fbpx
วิกิพีเดีย

ไช่เอ้อ

ไช่เอ้อ (蔡锷 ค.ศ.1882 - 1916) เจ้าของตำแหน่งและฉายา "จอมพลพิทักษ์ชาติ" (护国大将军) ที่ซุนจงซาน หรือซุนยัดเซ็น นักปฏิวัติผู้ยิ่งใหญ่ในประวัติศาสตร์ชาติจีน ผู้โค่นล้มราชวงศ์ชิง สถาปนาระบอบสาธารณรัฐบนแผ่นดินจีน ตั้งให้แก่เขาเพื่อเป็นเกียรติยศ ในฐานะที่เขาเป็นทัพหน้าของฝ่ายกองทัพปฏิวัติในสงครามพิทักษ์ชาติ (护国战争) เมื่อปี ค.ศ.1915 เพื่อต่อต้านการปราบดาภิเษกขึ้นเป็นฮ่องเต้ของหยวนซื่อข่าย จนทำให้หยวนซื่อข่ายจำต้องยอมล้มเลิกความคิดที่จะเป็นฮ่องเต้ กลับมาเป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีนตามเดิมนั้น ความจริงแล้วเดิมทีครอบครัวของเขาปรารถนาจะให้เขาเป็นบัณฑิตสอบจอหงวนเป็นขุนนางของราชวงศ์ชิง แต่แล้วโชคชะตาก็บันดาลให้ไช่เอ้อกลายเป็นจอมพลใหญ่ในกาลภายหลัง

จอมพลไช่เอ้อในเครื่องแบบเต็มยศ

ไช่เอ้อมีชื่อเดิมว่าไช่เกิ่นอิ๋น (蔡艮寅) เกิดที่เมืองเป่าชิ่ง มณฑลหูหนาน (湖南省宝庆府) บิดาของเขาส่งไปเรียนหนังสือในโรงเรียนเอกชนตั้งแต่อายุ 6 ขวบ พออายุได้ 14 ปี ไช่เกิ่นอิ๋นก็สามารถสอบผ่านระดับอำเภอ ได้เป็นบัณฑิตซิ่วไฉตั้งแต่อายุยังน้อย แสดงให้เห็นถึงอัจฉริยภาพของหนุ่มน้อยผู้นี้ว่าจะต้องประสบความสำเร็จในภายหน้าแน่นอน

จุดเปลี่ยนสำคัญในชีวิตของไช่เกิ่นอิ๋นเกิดขึ้นในช่วงที่เขาอายุได้ 15-16 ปี เมื่อเขาเดินทางไปยังเมืองฉางซา(长沙) นครหลวงของมณฑลหูหนาน เพื่อเตรียมตัวเข้าสอบจวี่เหริน หรือสอบคัดเลือกระดับมณฑล เวลานั้นไช่เกิ่นอิ๋นไปเจอสำนักสืออู้ (时务学堂) ซึ่งเป็นสำนักศึกษาวิชาการสมัยใหม่ของพวกกลุ่มบัณฑิตหัวก้าวหน้าในเมืองฉางซา ซึ่งมีบัณฑิตหลายคนในสำนักนั้นที่มีชื่อเสียงและกลายเป็นแกนนำสำคัญของการปฏิรูปอู้ซวี หรือการปฏิรูปร้อยวันในเวลาต่อมา เช่นถานซื่อถง (谭嗣同) เหลียงฉี่เชา(梁启超) เป็นต้น ไช่เกิ่นอิ๋นรู้สึกเลื่อมใสในอุดมการณ์ของสำนักสืออู้ที่สนับสนุนให้ปฏิรูปราชสำนักต้าชิงให้ทันสมัยแบบตะวันตกและญี่ปุ่น จึงสมัครเข้าเรียนในสำนักแห่งนี้ด้วย โดยอาจารย์ในสำนักแห่งนี้ที่สอนวิชาความรู้แก่เขาที่สำคัญก็มีเหลียงฉี่เชา กับถังไฉฉาง(唐才常) ไช่เกิ่นอิ๋นจึงได้รับซึมซับแนวคิดทางการเมืองสมัยใหม่ คือระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ(Constitutional Monarchy) จากสำนักแห่งนี้

ต่อมาไช่เกิ่นอิ๋นได้ไปศึกษาต่อที่วิทยาลัยหนานหยาง(南洋公学) ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาสมัยใหม่ของเอกชนแห่งแรกๆของจีนที่เซี่ยงไฮ้ ทว่าหลังจากที่เขาเข้าเรียนไม่กี่เดือน ก็ทราบข่าวว่าการปฏิรูปอู้ซวีประสบความล้มเหลวเพราะฮ่องเต้กวงสวี่ผู้นำการปฏิรูปถูกซูสีไทเฮายึดอำนาจคืน เหลียงฉี่เชา อาจารย์ของเขาและเป็นแกนนำการปฏิรูปคนสำคัญลี้ภัยไปญี่ปุ่น ไช่เกิ่นอิ๋นจึงตัดสินใจลาออกจากวิทยาลัยหนานหยางแล้วเดินทางตามอาจารย์ไปที่ญี่ปุ่นด้วย และได้เข้าศึกษาที่โรงเรียนมัธยมปลายไดโด (大同高等学校) ที่กรุงโตเกียว ณ ที่นั่น ไช่เกิ่นอิ๋นได้เรียนวิชาปรัชญาการเมืองสมัยใหม่ จนได้เปิดกว้างทางความคิดมากยิ่งขึ้น ต่อมาก็ย้ายไปเรียนต่อที่วิทยาลัยพาณิชยการเอเชียตะวันออก (东亚商业学校) จนกระทั่งในปี ค.ศ.1900 ไช่เกิ่นอิ๋นในวัย 18 ปี ทราบข่าวว่าถังไฉฉางอาจารย์ของเขาวางแผนก่อการเพื่อกำจัดซูสีไทเฮาและพวกอนุรักษ์นิยมในราชสำนักต้าชิง ช่วยฮ่องเต้กวงสวี่ออกจากที่คุมขังในตำหนักอิ๋งไถและถวายพระราชอำนาจคืน ให้พระองค์ชูธงนำการปฏิรูปต้าชิงอีกครั้ง ไช่เกิ่นอิ๋นจึงตัดสินใจเดินทางกลับประเทศจีนเพื่อเข้าร่วมก่อการดังกล่าว แต่สุดท้ายการก่อการก็ล้มเหลว ถังไฉฉางและแกนนำอีกหลายคนถูกจับกุมและถูกประหารชีวิต ไช่เกิ่นอิ๋นต้องลี้ภัยไปญี่ปุ่นอีกครั้ง และเปลี่ยนชื่อเป็น "ไช่เอ้อ"

การมาญี่ปุ่นเป็นครั้งที่สองนี้ ไช่เกิ่นอิ๋น หรือในชื่อใหม่ของเขาคือไช่เอ้อ ตัดสินใจสมัครเข้าเรียนโรงเรียนเตรียมทหารโตเกียว (东京振武学校) เพื่อเตรียมความพร้อมทั้งร่างกาย จิตใจ และองค์ความรู้สำหรับการสอบเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนนายร้อยทหารบก (陆军士官学校) ของญี่ปุ่น จนกระทั่งไช่เอ้อสามารถสอบเข้าโรงเรียนนายร้อยทหารบกญี่ปุ่นได้สำเร็จในปี ค.ศ.1903 การตัดสินใจเบนเข็มเปลี่ยนทิศทางชีวิตจากการเป็นบัณฑิตปัญญาชนมาเรียนสายทหารนักรบเต็มตัวของไช่เกิ่นอิ๋น หรือไช่เอ้อ คงมาจากประสบการณ์ความล้มเหลวที่เขาพบเห็นจากอาจารย์ของเขาทั้งเหลียงฉี่เชาและถังไฉฉางที่ต่างเป็นบัณฑิตปัญญาชน ซึ่งไม่อาจนำการปฏิรูปทางการเมืองให้สำเร็จได้ ต้องพ่ายแพ้แก่ฝ่ายอนุรักษ์นิยมในราชสำนักต้าชิงที่มีกำลังกองทัพในมืออยู่ร่ำไป ไช่เอ้อคงเกิดตาสว่างและเข้าใจว่า การเป็นบัณฑิตปัญญาชนในสภาวการณ์เช่นนี้ คงไม่อาจช่วยเหลือบ้านเมืองให้ก้าวหน้าไปสู่ความทันสมัยได้อย่างแท้จริง มีแต่จะต้องมีกำลังทหารและอาวุธในมือ และมีความสามารถทำการรบเท่านั้น จึงจะนำความเปลี่ยนแปลงสู่ประเทศชาติได้

จอมพลไช่เอ้อในเครื่องแบบปกติแห่งกองทัพสาธารณรัฐจีน

ไช่เอ้อจบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบกของญี่ปุ่น และเดินทางกลับจีนในปี ค.ศ.1904 และได้เข้ารับราชการในกองทัพบกสมัยใหม่ของต้าชิง โดยเริ่มจากเป็นครูฝึกทหารในโรงเรียนทหารสมัยใหม่ของต้าชิงประจำมณฑลต่างๆ จนกระทั่งถึงเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1911 ไช่เอ้อได้รับการแต่งตั้งเป็นรองผู้บังคับกองพันที่ 37 กรมทหารบกที่ 19 (陆军第19镇第37协协统) ประจำมณฑลยูนนาน ไม่กี่เดือนต่อมา คือวันที่ 10 ตุลาคม ปีเดียวกันนั้น เกิดการลุกฮือที่อู่ชาง (武昌起义) โดยพวกทหารในกองพันทหารช่างของกองทัพบกต้าชิงประจำมณฑลหูเป่ย อันเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติซินไฮ่ล้มล้างราชวงศ์ชิง ไช่เอ้อรอคอยโอกาสนี้มานานแล้ว จึงวางแผนร่วมกับนายทหารหัวก้าวหน้าในกองทัพที่ยูนนานทั้งหลี่เกินหยวน(李根源) กับถังจี้เหยา(唐繼堯) จนนำมาสู่ "การลุกฮือฉงจิ่ว" (重九起义) ในวันที่ 30 ตุลาคม ค.ศ.1911 หลังการลุกฮือที่อู่ชาง 20 วัน ปฏิบัติการครั้งนี้ ไช่เอ้อสามารถจับตัวหลี่จิงซี(李经羲) ผู้ว่าราชการมณฑลยูนนานและกุ้ยโจวของต้าชิง หลานชายของหลี่หงจาง อำมาตย์คนสำคัญของราชวงศ์ชิงได้สำเร็จ และประกาศปลดปล่อยมณฑลยูนนานจากการปกครองของต้าชิง จนกระทั่งเมื่อฮ่องเต้เซวียนถ่ง หรือปูยี ประกาศสละราชบัลลังก์ในปี ค.ศ.1912 สิ้นสุดการปกครองของราชวงศ์ชิงโดยสมบูรณ์แล้ว ไช่เอ้อจึงได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการจากรัฐบาลสาธารณรัฐให้เป็น "ข้าหลวงใหญ่มณฑลยูนนาน" (云南省都督) มีอำนาจทั้งการปกครองและการทหารทั้งหมดในเขตมณฑลยูนนาน

ในปี ค.ศ.1912 ซุนเหวิน (孙文) หรือซุนยัดเซ็น ได้สละตำแหน่งประธานาธิบดีชั่วคราวแห่งสาธารณรัฐจีน (中华民国) เพื่อเปิดทางให้หยวนซื่อข่าย (袁世凯) เข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน (中华民国大总统) ตามที่เคยได้ตกลงกันไว้ หยวนซื่อข่ายจึงตั้งรัฐบาลสาธารณรัฐขึ้นที่กรุงปักกิ่ง ประวัติศาสตร์ขนานนามรัฐบาลสาธารณรัฐจีนของหยวนซื่อข่ายว่า "รัฐบาลเป่ยหยาง" (北洋政府) ในปี ค.ศ.1913 ไช่เอ้อถูกหยวนซื่อข่ายเชิญจากมณฑลยูนนานมาที่ปักกิ่ง แล้วแต่งตั้งให้เขาเป็นรองเจ้ากรมสัสดีทหารบก (陸軍部编译处副总裁) ต่อมาหยวนซื่อข่ายยังได้แต่งตั้งให้เขาเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติ (政会議議員) สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (参政院) เสนาธิการประจำกองบัญชาการทหารสูงสุด (陸海軍大元帥統率办事处办事員) รวมทั้งยังได้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ(全国经界局督办) อีกด้วย

จอมพลไช่เอ้อกับเหล่าขุนพลที่ร่วมรบในสงครามพิทักษ์ชาติ ต่อสู้กับหยวนซื่อข่าย ในปี ค.ศ.1915


ต่อมาในปี ค.ศ.1915 หยวนซื่อข่ายได้ทรยศต่อการปฏิวัติและประชาชนจีนด้วยการสถาปนาตนเป็นจักรพรรดิ(ฮ่องเต้)หงเสี้ยน (洪宪帝) ฟื้นฟูระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ขึ้นมาบนแผ่นดินจีนอีกครั้ง แม้จอมพลไช่เอ้อจะได้รับลาภยศสรรเสริญจากหยวนซื่อข่ายมากมายเพียงใด แต่เขาก็ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งกับการคิดล้มล้างสาธารณรัฐจีน สถาปนาระบอบฮ่องเต้อีกครั้งของหยวนซื่อข่าย ไช่เอ้อจึงตัดสินใจวางแผนหนีออกจากปักกิ่งกลับไปยังมณฑลยูนนานเพื่อไปรวบรวมทหารเก่าของเขา จัดตั้งกองทัพต่อสู้กับกองทัพของรัฐบาลเป่ยหยางของหยวนซื่อข่าย (เรื่องราวการหลบหนีจากปักกิ่งของไช่เอ้อนี้ ได้เกิดเป็นตำนานเล่าขานกันว่า มีหญิงงามเมือง (นางคณิกา) สาวผู้เลื่องชื่อของปักกิ่งในสมัยนั้นนามว่าเสี่ยวเฟิ่งเซียน (小凤仙) เป็นผู้ช่วยเหลือให้ไช่เอ้อสามารถหนีออกจากปักกิ่งได้) ชัยชนะอย่างต่อเนื่องของจอมพลไช่เอ้อ ทำให้บรรดาขุนศึกมณฑลต่างๆ พากันลุกฮือเรียกร้องให้หยวนซื่อข่ายสละราชสมบัติ หยวนซื่อข่ายไม่มีทางเลือก จำต้องยอมสละราชย์ ยุบเลิกระบอบกษัตริย์ กลับมาเป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีนตามเดิม ประวัติศาสตร์จีนขนานนามสงครามระหว่างจอมพลไช่เอ้อกับหยวนซื่อข่ายในครั้งนี้ว่า "สงครามพิทักษ์ชาติ" (护国战争) แต่น่าเสียดายที่หลังจากรบชนะหยวนซื่อข่ายไม่นานนัก อาการป่วยวัณโรคของจอมพลไช่เอ้อก็กำเริบหนักจนต้องไปพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยคิวชู (九州大學) เมืองฟุกุโอกะ (福冈县) ประเทศญี่ปุ่น กระทั่งถึงแก่อนิจกรรมที่นั่น ด้วยวัยเพียง 34 ปีเท่านั้น

  1. https://books.google.co.th/books?id=vl16DwAAQBAJ&pg=PT5&lpg=PT5&dq=%E8%94%A1%E9%94%B7&source=bl&ots=KogcBSO-xW&sig=ACfU3U0W3fugzYGK1y3Fb-78LQrGQ8ry5g&hl=th&sa=X&ved=2ahUKEwjwuoyo7_XpAhXv4XMBHY9sATo4ChDoATACegQIBRAB#v=onepage&q=%E8%94%A1%E9%94%B7&f=false
  2. https://zh.wikipedia.org/zh-hans/%E8%94%A1%E9%94%B7
  3. https://baike.baidu.com/item/%E8%94%A1%E9%94%B7

ไช, เอ, บทความน, งต, องการเพ, มแหล, งอ, างอ, งเพ, อพ, จน, ความถ, กต, อง, ณสามารถพ, ฒนาบทความน, ได, โดยเพ, มแหล, งอ, างอ, งตามสมควร, เน, อหาท, ขาดแหล, งอ, างอ, งอาจถ, กลบออกบทความน, องการการจ, ดหน, ดหมวดหม, ใส, งก, ภายใน, หร, อเก, บกวาดเน, อหา, ให, ณภาพด, ณสามา. bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng khunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxkbthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxngichexx 蔡锷 kh s 1882 1916 ecakhxngtaaehnngaelachaya cxmphlphithkschati 护国大将军 thisuncngsan hruxsunydesn nkptiwtiphuyingihyinprawtisastrchaticin phuokhnlmrachwngsching sthapnarabxbsatharnrthbnaephndincin tngihaekekhaephuxepnekiyrtiys inthanathiekhaepnthphhnakhxngfaykxngthphptiwtiinsngkhramphithkschati 护国战争 emuxpi kh s 1915 ephuxtxtankarprabdaphieskkhunepnhxngetkhxnghywnsuxkhay cnthaihhywnsuxkhaycatxngyxmlmelikkhwamkhidthicaepnhxnget klbmaepnprathanathibdiaehngsatharnrthcintamedimnn khwamcringaelwedimthikhrxbkhrwkhxngekhaprarthnacaihekhaepnbnthitsxbcxhngwnepnkhunnangkhxngrachwngsching aetaelwochkhchatakbndalihichexxklayepncxmphlihyinkalphayhlngcxmphlichexxinekhruxngaebbetmys ichexxmichuxedimwaichekinxin 蔡艮寅 ekidthiemuxngepaching mnthlhuhnan 湖南省宝庆府 bidakhxngekhasngiperiynhnngsuxinorngeriynexkchntngaetxayu 6 khwb phxxayuid 14 pi ichekinxinksamarthsxbphanradbxaephx idepnbnthitsiwichtngaetxayuyngnxy aesdngihehnthungxcchriyphaphkhxnghnumnxyphuniwacatxngprasbkhwamsaercinphayhnaaennxncudepliynsakhyinchiwitkhxngichekinxinekidkhuninchwngthiekhaxayuid 15 16 pi emuxekhaedinthangipyngemuxngchangsa 长沙 nkhrhlwngkhxngmnthlhuhnan ephuxetriymtwekhasxbcwiehrin hruxsxbkhdeluxkradbmnthl ewlannichekinxinipecxsanksuxxu 时务学堂 sungepnsanksuksawichakarsmyihmkhxngphwkklumbnthithwkawhnainemuxngchangsa sungmibnthithlaykhninsanknnthimichuxesiyngaelaklayepnaeknnasakhykhxngkarptirupxuswi hruxkarptiruprxywninewlatxma echnthansuxthng 谭嗣同 ehliyngchiecha 梁启超 epntn ichekinxinrusukeluxmisinxudmkarnkhxngsanksuxxuthisnbsnunihptiruprachsanktachingihthnsmyaebbtawntkaelayipun cungsmkhrekhaeriyninsankaehngnidwy odyxacaryinsankaehngnithisxnwichakhwamruaekekhathisakhykmiehliyngchiecha kbthngichchang 唐才常 ichekinxincungidrbsumsbaenwkhidthangkaremuxngsmyihm khuxrabxbrachathipityphayitrththrrmnuy Constitutional Monarchy caksankaehngnitxmaichekinxinidipsuksatxthiwithyalyhnanhyang 南洋公学 sungepnsthabnxudmsuksasmyihmkhxngexkchnaehngaerkkhxngcinthiesiyngih thwahlngcakthiekhaekhaeriynimkieduxn kthrabkhawwakarptirupxuswiprasbkhwamlmehlwephraahxngetkwngswiphunakarptirupthuksusiithehayudxanackhun ehliyngchiecha xacarykhxngekhaaelaepnaeknnakarptirupkhnsakhyliphyipyipun ichekinxincungtdsiniclaxxkcakwithyalyhnanhyangaelwedinthangtamxacaryipthiyipundwy aelaidekhasuksathiorngeriynmthymplayidod 大同高等学校 thikrungotekiyw n thinn ichekinxinideriynwichaprchyakaremuxngsmyihm cnidepidkwangthangkhwamkhidmakyingkhun txmakyayiperiyntxthiwithyalyphanichykarexechiytawnxxk 东亚商业学校 cnkrathnginpi kh s 1900 ichekinxininwy 18 pi thrabkhawwathngichchangxacarykhxngekhawangaephnkxkarephuxkacdsusiithehaaelaphwkxnurksniyminrachsanktaching chwyhxngetkwngswixxkcakthikhumkhngintahnkxingithaelathwayphrarachxanackhun ihphraxngkhchuthngnakarptiruptachingxikkhrng ichekinxincungtdsinicedinthangklbpraethscinephuxekharwmkxkardngklaw aetsudthaykarkxkarklmehlw thngichchangaelaaeknnaxikhlaykhnthukcbkumaelathukpraharchiwit ichekinxintxngliphyipyipunxikkhrng aelaepliynchuxepn ichexx karmayipunepnkhrngthisxngni ichekinxin hruxinchuxihmkhxngekhakhuxichexx tdsinicsmkhrekhaeriynorngeriynetriymthharotekiyw 东京振武学校 ephuxetriymkhwamphrxmthngrangkay citic aelaxngkhkhwamrusahrbkarsxbekhasuksatxinorngeriynnayrxythharbk 陆军士官学校 khxngyipun cnkrathngichexxsamarthsxbekhaorngeriynnayrxythharbkyipunidsaercinpi kh s 1903 kartdsinicebnekhmepliynthisthangchiwitcakkarepnbnthitpyyachnmaeriynsaythharnkrbetmtwkhxngichekinxin hruxichexx khngmacakprasbkarnkhwamlmehlwthiekhaphbehncakxacarykhxngekhathngehliyngchiechaaelathngichchangthitangepnbnthitpyyachn sungimxacnakarptirupthangkaremuxngihsaercid txngphayaephaekfayxnurksniyminrachsanktachingthimikalngkxngthphinmuxxyuraip ichexxkhngekidtaswangaelaekhaicwa karepnbnthitpyyachninsphawkarnechnni khngimxacchwyehluxbanemuxngihkawhnaipsukhwamthnsmyidxyangaethcring miaetcatxngmikalngthharaelaxawuthinmux aelamikhwamsamarththakarrbethann cungcanakhwamepliynaeplngsupraethschatiidcxmphlichexxinekhruxngaebbpktiaehngkxngthphsatharnrthcinichexxcbkarsuksacakorngeriynnayrxythharbkkhxngyipun aelaedinthangklbcininpi kh s 1904 aelaidekharbrachkarinkxngthphbksmyihmkhxngtaching odyerimcakepnkhrufukthharinorngeriynthharsmyihmkhxngtachingpracamnthltang cnkrathngthungeduxnkrkdakhm kh s 1911 ichexxidrbkaraetngtngepnrxngphubngkhbkxngphnthi 37 krmthharbkthi 19 陆军第19镇第37协协统 pracamnthlyunnan imkieduxntxma khuxwnthi 10 tulakhm piediywknnn ekidkarlukhuxthixuchang 武昌起义 odyphwkthharinkxngphnthharchangkhxngkxngthphbktachingpracamnthlhuepy xnepncuderimtnkhxngkarptiwtisinihlmlangrachwngsching ichexxrxkhxyoxkasnimananaelw cungwangaephnrwmkbnaythharhwkawhnainkxngthphthiyunnanthnghliekinhywn 李根源 kbthngciehya 唐繼堯 cnnamasu karlukhuxchngciw 重九起义 inwnthi 30 tulakhm kh s 1911 hlngkarlukhuxthixuchang 20 wn ptibtikarkhrngni ichexxsamarthcbtwhlicingsi 李经羲 phuwarachkarmnthlyunnanaelakuyocwkhxngtaching hlanchaykhxnghlihngcang xamatykhnsakhykhxngrachwngschingidsaerc aelaprakaspldplxymnthlyunnancakkarpkkhrxngkhxngtaching cnkrathngemuxhxngeteswiynthng hruxpuyi prakasslarachbllngkinpi kh s 1912 sinsudkarpkkhrxngkhxngrachwngschingodysmburnaelw ichexxcungidrbkaraetngtngxyangepnthangkarcakrthbalsatharnrthihepn khahlwngihymnthlyunnan 云南省都督 mixanacthngkarpkkhrxngaelakarthharthnghmdinekhtmnthlyunnaninpi kh s 1912 sunehwin 孙文 hruxsunydesn idslataaehnngprathanathibdichwkhrawaehngsatharnrthcin 中华民国 ephuxepidthangihhywnsuxkhay 袁世凯 ekharbtaaehnngprathanathibdiaehngsatharnrthcin 中华民国大总统 tamthiekhyidtklngkniw hywnsuxkhaycungtngrthbalsatharnrthkhunthikrungpkking prawtisastrkhnannamrthbalsatharnrthcinkhxnghywnsuxkhaywa rthbalepyhyang 北洋政府 inpi kh s 1913 ichexxthukhywnsuxkhayechiycakmnthlyunnanmathipkking aelwaetngtngihekhaepnrxngecakrmssdithharbk 陸軍部编译处副总裁 txmahywnsuxkhayyngidaetngtngihekhaepnsmachiksphanitibyyti 政会議議員 smachikspharangrththrrmnuy 参政院 esnathikarpracakxngbychakarthharsungsud 陸海軍大元帥統率办事处办事員 rwmthngyngiddarngtaaehnngelkhathikarsphaphthnakaresrsthkicaelasngkhmaehngchati 全国经界局督办 xikdwy cxmphlichexxkbehlakhunphlthirwmrbinsngkhramphithkschati txsukbhywnsuxkhay inpi kh s 1915 txmainpi kh s 1915 hywnsuxkhayidthrystxkarptiwtiaelaprachachncindwykarsthapnatnepnckrphrrdi hxnget hngesiyn 洪宪帝 funfurabxbsmburnayasiththirachykhunmabnaephndincinxikkhrng aemcxmphlichexxcaidrblaphyssrresriycakhywnsuxkhaymakmayephiyngid aetekhakimehndwyxyangyingkbkarkhidlmlangsatharnrthcin sthapnarabxbhxngetxikkhrngkhxnghywnsuxkhay ichexxcungtdsinicwangaephnhnixxkcakpkkingklbipyngmnthlyunnanephuxiprwbrwmthharekakhxngekha cdtngkxngthphtxsukbkxngthphkhxngrthbalepyhyangkhxnghywnsuxkhay eruxngrawkarhlbhnicakpkkingkhxngichexxni idekidepntananelakhanknwa mihyingngamemuxng nangkhnika sawphueluxngchuxkhxngpkkinginsmynnnamwaesiywefingesiyn 小凤仙 epnphuchwyehluxihichexxsamarthhnixxkcakpkkingid chychnaxyangtxenuxngkhxngcxmphlichexx thaihbrrdakhunsukmnthltang phaknlukhuxeriykrxngihhywnsuxkhayslarachsmbti hywnsuxkhayimmithangeluxk catxngyxmslarachy yubelikrabxbkstriy klbmaepnprathanathibdiaehngsatharnrthcintamedim prawtisastrcinkhnannamsngkhramrahwangcxmphlichexxkbhywnsuxkhayinkhrngniwa sngkhramphithkschati 护国战争 aetnaesiydaythihlngcakrbchnahywnsuxkhayimnannk xakarpwywnorkhkhxngcxmphlichexxkkaeribhnkcntxngipphkrksatwthiorngphyabalmhawithyalykhiwchu 九州大學 emuxngfukuoxka 福冈县 praethsyipun krathngthungaekxnickrrmthinn dwywyephiyng 34 piethann 1 2 3 https books google co th books id vl16DwAAQBAJ amp pg PT5 amp lpg PT5 amp dq E8 94 A1 E9 94 B7 amp source bl amp ots KogcBSO xW amp sig ACfU3U0W3fugzYGK1y3Fb 78LQrGQ8ry5g amp hl th amp sa X amp ved 2ahUKEwjwuoyo7 XpAhXv4XMBHY9sATo4ChDoATACegQIBRAB v onepage amp q E8 94 A1 E9 94 B7 amp f false https zh wikipedia org zh hans E8 94 A1 E9 94 B7 https baike baidu com item E8 94 A1 E9 94 B7ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ichexx amp oldid 8903826, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม