกันในเปลือกของต่อมไทมัส
  • การสร้างสเปิร์ม – การสร้างตัวอสุจิ

อ้างอิง แก้

  1. Barrett KE, Barman SM, Boitano S, Brooks H (2012). Ganong's Review of Medical Physiology 24th Edition. McGraw-Hill Education. pp. 419–20. ISBN 978-1-25-902753-6.
  2. Sharma S, Hanukoglu A, Hanukoglu I (April 2018). "Localization of epithelial sodium channel (ENaC) and CFTR in the germinal epithelium of the testis, Sertoli cells, and spermatozoa". J. Mol. Histol. 49 (2): 195–208. doi:10.1007/s10735-018-9759-2. PMID 29453757.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

โครงสร, างก, นระหว, างเล, อดก, บอ, ณฑะ, บทความน, อาจต, องการตรวจสอบต, นฉบ, ในด, านไวยากรณ, ปแบบการเข, ยน, การเร, ยบเร, ยง, ณภาพ, หร, อการสะกด, ณสามารถช, วยพ, ฒนาบทความได, งกฤษ, blood, testis, barrier, เป, นโครงสร, างก, นทางกายภาพระหว, างหลอดเล, อดและหลอดสร, าง. bthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamidokhrngsrangknrahwangeluxdkbxntha xngkvs blood testis barrier epnokhrngsrangknthangkayphaphrahwanghlxdeluxdaelahlxdsrangxsucikhxngxnthastw chux okhrngsrangkneluxd xntha thaihekidkhwamekhaicthikhladekhluxn ephraaokhrngsrangknniimidknrahwangeluxdaelaxwywaodysmburn aetepnkarkxtwkhunrahwangesllesxrotlikhxnghlxdsrangxsuci aelaaeykrayatx ipkhxngesllsubphnthuxxkcakeluxd odykhathithuktxngmakkhunkhwrepn okhrngsrangknesllesxrotli SCB okhrngsrangkneluxd xnthaeyuxbuphiwtnkaenidkhxngxntha 1 ebsallamina 2 sepxrmaothokeniy 3 sepxrmaothistladbthi 1 4 sepxrmaothistladbthi 2 5 sepxrmathid 6 sepxrmathidthismburn 7 esllesxrotli 8 ithtcngkchn okhrngsrangkneluxd xntha twrabuMeSHD001814xphithansphthkaywiphakhsastr aekikhbnwikisneths enuxha 1 okhrngsrang 2 hnathi 2 1 hmayehtu 3 nysakhythangkhlinik 3 1 kartxbsnxngtxphumitnexng 4 duephim 5 xangxing 6 aehlngkhxmulxunokhrngsrang aekphnngkhxnghlxdsrangxsucibudwychnkhxngesllsubphnthudngedimaelaesllesxrotli 1 okhrngsrangknniekidkhuncakithtcngkchn aexdehiyernscngkchn aela aekpcngkchn rahwangesllesxrotli sungepnesllphyungkhxnghlxdsrangxsuciaelaaebnghlxdsrangxsucixxkepnswnthan basal compartment sungepnswndannxkkhxngklibyxy smphskbeluxdaelanaehluxng aelaswninchxngphayinhlxd adluminal compartment sungepnswndaninkhxngklibyxy imsmphskbeluxdaelanaehluxng swnithtcngkchnekidcakomelkulyudtidrahwangesllrahwangesllthiyudtidkbesniyaexkhtinphayinesll sahrbkarmxngehnesniyaexkhtinphayinhlxdsrangxsucinn duidthikarsuksadankardudwyklxngximmuonfluxxersesnskhxngechxrma aelakhna 2 hnathi aekkarmixyukhxngokhrngsrangknesllesxrotlinn chwyihesllesxrotlisamarthkhwbkhumsphaphaewdlxmkhxngchxngphayinhlxdid sungepnthithiesllsubphnthu sepxrmaothist sepxrmathid aela twxsuci phthnakhunodyxiththiphlkhxngxngkhprakxbthangekhmikhxngkhxngehlwphayinchxngphayinhlxd nxkcakniyngchwypxngknkarekhluxnphankhxngsarthiphistxesllekhasuhlxdsrangxsucidwykhxngehlwinchxngphayinhlxdkhxnghlxdsrangxsucinnkhxnkhangtangcaknaeluxd sungmioprtinaelakluokhsephiyngelknxy aetxudmipdwyhxromnephschay hxromnexsothrecn ophaethsesiym xionsithxlaelaklutamik aela krdaexspartik xngkhprakxbcathukkhwbkhumodyokhrngsrangkneluxd xntha 1 okhrngsrangknyngpkpxngesllsubphnthucaksarrbkwnthixyuineluxd 1 pxngknimihsarthiekidcakaexntiecnekhasukarihlewiynaelasrangkartxbsnxngphawaphumitantnexng 1 aelayngxacchwysrangkarilradbkarxxsomsisthiexuxtxkarihlkhxngkhxngehlwphayinchxngwangphayinhlxddwy 1 hmayehtu aek setxrxydecaathaluokhrngsrangknid oprtinbangtwsamarththaluphanesllesxrotliipyngesllildichid ephuxthahnathiinkarpharakhrin 1 nysakhythangkhlinik aekkartxbsnxngtxphumitnexng aek okhrngsrangkneluxd xnthaxacidrbkhwamesiyhayidcakkarbadecbthixntha rwmthungkarbidaelakarkraaethk odykarphatd hruxepnphlmacakkartdhlxdnaxsuci emuxokhrngsrangkneluxd xnthaaetkxxk twxsucicaekhasukraaeseluxd rabbphumikhumkncasrangkartxbsnxngtantnexngtxtwxsucikhun enuxngcakrabbphumikhumknimxacyxmrbtxsarkxphumitanthanxnepnexklksnechphaakhxngtwxsuciid odysarphumitanthantantwxsucithirabbphumikhumknsrangkhunmacasamarthcbkbsarkxphumitanthantang bnphunphiwkhxngtwxsucithikalngphthnainxnthaid hakekidcakcbthihwkhxngtwxsuci twxsucixacmikhwamsamarthinkarphsmkbesllikhidnxylng aelahakcbthihang karekhluxnihwkhxngtwxsucicaldlngduephim aekokhrngsrangknrahwangeluxdkbxakas eyuxthiaebngrahwangxakasinthunglmkbeluxdinhlxdeluxdfxypxd okhrngsrangknrahwangeluxdkbsmxng khxbekhthlxdeluxdfxyaebbsumphanidbangthieluxksarcakeluxdekhasusmxng okhrngsrangknrahwangeluxdkbta okhrngsrangknthangkayphaphrahwanghlxdeluxdinphunthiaelaphunthiswnihykhxngta okhrngsrangknrahwangeluxdkbcxta swnhnungkhxngokhrngsrangknrahwangeluxdkbtathipxngknsarbangchnidekhasucxta okhrngsrangknrahwangeluxdkbtxmithms okhrngsrangknthiekidcakhlxdeluxdfxythitxenuxngkninepluxkkhxngtxmithms karsrangsepirm karsrangtwxsucixangxing aek 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 Barrett KE Barman SM Boitano S Brooks H 2012 Ganong s Review of Medical Physiology 24th Edition McGraw Hill Education pp 419 20 ISBN 978 1 25 902753 6 Sharma S Hanukoglu A Hanukoglu I April 2018 Localization of epithelial sodium channel ENaC and CFTR in the germinal epithelium of the testis Sertoli cells and spermatozoa J Mol Histol 49 2 195 208 doi 10 1007 s10735 018 9759 2 PMID 29453757 aehlngkhxmulxun aekBlood testis barrier inhxsmudaephthysastraehngchatixemrikn sahrbhwkhxenuxhathangkaraephthy MeSH Overview at okstate edu healthtestingcenters com ekhathungcak https th wikipedia org w index php title okhrngsrangknrahwangeluxdkbxntha amp oldid 10150998, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม