fbpx
วิกิพีเดีย

โพรแลกติน

บทความนี้มีเนื้อหาที่สั้นมาก ต้องการเพิ่มเติมเนื้อหาหรือพิจารณารวมเข้ากับบทความอื่นแทน

โพรแลกติน (บางตำราอ่านเป็น โพรแลกทิน)(อังกฤษ: prolactin ชื่อย่อ PRL) เป็นฮอร์โมนกลุ่มโปรตีน มีโครงสร้างคล้ายกับโกรทฮอร์โมน ประกอบด้วยกรดอะมิโนประมาณ 199 หน่วย จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า มีหน้าที่กระตุ้นให้เกิดการสร้างและหลั่งต่อมน้ำนม (lactation) ให้นมบุตร เพื่อเลี้ยงลูกอ่อนหลังคลอด โดย PRL มีผลโดยตรงต่อเนื้อเยื่อและต้องอาศัยการออกฤทธิ์ของฮอร์โมนอื่น ร่วมด้วย เช่นอีสโทรเจน(estrogen) โพรเจสเทอโรน(progesterone) คอร์ติโคสเตอโรน (corticosterone) และอินซูลิน (insulin) เมื่อต่อมน้ำนมได้รับฮอร์โมนเหล่านี้ก่อนแล้ว PRL จึงจะทำให้เกิดการหลั่งน้ำนมได้ อีกทั้งการทำงานของโพรแลกตินมีการทำงานคล้ายกับออกซิโทซิน

โครงสร้างโพรแลกติน

การหลั่งของ PRL ถูกควบคุมโดยโพรแลกทิน รีลิสซิงฮอร์โมน แฟคเตอร์(prolactin releasing hormone factor: PRF) และโพรแลกทิน อินฮิบิทิงฮอร์โมน(prolactin inhibiting hormone:PIF ) จากไฮโพทาลามัส โดยมีการเปลี่ยนแปลงการหลั่งตามการเปลี่ยนแปลงของ ฮอร์โมนเพศในรอบเดือน (menstruation cycle)

ในช่วงระยะที่มีการเพิ่มของเซลล์เยื่อบุมดลูกก่อนที่มีการตกไข่ จะมีPIF จากไฮโพทาลามัส ไปยับยั้งการหลั่ง PRF ที่ต่อมใต้สมองส่วนหน้า เมื่อระดับอีสโทรเจนและโพรเจสเทอโรนลดน้อยลง ในระยะท้ายของหลังไข่ตก การหลั่ง PIF จะลดน้อยลง ระดับของ PRF จะสูงขึ้น อย่างไรก็ตามระดับของPRF ในเลือดไม่นานพอที่จะมีผลต่อเต้านม แต่ในบางคนอาจทำให้เต้านมนุ่มในรอบก่อนที่จะมีประจำเดือน

หน้าที่ของฮอร์โมนโพรแลกติน

เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น ฮอร์โมนอีสโทรเจนจะกระตุ้นให้มีการเจริญเติบโตของเต้านม มีการสร้างสาขาของท่อน้ำนม(duct)ออกมากขึ้น หลังจากนั้นอีสโทรเจนจะให้โพรเจสเทอโรนร่วมทำงานทำให้ท่อน้ำนมและถุงน้ำนม(alveoli)เจริญอย่างสมบูรณ์ เต้านมมีขนาดใหญ่ขึ้นตึงตัวขึ้น (glandular development) ในขณะตั้งครรภ์ฮอร์โมนทั้งหมดนี้จะมีจำนวนมากขึ้นทำให้เต้านมมีขนาดใหญ่ขึ้น แต่โพรแลกทินยังไม่ได้กระตุ้นการสร้างน้ำนมเพราะถูกยับยั้งโดยฮอร์โมนอีสโทรเจนที่สร้างจากรกในระดับสูงในระดับที่สูงระหว่างตั้งครรภ์ หลังคลอดรกลอกตัวแล้วระดับฮอร์โมนอีสโทรเจนลดน้อยลง และการดูดนมของทารกจะกระตุ้นโพรแลกทินให้ทำงานได้เต็มที่ ในขณะที่ต่อมใต้สมองส่วนหลังจะมีการหลั่งออกซิโทซินออกมากระตุ้นให้ถุงน้ำนมขับน้ำนมออกมาสู่ท่อน้ำนมแล้วมาที่หัวนม(nipple)

ความสำคัญ

ฮอร์โมนโพรแลกตินมีความสำคัญในระบบสืบพันธุ์ ได้แก่ เป็นฮอร์โมนที่สำคัญในช่วงการตั้งครรภ์ของสัตว์บางชนิดเช่น สุนัข โรเด็นท์ (rodent) และเป็นฮอร์โมนที่สำคัญในสัญชาตญาณของการเป็นมารดาในสัตว์บางชนิด(maternal behavior) เช่น การทำรัง เป็นต้นนอกจากนี้โพรแลกทินมีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน( immune function) โดยจากการศึกษาพบว่าหนูที่ทดลองเอายีนโพรแลกทินออกจะมีความผิดปกติของภูมิ คุ้มกัน ทั้งนี้เนื่องจากพบตัวรับสัญญาณโพรแลกทินในเซลล์ของระบบภูมิคุ้มกัน เช่น ลิมโพไซด์(lymphocytes) บางชนิด


ความผิดปกติของฮอร์โมนโพรแลกติน

ความผิดปกติของฮอร์โมนโพรแลกติน การมีภาวะโพรแลกตินในกระแสโลหิตสูงหรือเรียกว่าไฮเปอร์โพรแลคตินอีเมีย (hyperprolactinemia) ที่พบบ่อยคือการมีฮอร์โมนเพิ่มมากเกินไปซึ่งอาจเกิดจากการมีเนื้องงอกที่ต่อมใต้สมอง ทำให้มีการหลั่งฮอร์โมนออกมามากทำให้ระงับการตกไข่จึงไม่มีบุตร(infertile)ไม่มีรอบระดูหรืออะเมนนอรีเรีย (amenorrhea ) มีน้ำนมไหลหรือกาเลคโตเรีย (galactorrhea) ถ้าพบในผู้ชายจะทำให้ความรู้สึกทางเพศตรงข้ามลดลงและหย่อนสมรรถภาพทางเพศ (impotence) เป็นหมัน เต้านมขยายเหมือนผู้หญิง (gynaecomastia)

อ้างอิง

  1. prolactin การสังเคราะห์
  2. การควบคุมการหลั่งของฮอร์โมนโพรแลกทิน
  3. หน้าที่ของฮอร์โมนโพรแลกติน
  4. โพรแลกติน

โพรแลกต, บทความน, เน, อหาท, นมาก, องการเพ, มเต, มเน, อหาหร, อพ, จารณารวมเข, าก, บบทความอ, นแทน, บางตำราอ, านเป, โพรแลกท, งกฤษ, prolactin, อย, เป, นฮอร, โมนกล, มโปรต, โครงสร, างคล, ายก, บโกรทฮอร, โมน, ประกอบด, วยกรดอะม, โนประมาณ, หน, วย, จากต, อมใต, สมองส, วนหน. bthkhwamnimienuxhathisnmak txngkarephimetimenuxhahruxphicarnarwmekhakbbthkhwamxunaethn ophraelktin bangtaraxanepn ophraelkthin xngkvs prolactin chuxyx PRL epnhxromnklumoprtin miokhrngsrangkhlaykbokrthhxromn prakxbdwykrdxamionpraman 199 hnwy caktxmitsmxngswnhna mihnathikratunihekidkarsrangaelahlngtxmnanm lactation ihnmbutr ephuxeliynglukxxnhlngkhlxd ody PRL miphlodytrngtxenuxeyuxaelatxngxasykarxxkvththikhxnghxromnxun rwmdwy echnxisothrecn estrogen ophrecsethxorn progesterone khxrtiokhsetxorn corticosterone aelaxinsulin insulin emuxtxmnanmidrbhxromnehlanikxnaelw PRL cungcathaihekidkarhlngnanmid xikthngkarthangankhxngophraelktinmikarthangankhlaykbxxksiothsin 1 okhrngsrangophraelktin karhlngkhxng PRL thukkhwbkhumodyophraelkthin rilissinghxromn aefkhetxr prolactin releasing hormone factor PRF aelaophraelkthin xinhibithinghxromn prolactin inhibiting hormone PIF cakihophthalams odymikarepliynaeplngkarhlngtamkarepliynaeplngkhxng hxromnephsinrxbeduxn menstruation cycle inchwngrayathimikarephimkhxngeslleyuxbumdlukkxnthimikartkikh camiPIF cakihophthalams ipybyngkarhlng PRF thitxmitsmxngswnhna emuxradbxisothrecnaelaophrecsethxornldnxylng inrayathaykhxnghlngikhtk karhlng PIF caldnxylng radbkhxng PRF casungkhun xyangirktamradbkhxngPRF ineluxdimnanphxthicamiphltxetanm aetinbangkhnxacthaihetanmnuminrxbkxnthicamipracaeduxn 2 enuxha 1 hnathikhxnghxromnophraelktin 2 khwamsakhy 3 khwamphidpktikhxnghxromnophraelktin 4 xangxinghnathikhxnghxromnophraelktin aekikhemuxekhasuwyrun hxromnxisothrecncakratunihmikarecriyetibotkhxngetanm mikarsrangsakhakhxngthxnanm duct xxkmakkhun hlngcaknnxisothrecncaihophrecsethxornrwmthanganthaihthxnanmaelathungnanm alveoli ecriyxyangsmburn etanmmikhnadihykhuntungtwkhun glandular development inkhnatngkhrrphhxromnthnghmdnicamicanwnmakkhunthaihetanmmikhnadihykhun aetophraelkthinyngimidkratunkarsrangnanmephraathukybyngodyhxromnxisothrecnthisrangcakrkinradbsunginradbthisungrahwangtngkhrrph hlngkhlxdrklxktwaelwradbhxromnxisothrecnldnxylng aelakardudnmkhxngtharkcakratunophraelkthinihthanganidetmthi inkhnathitxmitsmxngswnhlngcamikarhlngxxksiothsinxxkmakratunihthungnanmkhbnanmxxkmasuthxnanmaelwmathihwnm nipple 3 khwamsakhy aekikhhxromnophraelktinmikhwamsakhyinrabbsubphnthu idaek epnhxromnthisakhyinchwngkartngkhrrphkhxngstwbangchnidechn sunkh orednth rodent aelaepnhxromnthisakhyinsychatyankhxngkarepnmardainstwbangchnid maternal behavior echn kartharng epntnnxkcakniophraelkthinmiswnekiywkhxngkbkarthangankhxngrabbphumikhumkn immune function odycakkarsuksaphbwahnuthithdlxngexayinophraelkthinxxkcamikhwamphidpktikhxngphumi khumkn thngnienuxngcakphbtwrbsyyanophraelkthininesllkhxngrabbphumikhumkn echn limophisd lymphocytes bangchnidkhwamphidpktikhxnghxromnophraelktin aekikhkhwamphidpktikhxnghxromnophraelktin karmiphawaophraelktininkraaesolhitsunghruxeriykwaihepxrophraelkhtinxiemiy hyperprolactinemia thiphbbxykhuxkarmihxromnephimmakekinipsungxacekidcakkarmienuxngngxkthitxmitsmxng thaihmikarhlnghxromnxxkmamakthaihrangbkartkikhcungimmibutr infertile immirxbraduhruxxaemnnxrieriy amenorrhea minanmihlhruxkaelkhoteriy galactorrhea thaphbinphuchaycathaihkhwamrusukthangephstrngkhamldlngaelahyxnsmrrthphaphthangephs impotence epnhmn etanmkhyayehmuxnphuhying gynaecomastia 4 xangxing aekikh prolactin karsngekhraah karkhwbkhumkarhlngkhxnghxromnophraelkthin hnathikhxnghxromnophraelktin ophraelktin bthkhwamekiywkbaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy aephthysastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title ophraelktin amp oldid 9243358, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม