fbpx
วิกิพีเดีย

ไข่ขาว

ไข่ขาว ใช้เรียกของเหลวใสในไข่ที่ล้อมรอบไข่แดง ไข่ขาวชั้นนอกส่วนในมีลักษณะใสและโปร่งแสง ล้อมรอบไข่ขาวชั้นนอกส่วนข้นที่มีลักษณะข้นและหนืดกว่า ลักษณะที่เป็นเมือกของไข่ขาวข้นเกิดจากคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่

ไข่ขาวล้อมรอบไข่แดง

โดยธรรมชาติ ไข่ขาวมีหน้าที่ปกป้องไข่แดง ช่วยพยุงให้ไข่แดงอยู่คงที่ รองรับแรงกระเทีอนไม่ให้ไข่แดงแตกตัว และยังช่วยเสริมอาหารให้ตัวอ่อนที่กำลังเติบโตด้วย

ส่วนประกอบ

ส่วนประกอบหลักของไข่ขาวคือน้ำ และยังประกอบด้วยอัลบูมิน โปรตีนชนิดดีตัวสำคัญในกระแสเลือด (ซึ่งร่างกายสามารถผลิตได้เองโดยธรรมชาติผ่านการทำงานของตับ) โปรตีนชนิดนี้ทำหน้าที่เสริมสร้างภูมิคุ้มกันและซ่อมแซมส่วนต่างๆ ของร่างกาย ทว่าโปรตีนอัลบูมินในไข่ขาวนั้นสูญสภาพได้โดยง่ายแค่โดนความร้อน

ไข่ขาวมีปริมาณไขมันต่ำมาก และไม่มีคอเลสเตอรอล

โปรตีนอัลบูมินในไข่ขาว ประกอบด้วย

  • โอแวลบูมิน (ovalbumin) พบมากที่สุดในไข่ขาว ราวร้อยละ 54 ของน้ำหนักโปรตีน จัดเป็นฟอสโฟไกลโคโปรตีน (phospoglycoprotein) มีโครงสร้างเป็นสายโพลีเปปไตน์ ที่มีหมู่ฟอสเฟตและคาร์โบไฮเดรตเป็นส่วนประกอบ มีจุดไอโซอิลเลกตริก (isoelectric point) ที่ pH 4.6 และตกตะกอนที่ pH 4.6-4.8 ทนความร้อนได้ดี
  • โคแนลบลูมิน (conalbumin) พบราวร้อยละ 13 ของน้ำหนักโปรตีน มีจุดไอโซอิลเลกตริกที่ pH 6.6 ทนความร้อนได้น้อยกว่า แต่สูญเสียสภาพธรรมชาติได้ดีกว่าโอแวลบูมิน
  • โอโวมิวคอยด์ (ovomucoid) พบราวร้อยละ 1.2 ของน้ำหนักโปรตีน เป็นไกลโคโปรตีนที่มีความเฉพาะเจาะจงกับเอนไซม์ทริพซิน สามารถยับยั้งเอนไซม์ทริพซิน ซึ่งเป็นเอนไซม์โปรตีเอสทำหน้าที่ย่อยโปรตีน โอโวมิวคอยด์มีจุดไอโซอิลเลกตริกที่ pH 3.9-4.3 ในสภาวะที่เป็นกรดจะทนความร้อนได้ดี แต่จะสูญเสียสภาพอย่างรวดเร็วหากอยู่ในสารละลายด่างที่อุณหภูมิ 80 องศาเซียลเซียส
  • ไลโซโซม (lysosome) พบราวร้อยละ 3.5 ของน้ำหนักโปรตีน มีจุดไอโซอิลเลกตริกที่ pH 10.7 เป็นเอนไซม์ สามารถทำลายผนังเซลของแบคทีเรียที่ปนเปื้อนเข้ามาในฟองไข่ได้ มีสมบัติเป็นสารกันเสีย แต่ถูกทำลายได้ด้วยความร้อนจากการหุงต้ม หรือพาสเจอไรซ์ที่อุณหภูมิ 63.5 องศาเซลเซียสเป็นเวลานาน 10 นาที
  • โอโวอินฮิบิเตอร์ (ovoinhibitor) มีความเฉพาะเจาะจงกับเอนไซม์ทริพซิน ไคโมทริพซิน ซับทิลิซิน และเอนไซม์โปรตีเอสจาก Aspergillus oryzae
  • ซิสตาติน (cystatin) หรือสารยับยั้งเอนไซม์ปาเปน มีความเฉพาะเจาะจงต่อเอนไซม์ปาเปน และฟีซิน

การใช้

 
ไข่ขาวที่ตีขึ้นฟู

สมบัติเชิงหน้าที่ของโปรตีนในไข่ขาวคือ ทำให้เกิดฟองโฟมโปร่งฟู ซึ่งมีส่วนสำคัญในการทำขนมอบ ในการทำอาหารจึงมักแยกไข่ขาวจากไข่แดงเพื่อให้ตีขึ้นฟูง่าย เพราะไขมันในไข่แดงจะทำให้ไข่ขาวตีขึ้นยาก (และต้องระวังความมันของภาชนะที่ใช้ตีด้วย)

นอกจากใช้ประกอบอาหารแล้ว ไข่ขาวยังถูกนำไปใช้ในอุตสาหกรรมไวน์ด้วย เพราะโปรตีนในไข่ขาวช่วยทำให้ไวน์ตกตะกอน ทำให้ไวน์ใสขึ้นและรสฝาดน้อยลง

ส่วนด้านความงาม มีการนำไข่ขาวมาทาพอกหน้าลอกสิวเสี้ยน เพื่อรักษาและเสริมสร้างเซลล์ผิวใหม่ ทั้งยังดูดซับน้ำมันส่วนเกินบนผิว ช่วยลดความมัน กระชับผิวและรูขุมขนให้เล็กลงด้วย[ต้องการอ้างอิง]

อ้างอิง

  1. [1]
  2. ไข่ขาว
  3. การทำไวน์ใส


ไข, ขาว, ใช, เร, ยกของเหลวใสในไข, อมรอบไข, แดง, นนอกส, วนในม, กษณะใสและโปร, งแสง, อมรอบช, นนอกส, วนข, นท, กษณะข, นและหน, ดกว, กษณะท, เป, นเม, อกของข, นเก, ดจากคาร, โบไฮเดรตโมเลก, ลใหญ, อมรอบไข, แดง, โดยธรรมชาต, หน, าท, ปกป, องไข, แดง, วยพย, งให, ไข, แดงอย, คงท. ikhkhaw icheriykkhxngehlwisinikhthilxmrxbikhaedng ikhkhawchnnxkswninmilksnaisaelaoprngaesng lxmrxbikhkhawchnnxkswnkhnthimilksnakhnaelahnudkwa lksnathiepnemuxkkhxngikhkhawkhnekidcakkharobihedrtomelkulihy 1 ikhkhawlxmrxbikhaedng odythrrmchati ikhkhawmihnathipkpxngikhaedng chwyphyungihikhaedngxyukhngthi rxngrbaerngkraethixnimihikhaedngaetktw aelayngchwyesrimxaharihtwxxnthikalngetibotdwyswnprakxb aekikhswnprakxbhlkkhxngikhkhawkhuxna aelayngprakxbdwyxlbumin oprtinchnidditwsakhyinkraaeseluxd sungrangkaysamarthphlitidexngodythrrmchatiphankarthangankhxngtb oprtinchnidnithahnathiesrimsrangphumikhumknaelasxmaesmswntang khxngrangkay thwaoprtinxlbumininikhkhawnnsuysphaphidodyngayaekhodnkhwamrxnikhkhawmiprimanikhmntamak aelaimmikhxelsetxrxloprtinxlbumininikhkhaw 2 prakxbdwy oxaewlbumin ovalbumin phbmakthisudinikhkhaw rawrxyla 54 khxngnahnkoprtin cdepnfxsofiklokhoprtin phospoglycoprotein miokhrngsrangepnsayophlieppitn thimihmufxseftaelakharobihedrtepnswnprakxb micudixosxilelktrik isoelectric point thi pH 4 6 aelatktakxnthi pH 4 6 4 8 thnkhwamrxniddi okhaenlblumin conalbumin phbrawrxyla 13 khxngnahnkoprtin micudixosxilelktrikthi pH 6 6 thnkhwamrxnidnxykwa aetsuyesiysphaphthrrmchatiiddikwaoxaewlbumin oxowmiwkhxyd ovomucoid phbrawrxyla 1 2 khxngnahnkoprtin epniklokhoprtinthimikhwamechphaaecaacngkbexnismthriphsin samarthybyngexnismthriphsin sungepnexnismoprtiexsthahnathiyxyoprtin oxowmiwkhxydmicudixosxilelktrikthi pH 3 9 4 3 insphawathiepnkrdcathnkhwamrxniddi aetcasuyesiysphaphxyangrwderwhakxyuinsarlalaydangthixunhphumi 80 xngsaesiylesiys ilososm lysosome phbrawrxyla 3 5 khxngnahnkoprtin micudixosxilelktrikthi pH 10 7 epnexnism samarththalayphnngeslkhxngaebkhthieriythipnepuxnekhamainfxngikhid mismbtiepnsarknesiy aetthukthalayiddwykhwamrxncakkarhungtm hruxphasecxirsthixunhphumi 63 5 xngsaeslesiysepnewlanan 10 nathi oxowxinhibietxr ovoinhibitor mikhwamechphaaecaacngkbexnismthriphsin ikhomthriphsin sbthilisin aelaexnismoprtiexscak Aspergillus oryzae sistatin cystatin hruxsarybyngexnismpaepn mikhwamechphaaecaacngtxexnismpaepn aelafisinkarich aekikh ikhkhawthitikhunfu smbtiechinghnathikhxngoprtininikhkhawkhux thaihekidfxngofmoprngfu sungmiswnsakhyinkarthakhnmxb inkarthaxaharcungmkaeykikhkhawcakikhaedngephuxihtikhunfungay ephraaikhmninikhaedngcathaihikhkhawtikhunyak aelatxngrawngkhwammnkhxngphachnathiichtidwy nxkcakichprakxbxaharaelw ikhkhawyngthuknaipichinxutsahkrrmiwndwy ephraaoprtininikhkhawchwythaihiwntktakxn thaihiwniskhunaelarsfadnxylng 3 swndankhwamngam mikarnaikhkhawmathaphxkhnalxksiwesiyn ephuxrksaaelaesrimsrangesllphiwihm thngyngdudsbnamnswnekinbnphiw chwyldkhwammn krachbphiwaelarukhumkhnihelklngdwy txngkarxangxing xangxing aekikh 1 ikhkhaw karthaiwnis bthkhwamekiywkbxahar ekhruxngdum aelahwkhxthiekiywkhxngkbkarbriophkhxun niyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul bthkhwamekiywkbchiwwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title ikhkhaw amp oldid 9088729, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม